The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทานเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางด้านภาษาและการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aomfha4544, 2022-07-15 21:55:12

ผลการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทานเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางด้านภาษาและการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย

ผลการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทานเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางด้านภาษาและการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย

รายงานวิจยั เรื่องที่ 3
1.ชื่อเร่ือง: ผลการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเลา่ นทิ านเพื่อเสริมสรา้ งความสามารถทางดา้ นภาษาและ

การกลา้ แสดงออกของเดก็ ปฐมวยั

2.ผู้วิจยั : สพุ ัสษา บุพศริ ิ
3.สถาบนั : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร
4.ปพี ิมพ์ : 2560
5. ท่มี าและความสาคญั ของปัญหา

6. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั

7. สมมติฐานการวจิ ัย

ในการวจิ ยั คร้งั นผ้ี ูว้ จิ ัยไดก้ าหนดสมมตฐิ านของการวจิ ยั ไว้ดังน้ี
1. ความสามารถทางด้านภาษาของเด็กปฐมวัยหลงั เรยี นด้วยการ จัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการ
เล่านิทาน ทีผ่ ู้วจิ ัยสร้างขึ้น สูงกว่า ก่อนเรยี น
2. เดก็ ปฐมวยั ทไ่ี ดร้ บั การจดั ประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมติประกอบการเลา่ นทิ านมกี ารกล้าแสดงออกในระดบั
มากขึ้นไป

8. ขอบเขตการวจิ ัย

8.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง หรอื กลุ่มเปา้ หมาย หรอื กลุ่มท่ศี กึ ษา
1.ประชากร เป็นเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ วดั ศรสี วาท บ้านคาไฮ ตาบลหาดแพง อาเภอศรีสงคราม

จังหวัดนครพนม สงั กดั เทศบาลตาบลหาดแพง ปกี ารศึกษา 2559 หอ้ งเรียน 3 ห้อง จานวน 45 คน
2. กลุม่ ตัวอยา่ ง เป็นเดก็ ปฐมวัยอายุ 4-5 ปี ในศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ วัดศรีสวาท บา้ นคา้ ไฮ ตาบลหาดแพง

อาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม สงั กดั เทศบาลตาบลหาดแพง ปกี ารศกึ ษา 2559 ซง่ึ ได้มาจากการเลอื กเจาะจง (Purposive
Sampling) จานวน 20 คน

8.2 ตวั แปรทศี่ ึกษา
ตัวแปรทใี่ ชใ้ นการวิจยั ในครงั้ นี้ ประกอบด้วย
1. ตัวแปรอิสระ ไดแ้ ก่ การจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติ ประกอบการเลา่ นทิ าน
2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่
2.1 ความสามารถด้านภาษา
2.2 พฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออก

8.3 เนื้อหาทใ่ี ช้ในการวิจยั
เน้อื หาที่ใชใ้ นการจดั ประสบการณ์เพอ่ื เสริมสร้างความสามารถด้านภาษาและการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวยั ศนู ย์
พัฒนาเด็กเลก็ วดั ศรีสวาท บ้านคาไฮ ตาบลหาดแพง อาเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม สังกัดเทศบาลตาบลหาดแพง เป็นเน้อื หา
ในกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณต์ ามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546 โดยแบ่ง การจดั ประสบการณ์ เปน็ 10 หน่วย

ดงั น้ี 1) เรื่อง แสนสบาย กินดีมีสุข 2) เรือ่ ง หนจู า๋ หนู ทาได้ 3) เร่อื ง บ้านสุขสนั ต์ 4) เรือ่ ง สายใยชุมชน 5) เรอื่ ง วัน-คนื ชนื่ อุรา 6)
เรอ่ื ง นานา สัตวโ์ ลก 7) เรือ่ ง ขา้ วดีมีประโยชน์ 8) เรือ่ ง ขยันเหลอื เจ้ามดน้อย 9) เร่ือง อร่อยผักผลไม้ 10) เร่อื ง คมนาคม

9. นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ

1. นิทาน หมายถึง เร่ืองราวท่ีมีประสบการณ์มกี ารผกู เรอ่ื งราวที่เกี่ยวกบั การปลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม การโน้มนา้ วและ
การสอนให้เด็กปฐมวยั มลี กั ษณะพฤติกรรม กลา้ แสดงออก ได้พัฒนาภาษาการฟงั และการพูดท่ีดี

2. การแสดงบทบาทสมมติ หมายถงึ การแสดงตามบทบาทตามเนือ้ หา ในนิทานท่คี รเู ลา่ ให้ฟงั โดยเดก็ ปฐมวยั เปน็ ผู้
เลือกตัวละครท่จี ะแสดงเอง

3. การจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเล่านิทาน หมายถึง แนวการจัดประสบการณ์โดยใหเ้ ดก็
ปฐมวยั เป็นผู้แสดงบทบาทสมมติดว้ ยสหี นา้ และท่าทางตามเนอ้ื เรอ่ื งของนทิ าน โดยเดก็ เป็นคนเลอื ก และวางแผนกาหนดตัวละคร
ทจี่ ะแสดงเอง หลังจากการแสดงบทบาทสมมติจบให้เด็กช่วยกันสรปุ เรอ่ื งราวในนิทาน ซึ่งนิทานท่คี รนู ามาจดั ประสบการณ์มเี นือ้ หา
ที่เหมาะสมกับวยั และชว่ ยสง่ เสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ซ่งึ ในการวิจัยในคร้ังนใ้ี ชห้ นว่ ยในการจัดประสบการณ์ 10 หน่วย
หน่วยละ 1 สปั ดาห์ การจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเล่านิทาน 1 เร่ือง จะใช้ 1 สปั ดาห์ สปั ดาห์ละ 3 วัน
วันละ 30 นาที หน่วยการจัดประสบการณ์ ประกอบด้วย 1) แสนสบาย กินดมี ีสุข 2) หนูจาหนูทาได้ 3) บา้ นสุขสันต์ 4) สายโย
ชมุ ชน 5) วัน-คืนชื่นอรุ า 6) นานาสตั ว์โลก 7) ข้าวดมี ีประโยชน์ 8) ขยันเหลอื เจา้ มดน้อย 9) อร่อยผกั ผลไม้ 10) คมนาคม มขี ้นั ตอน
การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ้งั หมด 3 ชน้ั ดังนี้

1) ข้ันนา คือ กระตุ้นให้เดก็ เกดิ ความสนใจอยากรู้ อยากเหน็ อยากลอง มีความกระตอื รอื รน้ ดว้ ยการเล่า
นทิ านจากหนังสอื

2) ข้ันสอน คอื สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีจนิ ตนาการ การสรา้ งภาพในสมอง ดว้ ยการเล่านทิ านโดยมีสื่อเพม่ิ เตมิ ทห่ี าได้
ในห้องเรียน

3) ขั้นสรปุ คอื เดก็ ได้สรุปว่าไดม้ เี หตุการณ์เกิดขนึ้ ท่ีไหน อยา่ งไร และมีใครบ้างในนทิ าน และอะไรบ้างจากการ
แสดงบทบาทสมมติประกอบการเลา่ นิทาน ละครตวั ไหนมนี สิ ัยอย่างไร ดหี รอื ไมด่ ีอย่างไร และบอกลาดบั เหตกุ ารณก์ ่อน-หลัง ทเี่ กดิ
ในนิทานเร่ืองนัน้ ได้
คุณส่ง

4. ความสามารถทางด้านภาษา หมายถงึ พฤติกรรมการแสดงออก ของเด็กในความสามารถด้านการฟงั ความสามารถ
ในดา้ นการพูด โดยพฤตกิ รรมท่แี สดงออกแยกย่อยได้ดงั นี้

4.1 ความสามารถด้านการฟงั ประกอบดว้ ย
4.1.1 การรับรคู้ าศพั ท์ หมายถงึ ความสามารถของเด็กในการฟงั คา่ ทคี่ รู
4.1.2 การฟังเพอ่ื จาแนกเสียง หมายถึง ความสามารถของเดก็ ในการฟัง พดู และรจู้ กั ความหมายของ

คานนั้ ๆ และสามารถแยกแยะความแตกต่างของเสียงไดถ้ ูกต้อง

4.1.3 ความเขา้ ใจในการฟัง หมายถงึ ความสามารถของเดก็ ในการฟงั แล้วบอกรายละเอียด บอก
เหตุผล บอกใจความสาคญั หรอื สรุปแนวคดิ ของเร่อื งได้

