รารยางยางนาโนคโรคงรงงางนาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เรอื่ งภาษาไทย…ภาษาถนิ่
จดั ทาโดย
เด็กหญงิ รงุ่ นภา เขาคา่ ย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖/๓
เด็กหญงิ ภัทราวดี พันธอุ์ ุทยั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖/๓
เดก็ หญิงขวญั ฤดี บุญสรา้ ง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖/๓
เด็กหญิงณญาดา บวั อาจ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖/๓
เดก็ หญงิ นา้ เพชร แซเ่ รอื ง ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖/๓
เดก็ หญิงรตุ ิกานต์ รนื่ เริง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖/๓
เดก็ หญิงณัฐธดิ า อรชุน ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖/๓
เดก็ หญงิ พรมนัส เกิดทรัพย์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖/๓
ครทู ป่ี รกึ ษา
นางสาวอรวรรณ นา้ เขยี ว
โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรส์ มโภช (ราชทณั ฑอ์ ปุ ถมั ภ)์
สานกั งานเขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
คานา
รายงานโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เรื่องภาษาไทย…ภาษาถ่ิน เล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา
ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จัดทาขึ้นโดยการ
รวบรวมความรู้และสารวจคาภาษาถิ่น ทั้งถ่ินเหนือ ถ่ิน
อีสาน และถิ่นได้ โดยการสัมภาษณ์และสอบถามจากเพ่ือน
นักเรียนท่ีมีภูมิลาเนาอยู่ตามภูมิภาคต่างๆและนาความรู้มา
เรียบเรียงเป็นหนังสือมะเฟือง เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้
ต่อไป หวังวา่ โครงงานนจ้ี ะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยิง่
คณะผ้จู ดั ทา
สารบญั หนา้
เร่อื ง ๑
๒
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ๓
วตั ถุประสงค์ของโครงงาน ๔
ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้
วธิ ีการดาเนินงาน ๕
สรุปผลการศกึ ษา
ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ ๖
เอกสารอา้ งอิง ๗
หนา้ ๑
ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน
จากการที่ได้ยินการพูดของคนที่ไม่ใช่ภาษากลาง
ฟังไม่รู้เร่ืองว่า พวกเขาคุยอะไรกัน จึงสนใจอยากรู้
ความหมายของคาที่พวกเขาพูดกันและพวกหนูมีญาติมี
เพื่อนๆ ท่ีมาจากภาคเหนือ ใต้ อสี าน มากมาย พวกหนู
จะได้พูดคุยกับเขาได้รู้เรื่องและประกอบกับการเรียนใน
รายวิชาภาษาไทย เรื่องคาภาษาถ่ิน ซึ่งพวกเราได้ฝึก
ทกั ษะการอ่าน การสะกดคา และการเขยี นด้วย พวกหนู
จึงทาโครงงานเลม่ นขี้ ้นึ
หนา้ ๒
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน
๑. เพอื่ ศึกษาคาและความหมายของคาภาษาถ่นิ
๒. เพอื่ ศกึ ษาว่าเพื่อนๆ รู้จกั ภาษาถิ่นของไทยบ้าง
หรอื ไมแ่ ละชอบภาษาถิ่นภาคใดมากที่สุด