4.1.4 การฟังเพ่ือปฏบิ ัตติ ามคาส่งั หมายถงึ ความสามารถของเด็ก ในการฟงั คาส่งั แลว้ ปฏิบตั ติ ามได้
ถกู ต้อง ในการวดั ความสามารถทางด้านการฟัง ผูว้ ิจัยได้ใชแ้ บบทดสอบ ท่ีผู้วจิ ยั สรา้ งขึ้นเพอ่ื ทดสอบวัดความสามารถทางดา้ นการ
ฟงั ก่อนเรยี น (Pretest) และหลงั เรยี น (Posttest) ด้วยแบบทดสอบชดุ เดยี วกัน

4.2 ความสามารถด้านการพูด ประกอบด้วย
4.2.1 การเลา่ เรอื่ ง หมายถึง ความสามารถของเด็กในการถา่ ยทอด เรื่องราวตา่ งๆ ในนิทาน ด้วยการ

เปลง่ เสียงพูดทีช่ ัดเจน เป็นประโยคทส่ี มบูรณแ์ ละบอกได้ วา่ ใคร ทาอะไร ท่ไี หน อยา่ งไร เม่ือไหร่
4.2.2 การใชค้ าพดู เหมาะสมกบั สถานการณ์ หมายถึง ความสามารถ ของเด็กในการใชค้ าพดู ได้

เหมาะสมกับเหตุการณใ์ นขณะน้ัน หรือเรือ่ งราวในนิทานแตล่ ะ เร่อื ง พร้อมกับบอกสิ่งทค่ี วรปฏบิ ตั ไิ ด้ถูกตอ้ ง ในการวัด
ความสามารถทางดา้ นการพูด ผูว้ จิ ยั ได้ใช้แบบทดสอบ ท่ีผ้วู ิจยั สรา้ งขน้ึ เพื่อทดสอบวัดความสามารถทางดา้ นการพูดก่อนเรียน
(Pretest) และหลงั เรยี น (Posttest) ดว้ ยแบบทดสอบชดุ เดียวกัน

5. การกล้าแสดงออก หมายถงึ พฤตกิ รรมการแสดงออกมา คอื การกล้าแสดงออกทางวาจากิริยาท่าทางที่เหมาะสม กลา้
ลองทาส่งิ แปลงใหม่ มีความเป็นผนู้ าด้วยความภูมิใจ และสามารถปรับตวั เขา้ กับผู้อ่นื ในสงั คมได้ โดยพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก มี 5
ด้าน ดังนี้

5.1 กลา้ แสดงออกทางวาจา หมายถงึ การพูดดว้ ยความคลอ่ งแคลว่ เสียงดงั ฟงั ชัด กลา้ สบตากับผู้ฟังโดยไม่
ประหม่า เหมาะสมตามสถานการณ์และเหมาะสมตามวัยของเดก็

5.2 กลา้ แสดงออกทางท่าทาง หมายถงึ การแสดงออกด้วยความม่นั ใจ ไมเ่ คอะเขนิ ไม่ประหม่า
5.3 กลา้ ทากจิ กรรมและลองทาสงิ่ ใหมๆ่ หมายถึง ชอบทา่ กิจกรรมใหม่ๆ โดยไมล่ งั เล ดว้ ยความกระตือรือร้น
5.4 กลา้ แสดงออกถึงความเปน็ ผู้นา หมายถึง ยกมือขออาสาที่จะเปน็ ผนู้ า ในการทากิจกรรม การนาเสนอ
ผลงาน หรอื การแจกใบงาน การอาสาชว่ ยครถู อื ของ
5.5 มคี วามภาคภมู ใิ จในตนเอง หมายถงึ มีความรสู้ กึ พงึ พอใจในผลงาน ของตนเองเมื่อทางานชิน้ นั้นๆ สาเร็จ
ในการวัดการกล้าแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย ผวู้ ิจัยไดใ้ ช้แบบสงั เกต พฤติกรรมการกลา้ แสดงออกทผ่ี วู้ จิ ัยสร้าง
ขน้ึ
6. เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ เด็กชาย-หญงิ อายุระหว่าง 4-5 ปี ทกี่ าลงั เรียนอยู่ในศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ ปกี ารศึกษา 2559
จานวน 20 คน ของศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ วัดศรีสวาท บ้านคาไฮ ตาบลหาดแพง อาาเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม สงั กัดเทศบาล
ตาบลหาดแพง

10. เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง

ในการวิจยั เรอ่ื งผลการจัดประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบ การเลา่ นทิ านเพื่อเสรมิ สร้างความสามารถดา้ น
ภาษาและการกล้าแสดงออกของปฐมวัย ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กวัดศรีสวาท บา้ นคาไฮ ตาบลหาดแพง อาเภอ ศรี
สงคราม จังหวดั นครพนม สงั กดั เทศบาลตาบลหาดแพง ผวู้ จิ ยั ได้ศึกษาจากเอกสาร ตารา บทความและงานวจิ ยั ต่างๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
และนาเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้

1.การจัดประสบการณเ์ พ่ือการเรียนรสู้ าหรบั เด็กปฐมวัย
1.1หลักการจัดประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวยั
1.2 แนวทางการจดั ประสบการณส์ าหรบั เด็กปฐมวยั
1.3 จุดมุง่ หมายของการจดั ประสบการณส์ าหรบั เด็กปฐมวยั
1.4 ลักษณะของกิจกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
1.5 รูปแบบของการจัดตารางกจิ กรรมประจาวัน

2. การแสดงบทบาทสมมติ
2.1 ความหมายของกจิ กรรมบทบาทสมมติ
2.2 ความสาคัญของกจิ กรรมบทบาทสมมติ
2.3 องค์ประกอบของบทบาทสมมติ
2.4 วตั ถปุ ระสงค์ของกิจกรรมบทบาทสมมติ
2.5 ประเภทของบทบาทสมมติ
2.6 ลกั ษณะของการแสดงบทบาทสมมติ
2.7 ข้ันตอนในการแสดงบทบาทสมมติ
2.8 เทคนคิ และขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ ในการใช้วิธกี ารสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ

3. แนวทางในการพฒั นาความสามารถด้านภาษาดว้ ยนิทาน
3.1 นิทาน
3.2 ประเภทของนิทาน
3.3 ประโยชนข์ องการเลา่ นทิ านท่มี ีตอ่ การสอนภาษา
3.4 การเล่านทิ านบูรณาการเพือ่ การเรียนรู้ภาษา
3.5 หลักเกณฑใ์ นการเลือกนทิ าน
3.6 กิจกรรมการเลา่ นทิ าน

4. ความสามารถและพฒั นาการด้านภาษา การฟงั การพูด
4.1 ความหมายของภาษา
4.2 ความสาคัญของภาษา
4.3 องคป์ ระกอบของภาษา

4.4 พัฒนาการทางกาษา
4.5 หลักการจดั กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสริมพฒั นาการทางภาษา
4.6 พัฒนาการทางด้านการฟัง
4.7 พัฒนาการทางด้านการพูด
5. การกลา้ แสดงออก
5.1 ความหมายและความสาคญั ของการกล้าแสดงออก
5.2 ประเภทของการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม
5.3 ทฤษฎที ่ีเก่ยี วข้องกบั การกล้าแสดงออก
5.4 หลักการและแนวทางในการส่งเสริมการกลา้ แสดงออก
6. หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2546
6.1 ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย
6.2 หลกั การ
6.3 จุดมงุ่ หมาย
6.4 คณุ ลกั ษณะตามวัย
6.5 สาระการเรยี นรู้

งานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง

1.งานวิจัยในประเทศ
ศรสี ดุ า ธิติโสภี (2545, หนา้ 103) ไดท้ าการวจิ ัยเรือ่ ง การเปรียบเทยี บ ผลของการจัดกจิ กรรมหลงั

การเล่านทิ านด้วยวิธกี ารตอบคาถามและวิธกี ารเล่นบทบาท สมมตุ ทิ ม่ี ตี อ่ ความรับผดิ ชอบของเดก็ ปฐมวัย ผลการวิจัยพบว่า เดก็
ปฐมวยั ที่ไดร้ ับการจัด กจิ กรรมการเล่านิทานดว้ ยวธิ ีการเล่นบทบาทสมมตุ ิมพี ฤตกิ รรมความรับผิดชอบสงู กว่า ก่อนการทดลอง เด็ก
ปฐมวัยทไ่ี ด้รบั การจัดกจิ กรรมการเล่านทิ านดว้ ยวิธีการตอบคาถามมีพฤตกิ รรมความรบั ผิดชอบสงู กวา่ ก่อนการทดลอง เดก็ ปฐมวยั
ที่ได้รบั การจัดกจิ กรรม การเลา่ นทิ านด้วยวิธีการเล่นบทบาทสมมตมิ ีพฤตกิ รรมความรับผดิ ชอบสูงกว่าเด็กปฐมวัย ท่ไี ดร้ บั การจัด
กิจกรรมการเล่านทิ านดว้ ยวธิ กี ารตอบคาถาม

สนอง สทุ ธาอามาตย์ (2545, หนา้ 49) ได้ทาการวจิ ัยเร่ือง ความสามารถ ดา้ นการฟังและการพดู ของ
เด็กปฐมวยั ที่ไดร้ บั การจัดกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดยการประกอบอาหาร ผลการวิจยั พบว่า เด็กทไ่ี ด้รับการจดั กจิ กรรมเสริม
ประสบการณโ์ ดยการประกอบอาหารกอ่ นและหลงั การทดลองมคี วามสามารถดา้ นการฟงั แตกต่างกนั อย่างมี นยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่
ระดบั .01 ด้านการพดู แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .01 เดก็ ปฐมวัยทไ่ี ดร้ บั การจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดย
การประกอบอาหารมคี วามสามารถ ดา้ นการฟงั และการพดู สงู กว่าก่อนการทดลอง

รมั ภาพศิ ปติ มิ ล (2547, หน้า 42) ไดท้ าการวจิ ัยเร่ือง การใช้กจิ กรรมบทบาทสมมติแบบกง่ึ ช้ีแนะเพือ่
สง่ เสรมิ ความเชอื่ มัน่ ดา้ นการกลา้ แสดงออกของเด็กปฐมวัย ผลการวิจัยพบวา่ 1) เดก็ ปฐมวัยที่ไดร้ ับการจัดกิจกรรมบทบาทสมมติ

แบบก่ึงช้แี นะ มคี วามมน่ั ใจดา้ นการกล้าแสดงออกสงู ขึ้น 2) พฤติกรรมความเชอื่ มัน่ ด้านการกล้าแสดงออก ของเด็กปฐมวยั ก่อนและ
หลังการทดลองแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคัญท่ีระดับ 0.1 โดยหลังการทดลองมคี ะแนนความเชื่อม่ันดา้ นการกล้าแสดงออกสงู กวา่
กอ่ นการทดลอง และ 3) คา่ เฉลี่ยคะแนนความเชอื่ มน่ั ด้านการกล้าแสดงออกจากการใชก้ ิจกรรมบทบาท สมมตแิ บบกงึ่ ช้แี นะหลงั
การทดลองมคี ่าเพ่ิมขน้ึ ทุกกลุม่

วราภรณ์ ปานทอง (2548, หน้า 78) ได้ทาการวิจยั เรอื่ ง ผลของการเล่า นิทานคติธรรมประกอบการ
เล่นบทบาทสมมติที่มตี อ่ พฤติกรรมทางดา้ นสงั คมของเดก็ ปฐมวัย ผลการวจิ ัยพบวา่ เดก็ ปฐมวัยก่อนจัดกิจกรรมและระหวา่ งการจัด
กจิ กรรมการเล่านทิ าน คตธิ รรมประกอบการเล่นบทบาทสมมติ ในแต่ละช่วงสัปดาหม์ ีคะแนนเฉลีย่ พฤตกิ รรมทางสังคมโดยเฉล่ยี
รวมแตกต่างอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .01 และเมื่อวิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงระหวา่ งช่วงสัปดาห์ พบว่า คะแนนพฤติกรรม
ทางสงั คมโดยเฉลยี่ รวม มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางเพ่มิ ขึ้นตลอดตงั้ แตช่ ่วงสปั ดาหท์ ี่ 2 ถึงสัปดาห์ท่ี 8 อย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่
.01

อายุพร สาชาติ (2548, หนา้ 71) ได้ทาการวิจัยเรื่อง พฤตกิ รรมในการ แกป้ ญั หาของเดก็ ปฐมวัยที่
ได้รับการจดั กจิ กรรมการแสดงบทบาทสมมติ ผลการวิจัยพบวา่ เดก็ ปฐมวยั ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติมี
พฤติกรรมในการแก้ปัญหาโดยรวม หลังการทดลองสูงกว่ากอ่ นการทดลองอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01 และพฤติกรรมราย
ด้าน ได้แก่ พฤตกิ รรมในการแกป้ ญั หาของตนเอง พฤติกรรมในการแกป้ ญั หาของตนเองทเี่ กีย่ วข้องกับผู้อ่นื และพฤติกรรมในการ
แกป้ ญั หาเพื่อช่วยเหลือผู้อืน่ ของเด็กปฐมวัย หลงั การทดลองสงู กวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .01

วชั รินทร์ แสงจนั ดา (2548, หนา้ 58) ไดท้ าการวจิ ยั เรือ่ ง ผลการจดั ประสบการณ์การเล่นบทบาท
สมมตปิ ระกอบการเลา่ นทิ านโดยใช้เทคนคิ เบยี้ อรรถกรทมี่ ี ต่อความสามารถทางภาษาด้านการพูดของเด็กปฐมวัย ผลการวจิ ยั พบว่า
จากการประเมิน 2 ครัง้ เด็กปฐมวัยมคี วามสามารถทางภาษาดา้ นการพดู อยใู่ นระดบั ดีและดเี ยย่ี มระหวา่ ง การจัดประสบการณ์
การเล่นบทบาทสมมตปิ ระกอบการเล่านทิ านโดยใช้เทคนิคเบย้ี อรรถกร หลงั การจัดประสบการณ์การเลน่ บทบาทสมมติ
ประกอบการเล่านทิ านโดยใช้เทคนคิ เบี้ยอรรถกรเด็กปฐมวยั มคี วามสามารถดา้ นภาษาดา้ นการพูด โดยรวมดา้ นการบอก ชือ่ ตวั
ละครเปน็ การแต่งประโยคบอกเลา่ และเป็นการใช้ภาษาในภาพอธิบายสูงกว่า กอ่ นการจัดประสบการณ์ การเลน่ บทบาทสมมติ
ประกอบการเลา่ นทิ านโดยเทคนิค เบ้ียอรรถกรอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05

อรญั ญา เพิ่มพรพัฒน์ (2548, หน้า 81-84) ได้ทาการวิจัยเรอื่ ง การศกึ ษาความสามารถทางภาษา
ของเดก็ ปฐมวัยที่ใชน้ ิทานพ้ืนบ้านเป็นสอ่ื เสริมประสบการณ์ ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถทางภาษาของเดก็ ปฐมวยั หลงั การจดั
ประสบการณโ์ ดยใช้ นทิ านพ้นื บา้ นเป็นสอ่ื เสรมิ ประสบการณ์ในด้านการฟัง การพดู การอา่ น และการเขียน สูงกวา่ ความสามารถ
ทางภาษากอ่ นการจดั ประสบการณโ์ ดยใช้นทิ านพื้นบา้ นเปน็ ส่ือเสริม ประสบการณ์ อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 ทกุ ด้าน
ความสามารถทางภาษาของเด็กปฐมวยั หลังการจัดประสบการณโ์ ดยใชน้ ิทานพ้นื บา้ นเปน็ สือ่ เสริมประสบการณ์ สงู กวา่ เกณฑท์ ี่ตง้ั
ไวร้ ้อยละ 75 อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .01 ใน 3 ด้าน ด้านการฟัง การพดู และการอ่าน ยกเวน้ ดา้ นการเขยี นต่ากว่าเกณฑ์
ท่ีตัง้ ไว้ร้อยละ 75

เครือ ลานซนิ่ (2549, หน้า 59) ได้ทาการวิจยั เรอ่ื ง การจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณก์ ารเล่าเรอื่ ง
ประกอบบทบาทสมมติทมี่ ีตอ่ ความสามารถทางภาษาไทยของเด็กปฐมวัยทใ่ี ชภ้ าษากระเหร่ียง ผลการวจิ ัยพบว่า 1) เด็กปฐมวยั ทใ่ี ช้
ภาษากระเหรี่ยง ในกลุ่มทดลองหลงั การทดลองจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณก์ ารเล่าเรอื่ งประกอบบทบาทสมมติ มีความสามารถ
ทางภาษาไทยสงู กว่ากอ่ นการทดลองอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิท่ี ระดับ .05 และ 2) เดก็ ปฐมวยั ทใี่ ช้ภาษากระเหรีย่ งที่ไดร้ ับการจดั
กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ การเลา่ เรื่องประกอบบทบาทสมมติมีความสามารถทางภาษาไทยแตกต่างกับเด็กปฐมวัย ทใ่ี ชภ้ าษากระ
เหร่ยี งในกล่มุ ควบคมุ ทไ่ี ด้รบั การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ตามปกติ อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 โดยเด็กปฐมวัยท่ใี ช้
ภาษากระเหรีย่ งในกลมุ่ ควบคุม ท่ีได้รับการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ตามปกติ