๓. เพือ่ นาไปใชส้ นทนากบั เพื่อนๆ และบคุ คลท่วั ไปที่
พดู ภาษาถิ่นของในภาคต่างๆ
หนา้ ๓
ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้
๑. ศกึ ษาโดยการสมั ภาษณ์บคุ คลในโรงเรียน
๒. ศึกษาภาษาของภาคตา่ งๆ
ไดแ้ ก่ ๑. ภาคเหนือ
๒. ภาคอีสาน
๓. ภาคใต้
หนา้ ๔
วธิ กี ารดาเนนิ การ
๑. ปรกึ ษากันวา่ จะไปหาข้อมูลจากที่ไหน ก็ได้ขอ้ สรปุ ว่า
พวกเราจะไปสัมภาษณเ์ พ่ือนๆในโรงเรยี น เพราะเคยได้ยนิ
เขาพดู ภาษาตา่ งกนั ซ่งึ เราแบง่ หนา้ ที่กันไปสัมภาษณอ์ อกเป็น
ภาคต่างๆ ดงั นี้ ภาคเหนือ ภาคอสี าน ภาคใต้
๒. โดยพวกเราแบง่ หวั ข้อที่จะไปสัมภาษณ์ออกเป็น ๓
หมวด ดงั นี้ หมวดคาชอื่ สตั ว์ หมวดคาชอ่ื พชื ผลไม้
หมวดคาทั่วไป
๓. พวกเราสอบถามเพอ่ื นๆ ชั้น ป.๖ ท่สี นใจและอยากรู้
เร่ืองภาษาภาคต่างๆ ชว่ งพกั กลางวนั
๔. นาขอ้ มลู ทไี่ ด้มาจดั ทาเปน็ หนงั สอื มะเฟอื งภาษาถ่ินคาไทย
เพื่อนามาใช้ประกอบการเรียนรู้ในวชิ าภาษาไทย
หนา้ ๕
หน้า ๑
สรปุ ผลการศึกษา
จากการศกึ ษาภาษาไทย…ภาษาถ่นิ พวกเราไดร้ วบรวมคา
ภาษาถน่ิ ภาคกลางท่ีน่าสนใจ และแบ่งหมวดคาออกเป็น ๓ หมวด
ดงั นี้
๑. หมวดคาชื่อสัตว์ จานวน ๑๒ คา
๒. หมวดคาชือ่ พชื และผลไม้จานวน ๑๒ คา
๓. หมวดคาทั่วไป จานวน ๔๑ คา
แลว้ พวกเราได้ไปสมั ภาษณ์คาจากเพ่อื นๆ ท่พี ดู ภาษาถิ่นภาค
ตา่ งๆ เมอื่ ได้คาจนครบแลว้ นามาเขียนเสนอผลการดาเนนิ การ
หลงั จากน้ันพวกเราจึงจดั ทาเปน็ หนังสือมะเฟอื งและไดแ้ นะนา
หนงั สอื มะเฟืองใหเ้ พอื่ นๆนามาใชป้ ระกอบการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย
จากการจดั ทาโครงงานน้ี พวกเราไดร้ ับความรูเ้ กยี่ วกับการ
ใชภ้ าษาในการพูดคยุ สนทนาในชีวิตประจาวันกับเพอื่ นๆ และ
บคุ คลทใี่ กล้ชิดทีพ่ ูดคุยด้วยภาษาถนิ่ ภาคต่างๆ ได้อยา่ งเขา้ ใจ
ความหมายและไดฝ้ ึกทักษะการอา่ น การเขยี นสะกดคา และการผนั
วรรณยกุ ตแ์ ละได้ฝึกความคิดสรา้ งสรรคด์ ้านศลิ ปะวาดภาพระบาย
สจี ากการทาใบงานเรือ่ งคาภาษาถิ่นในวชิ าภาษาไทยอีกดว้ ย
หนา้ ๖
ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั
๑. ได้มีความรู้เก่ยี วกับภาษาพูดของคนไทยอยา่ งหลากหลาย
๒. ได้ฝึกทักษะการอ่านและการเขียน
๓. ไดฝ้ ึกวิธกี ารเรียนรูจ้ ากแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ
๔. ไดฝ้ ึกการทางานร่วมกบั คนอ่ืน
๕. ไดจ้ ัดทาหนังสอื มะเฟือง เรื่องคาภาษาไทย…ภาษาถิ่น
เพื่อใชป้ ระกอบการเรยี นในรายวิชาภาษาไทย
หนา้ ๗
หน้า ๑
เอกสารอา้ งองิ
จารุวรรณ ธรรมวัตร. คตชิ าวบา้ นอสี าน. กรุงเทพฯ : อักษรวฒั นา,
ม.ป.ป.
ประคอง ขุนทอง. ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหง่ ชาต.ิ
กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชน่ั , ๒๕๔๕.
ภาคผนวก
นกั เรยี นสมั ภาษณเ์ พอ่ื นๆที่อยภู่ มู ภิ าคตา่ งๆ
นกั เรยี นนาขอ้ มลู ภาษาถนิ่ มาจดั ทาสอื่ การเรยี นรู้
นกั เรยี นนาสอ่ื มาใชป้ ระกอบการเรยี นภาษาไทย
ตัวอยา่ ง
ผลงานนกั เรยี น