เยาวรัตน์ สิงหาราโท (2552, หนา้ 106-107) ได้ทาการวิจัยเรอื่ ง การพฒั นาความสามารถทางภาษา
ของนักเรยี นชั้นอนุบาลปที ี่ 1 โดยใชน้ ิทานพนื้ บ้านของจังหวัดชัยภมู ิ ผลการวิจยั พบว่า ประสทิ ธภิ าพของแผนการจดั ประสบการณ์
โดยใชน้ ิทานพ้ืนบ้านของจังหวัดชยั ภมู ิ มีประสิทธภิ าพเท่ากบั 81.46/83.16 ซึ่งสูงกว่าเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ คือ 80/80 ค่าดชั นี
ประสทิ ธผิ ลของแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้นิทานพ้ืนบ้านของจงั หวัด ชยั ภมู ิ ช้ันอนบุ าลปที ่ี 1 มคี า่ เท่ากับ 0.6424 หรอื คดิ เป็น
รอ้ ยละ 64.24 ความสามารถทางภาษาดา้ นการฟังและการพดู ของนักเรียนชัน้ อนุบาลปีที่ 1 ท่ีเรียนด้วยแผนการจัด ประสบการณ์
เพ่ือพัฒนาความสามารถทางภาษา โดยใช้นิทานพื้นบ้านของจังหวัดชัยภูมิ หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิที่
ระดับ .05

สุภา พง่ึ บุญ (2553, หน้า 114) ท่ไี ด้ศึกษาเรือ่ งการเปรยี บเทยี บความสามารถทางภาษา และความ
เชอ่ื ม่ันในตนเองของเดก็ ปฐมวัยท่ไี ดร้ บั การจัดประสบการณ์ การสอนภาษาแบบธรรมชาติกบั แบบฮาร์ทส ผลการวิจัยพบว่า มี
นยั สาคัญท่รี ะดบั .01 น้ัน เปน็ ไปได้ท่ีคะแนนความสามารถทางภาษาและความเชื่อมัน่ ในตนเอง โดยเฉลย่ี ของเดก็ ปฐมวยั ท่ีได้รับ
การจัดประสบการณ์การสอนภาษาแบบธรรมชาติกบั แบบฮาร์ทส จะแตกตา่ งกัน

อนงค์ หมื่นสา (2553, หนา้ 77) ไดศ้ กึ ษาการจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ์โดยใชห้ นงั สือนทิ านทมี่ ี
ผลตอ่ พฤติกรรมการฟงั และการพูดของเด็กปฐมวัย ผลการศึกษา พบวา่ 1) ดัชนปี ระสทิ ธผิ ลของการจดั กิจกรรมเสริมประสบการณ์
โดยใช้หนงั สอื นิทาน พน้ื บา้ นอีสานประกอบภาพของเด็กปฐมวยั มคี ่าเทา่ กับ 0.76 หรือคิดเปน็ ร้อยละ 76 ซ่ึงแสดงหนังสือนทิ าน
พนื้ บา้ นอสี านประกอบภาพของเด็กปฐมวัย ท่ผี วู้ ิจยั สร้างขึน้ ทาใหน้ กั เรยี นมพี ฤติกรรมการฟังและการพูดดขี นึ้ จากกอ่ นการจัด
กิจกรรม คิดเปน็ รอ้ ยละ 76 และ 2) เด็กปฐมวยั ทีไ่ ดร้ บั การจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณจ์ ากการเรยี นหนงั สือนิทาน พืน้ บ้านอีสาน
แลว้ มีพฤตกิ รรมการฟงั และการพูดหลังจากการจดั กจิ กรรมสูงกว่า กอ่ นจัดกจิ กรรม อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .01

นภิ าพร บญุ กศุ ล (2554, หน้า 118) ได้ทาการวจิ ยั เรอ่ื ง การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพือ่ พฒั นาทักษะการ
ฟัง การพูดและการเรียนร้คู าศพั ทภ์ าษาอังกฤษ โดยการใช้ชุดกิจกรรมการเลา่ นิทานและบทบาทสมมติ ผลการวจิ ัยพบวา่ 1)
คะแนนการทดสอบวัดผล ทกั ษะการฟัง การพูดและการเรยี นรู้คาศัพทภ์ าษาอังกฤษ พบวา่ นักเรยี นมคี ะแนนทดสอบวดั ทักษะการ
ฟงั การพดู และการเรียนรูค้ าศพั ทภ์ าษาอังกฤษเฉลี่ยร้อยละ 78.78 ซ่งึ สงู กว่า เกณฑ์ทีก่ าหนดไว้ คือ รอ้ ยละ 70 และจานวน
นักเรียนทีผ่ า่ นเกณฑ์ คือเฉลยี่ ร้อยละ 81.81 ซง่ึ สงู กว่าเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ คอื ร้อยละ 80 ของจานวนนกั เรยี นทงั้ หมด และ 2) การ
พัฒนา ทักษะการฟงั การพดู และการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาองั กฤษ โดยการใชช้ ดุ กิจกรรมการเลา่ นทิ านและบทบาทสมมตทิ าให้

นกั เรียนมคี วามกระตือรือรน้ และสนใจรว่ มกจิ กรรมมากขน้ึ นกั เรียนกลา้ แสดงออกและกล้าพดู ภาษาองั กฤษมากข้ึน ส่งเสรมิ ให้
นกั เรียนเกง่ ไดช้ ่วยเหลือ นกั เรียนทอ่ี ่อนและนกั เรียนได้เรียนรกู้ ารทางานรว่ มกนั เปน็ กลุม่

ประภาพร วังสุรีย์ และกาญจนา ดรปุราณ (2555, บทคดั ย่อ) ไดท้ าการวจิ ยั เร่ืองการจัด
ประสบการณแ์ บบโครงการเพ่ือพัฒนาพฤตกิ รรมความเปน็ ผนู้ าด้านการกล้าแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย ผลการวิจัยพบวา่ เด็ก
ปฐมวยั ทีไ่ ดร้ บั การจัดประสบการณ์ แบบโครงการเพอื่ พฒั นาความเป็นผูน้ าด้านการกลา้ แสดงออก พบวา่ หลงั จากการจัด
ประสบการณ์แบบโครงการเดก็ ปฐมวัยมีพฤตกิ รรมความเปน็ ผู้นาดา้ นการกลา้ แสดงออก สูงกว่ากอ่ นทดลอง คิดเป็นรอ้ ยละ 94

( ̅= 1.89, S.D. = 0.2) แสดงว่าการจัดประสบการณ์แบบโครงการมผี ลตอ่ พฤติกรรมความเป็นผูน้ าด้านการกลา้ แสดงออกของเดก็
ปฐมวัยเปน็ อย่างดี

พงศกร ศรเพชร (2556, หน้า 156) ไดท้ าการวจิ ัยเรือ่ ง การพัฒนากจิ กรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดยใช้
นิทาน เพือ่ เสรมิ สรา้ งความสามารถในดา้ นภาษาและการกล้าแสดงออกของนักเรยี นชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 ผลการวจิ ยั พบวา่ 1)
ประสิทธภิ าพของกิจกรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดยใชน้ ทิ านมคี ่าเท่ากบั 85.10/83.33 2) ความสามารถด้านภาษาของนกั เรยี นชนั้
อนุบาลปีท่ี 2 ทีเ่ รียนดว้ ยกิจกรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดยใช้นทิ านหลงั เรียน สงู กวา่ กอ่ นเรยี น อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01
และ 3) การกลา้ แสดงออกของนักเรียนทีเ่ รียนด้วยกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดยอยใู่ นระดบั ดมี าก

2. งานวิจยั ตา่ งประเทศ
Dixon and others (1977, pp. 367-373) ไดศ้ กึ ษาการเลา่ นิทานกบั เด็กปฐมวัย ณ โรงเรียนใน

เมืองดีทรอยต์ จานวน 146 คน โดยแบ่งเด็กออกเป็น 4 กลุม่ กลมุ่ ทดลองมี 3 กลุ่ม กลมุ่ ท่ี 1 หลงั จากไดฟ้ ังนิทานแลว้ มีการสนทนา
กลุม่ ที่ 2 พาไปศกึ ษานอกสถานที่ กลมุ่ ท่ี 3 แสดงบทบาทเลียนแบบตัวละคร ส่วนกลุม่ ท่ี 4 ซึ่งเปน็ กล่มุ ควบคมุ ไดฟ้ ังนิทานเพียง
อย่างเดียวผลการวจิ ัยพบว่าเดก็ กลมุ่ ที่ฟงั นทิ านแล้วได้แสดงบทบาทเลยี นแบบตัวละคร ในเร่ืองไปดว้ ยจะพัฒนาความคดิ ต่าง ๆ ไดด้ ี
ทส่ี ดุ แสดงวา่ เมอื่ เดก็ ฟงั นิทานแลว้ เด็กยอ่ มมคี วามตอ้ งการทจ่ี ะเลยี นแบบตัวละครทีต่ นชอบและตัวละครที่ประสบความสาเร็จ

Cloer and Bray (1978, p. 156 อ้างถึงใน นภิ าพร บุญกุศล, 2556, หน้า 72) ไดศ้ กึ ษาผลของการ
ใช้นทิ านที่สง่ ผลต่อพฤติกรรมและทัศนคตขิ องเดก็ โดยใช้หุ่นจาลอง และการแสดงบทบาทสมมติ กลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นนักเรยี นชายจาก
โรงเรยี นประถมศกึ ษา 2 แห่ง โดยให้นกั เรยี นแสดงอุปนิสัยทา่ ทางให้เหมือนกับตวั ละคะในนทิ าน เม่อื เรียนจบแล้ววดั ทศั นคติทันที
พบว่าเดก็ ชายเหลา่ น้มี ที ศั นคตทิ มี่ ีต่อสตั ว์ และหลงั จากน่ัน 6 สปั ดาห์ ทาการวัดอีกครั้งหน่ึง ผลปรากฏว่าทศั นคตขิ องเด็กชาย 2
โรงเรียน มีความม่ันคง เด็กชายที่เคยลา่ สัตว์โดยแน่นอน ผลการศกึ ษาครง้ั น้แี สดงวา่ นิทานมีผลโดยตรงต่อพฤตกิ รรมและ ทัศนคติที่
มน่ั คง

Lonnotti (1980, p. 142) ได้ศกึ ษาผลการใช้การแสดงบทบาทสมมตทิ ีเ่ น้น การไมเ่ ห็นแกป่ ระโยชน์
ส่วนตน ทดลองกับนกั เรยี นอายุ 6 ปี และ 9 ปี ผลการวจิ ัยพบว่า นักเรยี นท่มี ีการฝกึ โดยการใชก้ ารแสดงบทบาทสมมตมิ ีพฤติกรรม
ในการไม่เหน็ แกป่ ระโยชน์ สว่ นตนเพมิ่ ข้ึน

Amoriggi (1981, pp. 13664-1367A) ได้ศกึ ษาความสามารถในการเลา่ นทิ าน ของเด็กปฐมวัย โดย
ผวู้ จิ ยั เลา่ นทิ านใหเ้ ด็กปฐมวัยฟงั แล้วให้เดก็ ย้อนกลับและเลา่ เรอื่ งตอ่ จากผวู้ จิ ยั เป็นเวลา 2 สปั ดาห์ เด็กสามารถเลา่ นทิ านได้ถูก

ต้องการเรยี งลาดับเหตุการณ์ ตา่ งๆ พฒั นามากขึ้นในขณะทาการทดลอง เด็กสามารถนาเอานิทานท่ีฟงั ไปประยุกต์และ เลา่ เรอ่ื ง
ต่อไปหลังทดลองผ่านไป 3 สปั ดาห์ จากเอกสารและงานวจิ ัยดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การเล่านิทานเป็นกจิ กรรมทมี่ ีความสาคญั ตอ่ การ
จัดกจิ กรรมของเดก็ ปฐมวัย เพราะนทิ าน จะเป็นส่ิงท่จี ะโนม้ นา้ ว ให้เด็กมีความสนใจ และเกดิ การเรียนรู้โดยผ่านวิธีการที่
หลากหลาย ซง่ึ จะช่วยส่งเสริมพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงคแ์ กเ่ ดก็ ปฐมวัยไดอ้ ยา่ งชัดเจน

Harver (2002, p. 1252-A) ไดศ้ ึกษาเชิงผลกระทบของการใช้หนังสอื นิทาน ทีบ่ ันทกึ เสียงไว้ ทม่ี ีตอ่
การรแู้ ละออกเสยี งคาศพั ทข์ องเดก็ วยั กอ่ นเรียน จานวน 80 คน จากโรงเรยี นสาหรับเดก็ กอ่ นวยั เรียนในเขตเมืองช้ันในและจาก
โรงเรียนขนาดเลก็ แบง่ นักเรียนออกเปน็ กลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบโดยเดก็ ได้รบั หนงั สอื บนั ทกึ เสยี ง หรอื อุปกรณท์ างศิลปะ
เป็นเวลามากกว่า 10 สปั ดาห์ เด็กทุกคนท่ีเข้ามาเก่ียวข้องกบั การศึกษาในคร้ังนีไ้ ด้รับการทดสอบก่อนและหลงั การทดลองคาศพั ท์ท่ี
มภี าพประกอบ (แบบ ก และแบบ ข) และการทดสอบคาศัพทก์ ารแสดงออกเพอ่ื วัดการพฒั นาคาศัพทท์ ่ีมตี ่อความรู้เกี่ยวกับคาศพั ท์
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู พบว่า เดก็ ทอ่ี ยใู่ นกลุ่มทดลอง มคี วามรเู้ กีย่ วกบั คาศัพท์เพ่มิ ข้ึนและทแ่ี สดงออกอย่างมีนยั สาคัญ เดก็ ท่ที า
คะแนนได้ ตา่ ท่สี ดุ ในระหวา่ งการทดสอบก่อนเรียนครั้งแรกมปี ระสบการณ์ท่ีไดป้ ระโยชนม์ ากหลัง การทดลองถงึ แม้ว่าความถีท่ ี่กลุม่
ทดลองไดฟ้ งั หนงั สือบันทกึ เสียงจะมคี วามสัมพนั ธ์ กบั จานวนคาศัพท์ท่รี บั ร้เู พ่มิ ขน้ึ แต่ไมม่ คี วามสัมพันธด์ ังกล่าวเก่ียวกับการพัฒนา
คาศัพท์ ทแ่ี สดงออก และผู้ปกครองของเด็กในกลุม่ ทดลองรายงานเดก็ ของตนว่ามีความสุข ในการฟังหนังสือบนั ทึกเสยี งอยา่ งมาก

Yun (2003, p. 67) ได้ศึกษาเดก็ 4 กลุ่มทไี่ ดร้ บั การเล่านิทานให้ฟงั โดย แต่ละกลุ่มหลังจากท่ไี ดฟ้ งั
นิทานแล้วมกี ารสนทนา หรอื พาไปศึกษานอกสถานที่หรือแสดงบทบาทเลียนแบบตวั ละครและอกี กลุ่มเปน็ การควบคุม ผลการ
ทดลองพบวา่ ในการฟงั นทิ านนั้นถา้ เดก็ ไดแ้ สดงบทบาทเลยี นแบบตัวละครในเร่ืองไปดว้ ยจะพฒั นาทีจ่ ะเลียนแบบตวั ละครทต่ี น
ชอบหรอื ตัวละครทีป่ ระสบผลสาเรจ็ และยงั พบว่า เนื้อเรื่องในนทิ านถ้าเปน็ เรื่องไกลความจรงิ จะให้ผลดีตอ่ ความคดิ ของเดก็

Moon (2005, p. 1629) ไดศ้ กึ ษารปู แบบการสอนของครูในชน้ั เรียนอนุบาลท่ีมเี ด็กหลากหลาย
ภาษา โดยใช้วธิ ีการเลน่ เพือ่ สง่ เสรมิ การเรียนรูด้ า้ นภาษา การวจิ ยั ครงั้ น้ี เป็นการสารวจท้งั ความเช่อื ของครูในเรอื่ งเก่ียวกับการใช้
วธิ ีการเล่นบทบาทสมมติและสารวจรูปแบบการสอนของครู โดยใช้วธิ ีการเลน่ เพือ่ ส่งเสริมการเรยี นรู้ดา้ นภาษาในช้ันเรียนทีม่ ีเดก็
หลากหลายภาษาเพือ่ ให้บรรลุผลในการสารวจรปู แบบการสอนของครู โดยใชว้ ธิ ีการเล่นบทบาทสมมติเพอ่ื ส่งเสริมการเรียนร้ดู ้าน
ภาษาในชนั้ เรยี นทมี่ ีเด็กหลากหลายภาษา ผวู้ ิจยั เลือกใช้วิธวี ิจัยเชิงคณุ ภาพเพอ่ื รวบรวมโดยการสมั ภาษณ์การสนทนาอยา่ งไม่เป็น
ทางการ การสังเกตรวมท้งั การจดบันทกึ ยอ้ นหลงั ของครู ครูมคี วามเชอื่ วา่ การเล่นสามารถนามาใชเ้ ป็นสื่อทีด่ ีในการสอนเด็กท่เี รียนรู้
ภาษาอังกฤษซึ่งพูด ไมค่ ลอ่ ง การเล่นช่วยใหพ้ วกเขาได้ผ่อนคลาย และอยู่ในส่ิงแวดลอ้ มทใ่ี ห้ความรสู้ กึ สบายซงึ่ งา่ ยต่อการฝกึ ฝน
ภาษาใหม่ โดยไมต่ อ้ งกังวลวา่ จะผดิ พลาดผลการวิจัยพบวา่ เมือ่ ครูมคี วามเชอื่ วา่ การเลน่ มีบทบาทสาคญั ต่อการเรยี นรแู้ ละ
พฒั นาการของเด็ก ครกู จ็ ะใชก้ จิ กรรมการเล่นเป็นสอ่ื หลักในการสอนและการเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะทางภาษาของเดก็ ท่เี รยี น
ภาษาองั กฤษเป็นภาษาที่สอง

11. วิธีดาเนินการวจิ ัย

11.1เครื่องมอื ทีใ่ ชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูล
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั ครั้งน้ี ไดแ้ ก่

1. แผนการจดั ประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมติประกอบการเลา่ นิทาน เพือ่ เสริมสร้างความสามารถ
ทางด้านภาษาและการกล้าแสดงออก ของเดก็ ปฐมวัย จานวน 30 แผน

2. นทิ านที่ใชป้ ระกอบการแสดงบทบาทสมมติเพื่อเสริมสรา้ งความสามารถด้านภาษาและการกล้าแสดงออก
ของเด็กปฐมวยั จานวน 10 เร่ือง ไดแ้ ก่ 1) นิทานเรอื่ ง กกุ๊ กิ๊กไม่สบาย 2) นิทานเร่ืองกระรอกนอ้ ยไม่มรี ะเบยี บ 3) นทิ านเรอ่ื งลูกหมู
สามตวั 4) นิทานเรอ่ื งตลาดสดใกลบ้ ้าน 5) นิทานเรอื่ งเจ้าโตง้ กบั ดวงอาทติ ย์ 6) นิทานเรื่องสิงโต หมาจง้ิ จอกและสัตวป์ า่ 7) นิทาน
เร่อื งคนเกยี จคร้านทา่ นา 8) นิทานเร่อื งมดกบั ตัก๊ แตน 9) นทิ านเร่ืองหัวผักกาดยักษ์ 10) นทิ านเรอื่ งหมกี บั นักเดินทาง

3. แบบทดสอบวัดความสามารถในดา้ นภาษา เป็นแบบข้อคาถาม ที่เป็นรปู ภาพเสมือนจริง รวมทัง้ ส้นิ 20 ข้อ

4. แบบประเมินพฤติกรรมการกล้าแสดงออก มีลักษณะเป็นข้อคาถามที่เด็ก สามารถแสดงพฤตกิ รรมเชิงบวก
จานวน 10 ขอ้ มีการแสดงออก 5 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การกลา้ แสดงออกทางวาจา, การกล้าแสดงออกทางทา่ ทาง, การกล้าทากจิ กรรม
และ ลองทาส่ิงใหม่ๆ, การกล้าแสดงออกถงึ ความเปน็ ผนู้ า, และมีความภาคภูมิใจในตนเอง ความเหมาะสมเป็น 3 ระดบั คอื ดี
ระดบั คณุ ภาพ 3 ระดบั คณุ ภาพ 2 น้อย ระดบั คณุ ภาพ 1

11.2 การสรา้ งเคร่ืองมือ
1.จัดทาแผนการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเล่านทิ านเพือ่ เสริมสร้างความสามารถ

ดา้ นภาษาและการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย
2.การสร้างแบบประเมนิ วัดความสามารถทางด้านภาษา

11.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ในการวจิ ยั ครัง้ น้ีผวู้ จิ ยั ใชว้ ธิ วี จิ ัยเชิงทดลอง (Pre-Experimental Design) มีรปู แบบดาเนนิ การทดลองคือมกี ลมุ่

ทดลองกลุ่มเดยี ว มกี ารวดั ก่อนการทดลอง 1 ครงั้ และวัดหลังการทดลอง 1 ครง้ั ได้ดาเนนิ การทดลอง One Group Pretest-
Posttest Design (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, หน้า 248-249) มีแบบแผนดงั ตาราง 5
ตาราง 5 แบบแผนการทดลอง One Group Pre-test Post-test Design

ระยะเวลาในการทดลอง ผู้วิจยั ได้ดาเนินการทดลองในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2559 โดยจดั ประสบการณ์
ท้งั หมด 30 แผน ใชเ้ วลา 15 ชว่ั โมง ระยะเวลาตง้ั แต่ วันท่ี 17 ตลุ าคม-23 ธันวาคม 2559 ท้ังนีไ้ ม่รวมเวลาท่ใี ชใ้ นการทดสอบวัด
ความสามารถ ทางดา้ นภาษา กอ่ นเรียนและหลงั เรยี น ในการวจิ ัยคร้งั นผ้ี ู้วจิ ยั ได้ดาเนินการเกบ็ รวบรวม ข้อมูลดว้ ยตนเอง โดยทา

การทดลองกับกลมุ่ ตัวอย่าง คือ เด็กในศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ วัดศรีสวาท บา้ นคาไฮ ตาบลหาดแพง อาเภอศรสี งคราม จังหวัด
นครพนม สงั กดั เทศบาล ตาบลหาดแพง จานวน 20 คน โดย ดาเนินการตามข้ันตอน ดังนี้

1. ประเมนิ ผลก่อนเรียน (Pretest) โดยนาแบบทดสอบวัดความสามารถ ทางด้านภาษาในด้านการฟังและการ
พูดของเดก็ ปฐมวัย ทผี่ วู้ ิจัยสรา้ งขน้ึ ให้เด็กทดสอบแล้ว บันทกึ คะแนนเก็บไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น (Posttest)

2.ดาเนนิ การทดลองตามแผนการจดั ประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมติ ประกอบการเลา่ นิทานเพื่อ
เสรมิ สร้างความสามารถทางดา้ นภาษาและการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย ปกี ารศกึ ษา 2559 สปั ดาหล์ ะ 3 วันๆ ละ 1 คร้งั ๆ ละ
30 นาที รวมท้ังสนิ้ 30 ครัง้ 15 ชว่ั โมง และในช่วงดาเนินการทดลองมกี ารประเมินผลพฤติกรรมการกลา้ แสดงออก แบบประเมินมี
ลกั ษณะเปน็ ข้อคาถามทน่ี ักเรยี นสามารถแสดงพฤตกิ รรมเชงิ บวก จานวน 10 ขอ้ เด็กมพี ฤตกิ รรมการแสดงออก 5 ลักษณะ ได้แก่
กลา้ แสดงออกทางวาจา ดว้ ยความมั่นใจ, กล้าแสดงออกทางทา่ ทางดว้ ยความมนั่ ใจ, กล้าทากจิ กรรมและลองทาสง่ิ ใหมๆ่ , กล้า
แสดงออกถงึ ความเป็นผนู้ า, และมคี วามภาคภมู ิใจในตนเอง มีการจัดระดับคุณภาพความเหมาะสมเป็น 3 ระดบั คอื ดี ปานกลาง
นอ้ ย ซ่ึงเกณฑใ์ ห้คะแนนเป็น 3 2 1 ตามลาดบั

3.เม่อื สิน้ สดุ การทดลอง ทาการประเมินผลหลังเรียน (Posttest) ดว้ ยแบบทดสอบวดั ความสามารถทางดา้ น
ภาษาของเดก็ ปฐมวยั ผวู้ จิ ัยสรา้ งขึน้ ฉบับเดยี วกบั แบบทดสอบก่อนเรียน (Pretest)

4. นา่ ผลทไ่ี ด้จากการทดสอบไปวิเคราะหต์ ามวธิ กี ารทางสถติ ิ เพ่ือทดสอบสมมตฐิ านและสรุปผลการวิจยั ตอ่ ไป
11.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลในการวจิ ยั ครง้ั นี้ ผวู้ ิจัยวิเคราะหข์ ้อมลู เชงิ ปรมิ าณ และเชงิ คุณภาพ ดังน้ี
1. ข้อมลู เชิงปริมาณ

วเิ คราะหข์ อ้ มูลดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูป โดยดาเนินการ ดงั นี้
1.1 การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือกอ่ นนามาใชก้ ับกลมุ่ ตัวอยา่ ง
1.1.1 การตรวจสอบคุณภาพของการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติ

ประกอบการเล่านทิ านเพ่อื เสรมิ สร้างความสามารถด้านภาษาและการกลา้ แสดงออกของเด็กปฐมวยั โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 5
ทา่ น ใช้แบบประเมนิ การจัดประสบการณก์ ิจกรรมเสริมประสบการณ์ เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั
ตามลเิ คอร์ท (Likert't Scale)

1.1.2 การตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบวัดความสามารถทางดา้ นภาษา
ดาเนินการ ดังน้ี

1.1.2.1 ตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity) โดย
พจิ ารณาจากค่าดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อสอบแต่ละขอ้ กับตัวช้ีวัด

1.1.2.2 วิเคราะห์หาคา่ ระดบั ความยากง่าย (p) และคา่ อานาจจาแนก
(r)

1.1.2.3 วิเคราะห์หาค่าความเชอื่ ม่ันแบบทดสอบท้ังฉบับโดยใช้สูตร

ของ คเู ลอร์ รชิ าร์ดสนั (Kuder-Richardson)
1.1.2.4 ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินพฤติกรรมการกลา้

แสดงออกโดยตรวจสอบความเทย่ี งตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity) พจิ ารณาจากค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) ระหว่างขอ้ คE
ถาม ดบั พฤตกิ รรมความคดิ เหน็ ทต่ี ้องการวดั

1.1.2.5 วิเคราะห์หาค่าความเชอ่ื มน่ั โดยใชส้ ตู รสัมประสทิ ธ์ิ แอลฟา
ของครอนบาค (Cronbach)

1.2 การวิเคราะหข์ ้อมูลเพอื่ ทดสอบสมมติฐานการวจิ ัย
1.2.1 วเิ คราะห์เปรียบเทยี บความสามารถทางดา้ นภาษา ของเดก็

ปฐมวัยกอ่ นเรยี นและหลงั เรียนดว้ ยการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติ ประกอบการเล่านิทานเพอ่ื เสริมสร้าง
ความสามารถทางดา้ นภาษาและการกล้าแสดงออก ของเดก็ ปฐมวยั โดยใช้การทดสอบคา่ ท่แี บบสองกลมุ่ ไมอ่ สิ ระกนั (t-test แบบ
Dependent Samples)

1.2.2 วเิ คราะห์การกลา้ แสดงออกของเดก็ ปฐมวัยท่เี รยี น ด้วยการจัด
ประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเลา่ นทิ านเพื่อเสริมสรา้ ง ความสามารถทางดา้ นภาษาและการกล้าแสดงออกของ
เดก็ ปฐมวัย เป็นการหาค่าเฉลี่ย แล้วเปรียบเทยี บกับเกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการกลา้ แสดงออก (เมตตา บุญยะศรี 2552, หนา้
53)

มาก ระดบั คะแนนเฉล่ีย 2.51-3.00
ปานกลาง ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50
น้อย ระดบั คะแนนเฉลีย่ 1.00-1.50
2. ข้อมลู เชงิ คุณภาพ การนาเสนอข้อมลู เชงิ คณุ ภาพในงานวจิ ยั คร้งั นี้ ผู้วิจัยใชก้ ารสังเกต สมั ภาษณ์ เพื่อสรุป
และวเิ คราะหข์ ้อมลู จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรูข้ องเดก็ ปฐมวยั ในขณะปฏิบตั ิกิจกรรม การดาเนินการจัดประสบการณ์
การแสดงบทบาทสมมติประกอบการ เลา่ นิทานเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางด้านภาษาและการกลา้ แสดงออกของเดก็ ปฐมวยั
ดงั นี้
2.1 ด้านการฟงั
2.2 ดา้ นการพดู
2.3 ดา้ นสังคม และกระบวนการกลมุ่
2.4 ด้านการกล้าแสดงออก
11.5สถติ ทิ ีใ่ ช้วิเคราะหข์ ้อมลู





12.ผลการวจิ ยั







13. สรุปผลการวิจัย

1. ความสามารถทางดา้ นภาษาของเด็กปฐมวัย มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เทา่ กับ มสี ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.25 มี
คะแนนเฉลย่ี หลังเรียน เท่ากับ 17.00 มีส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เท่ากับ 1.27 ผลการทดสอบความแตกต่างระหว่างก่อนเรยี น และ
หลังเรยี น จากการจดั ประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเล่านิทานเพอ่ื เสริมสร้างความสามารถทางดา้ นภาษาและ
การกลา้ แสดงออกของเด็กปฐมวยั พบว่าความสามารถทางด้านภาษา หลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั
.01

2. การกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัยทีเ่ รียนดว้ ยการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านทิ านเพอ่ื
เสริมสรา้ งความสามารถทางด้านภาษาและ การกล้าแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย มีคา่ เฉล่ีย เทา่ กบั 2.77 มสี ว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 0.43 อยู่ในระดบั มาก

14. อภิปรายผล

จากผลการวิจัยการจัดประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเลา่ นทิ านเพื่อเสรมิ สรา้ งความสามารถทางดา้ น
ภาษาและการกลา้ แสดงออกของเดก็ ปฐมวัย ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวดั ศรสี วาท บ้านคาไฮ ตาบลหาดแพง อาเภอศรีสงคราม จงั หวดั
นครพนม สังกดั เทศบาลตาบลหาดแพง ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2559 จานวน 20 คน สามารถอภิปรายผลไดด้ งั น้ี

1. ความสามารถทางด้านภาษาของเด็กปฐมวัย ทเี่ รยี นด้วยการจดั ประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเลา่
นิทานเพอ่ื เสรมิ สร้างความสามารถ ทางด้านภาษาและการกล้าแสดงออก หลงั เรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติ ท่ี
ระดับ .01 แสดงว่าการจดั ประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทาน เพ่ือเสริมสร้างความสามารถทางดา้ นภาษา
และการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย ทาให้ เด็กปฐมวัยมีความสามารถในด้านภาษาสูงขึ้นตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ซงึ่ เป็นไปตาม
สมมติฐานท่ตี ง้ั ไว้ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ นนั ทพร ศกั ดิเ์ ทวนิ ทร์ (2545, หน้า 89) ได้ศกึ ษาการสอน ฟัง-พูด ภาษาองั กฤษโดย
ใช้หนังสอื ภาพประกอบนิทาน ผลการวิจัย พบวา่ ผู้เรยี นมีความรู้ดา้ นทกั ษะการฟัง-พดู ภาษาอังกฤษ เพิม่ ข้ึน หลงั เรยี นด้วยหนังสือ
ภาพประกอบนทิ านคดิ เป็นร้อยละ 87 และมีความคงทนในการเรยี นร้ดู า้ นทกั ษะการฟงั -พูด ภาษาองั กฤษหลังการใช้หนงั สอื
ภาพประกอบนิทานผ่านไปแล้ว 2 สปั ดาห์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.43 อีกทง้ั สอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของ สนอง สุทธาอามาตย์ (2545,
หนา้ 49) ที่ได้วิจยั เร่อื ง ความสามารถดา้ นการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจดั กิจกรรมเสริม ประสบการณโ์ ดยการ
ประกอบอาหาร ผลการศึกษาพบวา่ 1) มีความสามารถด้านการฟัง จาแนกเสยี งและการเขา้ ใจความหมายของคาคา่ เฉลี่ยคะแนนมี
ค่าสงู ขน้ึ 2) มคี วามสามารถ ดา้ นการพูด คือ การบอกชอื่ สิง่ ของและการเล่าเร่ือง ค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงข้นึ และ 3) ความสามารถ
ทางภาษาด้านการฟงั และการพดู ของเดก็ ปฐมวัยก่อนและหลงั การจัด ประสบการณ์ มพี ฒั นาการทั้งทางภาษาด้านการฟังและการ
พดู สูงขึน้ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ อรัญญา เพิ่มพีรพฒั น์ (2548, บทคดั ย่อ) ที่ได้ศึกษาความสามารถทางด้านภาษาของ เดก็
ปฐมวัยที่ใชน้ ทิ านพ้ืนบ้านเปน็ สอื่ เสริมประสบการณ์ ผลการศกึ ษาพบวา่ ความสามารถ ทางภาษาของเด็กปฐมวัยในดา้ นการฟงั
การพดู การอ่าน และการเขียน สงู กว่าก่อนการจัด ประสบการณ์ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01 ทุกด้าน โดยค่าเฉลย่ี และ
ค่าความ เบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนแบบทดสอบวดั ความสามารถทางภาษา ดา้ นการพดู โดยภาพรวมหลงั การจัดประสบการณ์
ที่มีค่าเทา่ กับ 8.12 และ 0.77 ตามลาดับ และสอดคลอ้ งกับ อนงค์ หมน่ื สา (2553, หนา้ 77) ได้ศกึ ษาการจดั กจิ กรรมเสรมิ
ประสบการณโ์ ดยใชห้ นงั สอื นทิ านที่มีผลตอ่ พฤติกรรมการฟงั และการพูดของเด็กปฐมวัย ผลการศึกษาพบว่า 1) ดัชนีประสิทธผิ ล
ของการจดั กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณโ์ ดยใช้ หนังสอื นิทานพนื้ บ้านอสี านประกอบภาพของเด็กปฐมวยั มคี า่ เทา่ กับ 0.76 หรือคิด
เปน็ รอ้ ยละ 76 ซ่ึงแสดงหนงั สือนิทานพน้ื บ้านอีสานประกอบภาพของเดก็ ปฐมวัย ท่ีผ้วู ิจยั สรา้ งขนึ้ ทาให้นักเรยี นมีพฤตกิ รรมการ
ฟังและการพดู ดขี น้ึ จากกอ่ นการจัดกิจกรรม คิดเป็น รอ้ ยละ 76 เดก็ และ 2) ปฐมวัยท่ีได้รบั การจดั กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์จาก
การเรียน หนังสือนิทานพ้ืนบา้ นอสี านแลว้ มีพฤติกรรมการฟงั และการพูดหลงั จากการจดั กจิ กรรม สูงกวา่ ก่อนจัดกิจกรรม อยา่ งมี
นยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .01 และยังสอดคล้องกบั Harvey (2002, p. 1252-4) ทไ่ี ด้ทาการศกึ ษาเชิงผลกระทบของการใช้หนงั สือ

นทิ าน ทบ่ี ันทึกเสียงไว้ ท่มี ีต่อการรแู้ ละแสดงออก เสยี งคาศพั ทเ์ พิ่มขึน้ และท่แี สดงออกอย่างมี นัยสาคัญ เดก็ ที่ทาคะแนนได้ตา่
ทีส่ ดุ ในระหวา่ งการทดสอบก่อนเรยี น ครง้ั แรกมปี ระสบการณ์ ทไี่ ด้ประโยชน์มากท่ีสดุ หลังการทดลอง ถึงแม้วา่ ความถี่ท่กี ลุม่ ทดลอง
ได้ฟงั หนังสอื บันทกึ เสียง จะมคี วามสัมพนั ธ์กบั จานวนคาศพั ท์ทร่ี บั ร้เู พมิ่ ขนึ้ แตไ่ ม่มคี วามสัมพันธ์ ดังกล่าวเก่ยี วกบั การพัฒนา
คาศัพทท์ ีแ่ สดงออกและผูป้ กครองของเดก็ กลมุ่ ทดลอง รายงานเด็กของตนว่า มคี วามสุขในการฟงั หนงั สอื บันทึกเสียงเปน็ อย่างมาก

2. การกลา้ แสดงออกของเด็กปฐมวัย ระหวา่ งการจัดประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบการเล่านิทานเพอ่ื
เสรมิ สร้างความสามารถทางดา้ นภาษา และการกลา้ แสดงออกของเด็กปฐมวยั มคี ่าเทา่ กับ 2.77 อย่ใู นระดบั มาก เปน็ การจัด
กิจกรรมท่ดี ี และมีคุณคา่ เดก็ ปฐมวยั มีความสนใจ ชื่นชอบ กระตือรือร้นในการแสดงออก และร่วมกจิ กรรมดังกล่าวดว้ ยความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งผลให้เด็กกล้าทจ่ี ะตอบคาถาม เลา่ เรอ่ื งราวส้ันๆ แตง่ ประโยคส้นั ๆ ได้ และแสดงบทบาทสมมติ
ประกอบการเลา่ นทิ านได้ อย่างราบรนื่ ตอ่ เนื่อง สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ สุภา พ่งึ บุญ (2553, หน้า 114) ท่ไี ดศ้ ึกษาเรอ่ื งการ
เปรยี บเทยี บความสามารถทางภาษา และความเชื่อมน่ั ในตนเองของเดก็ ปฐมวัยท่ี ไดร้ บั การจัดประสบการณ์ การสอนภาษาแบบ
ธรรมชาตกิ บั แบบฮารท์ ส ผลการวจิ ัยพบวา่ มนี ยั สาคญั ที่ระดับ .01 น้นั เป็นไปได้ที่คะแนนความสามารถทางภาษาและความ
เช่ือมน่ั ใน ตนเอง โดยเฉลี่ยของเดก็ ปฐมวัยทไ่ี ด้รับการจัดประสบการณก์ ารสอนภาษาแบบธรรมชาติ กับแบบฮาร์ทส จะแตกต่างกัน
และสอดคล้องกับ ประภาพร วงั สุรีย์ และกาญจนา ดรบุราณ (2555, บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการวจิ ยั เรอ่ื งการจดั ประสบการณแ์ บบ
โครงการเพื่อพัฒนา พฤตกิ รรมความเปน็ ผูน้ าดา้ นการกล้าแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย ผลการวิจัยพบวา่ เด็กปฐมวยั ทไี่ ดร้ บั การจดั
ประสบการณ์แบบโครงการเพือ่ พฒั นาความเป็นผ้นู า ดา้ นการกลา้ แสดงออก พบวา่ หลังจากการจัดประสบการณแ์ บบโครงการเด็ก

ปฐมวยั มีพฤติกรรมความเป็นผ้นู าดา้ นการกล้าแสดงออกสูงกว่าก่อนทดลอง คิดเป็นร้อยละ 94 ( ̅= 1.89, S.D. = 0.2) แสดงว่า
การจดั ประสบการณ์แบบโครงการมผี ลตอ่ พฤติกรรม ความเป็นผูน้ าด้านการกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างดี สอดคล้องกับ
รัมภาพิศ ปตี ิมล (2547, บทคดั ย่อ) ไดว้ ิจัยเรือ่ งการใช้กจิ กรรมบทบาทสมมตแิ บบกึ่งชี้แนะ เพ่อื ส่งเสริมความเชือ่ มน่ั ด้านการกล้า
แสดงออกของเด็กปฐมวัย ผลการศกึ ษาพบว่า 1) เดก็ ปฐมวัยท่ไี ด้รับการจดั กิจกรรมบทบาทสมมติแบบกึง่ ชแี้ นะมีความเชอื่ ม่นั ด้าน
การกลา้ แสดงออกสงู ข้นึ และ 2) พฤตกิ รรมความเชื่อมัน่ ดา้ นการกลา้ แสดงออก ของเดก็ ปฐมวัยก่อนและหลงั การทดลองแตกตา่ ง
กนั อย่างมีนัยสาคัญที่ระดบั .01 โดยหลังการทดลองมคี ะแนนความเช่อื ม่ันด้านการกลา้ แสดงออกสูงกวา่ ก่อนการทดลอง ซ่ึง
สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ Mussen (1969, p. 261 อ้างอิงใน แสงเดอื น จธู ารี, 2546, หน้า 45) ได้ทาการศึกษาพบวา่ พอ่ แมท่ ี่ให้
โอกาสและไดร้ ับการสนบั สนุนความต้องการอยากรอู้ ยากเหน็ จะทาใหเ้ ด็กมคี วามรู้สกึ เป็นตัวของตัวเอง พง่ึ ตนเองได้ มคี วามคิด
สร้างสรรค์ กลา้ คดิ กลา้ ตัดสนิ ใจ กลา้ พดู กลา้ แสดงออก สามารถเผชิญสถานการณใ์ หม่ โดยไม่วิตกกังวล และมีความสามารถดา้ น
ความเชอื่ ม่นั และการกล้าแสดงออกในตนเอง และยงั สอดคลอ้ งกบั Yun (2003, p. 67) ท่ไี ด้ศึกษาเด็ก 4 กล่มุ ที่ได้รบั การเล่านทิ าน
ให้ฟงั โดยแตล่ ะกลุ่มหลังจากที่ไดฟ้ งั นทิ านแล้วมีการสนทนา หรอื พากันไปศึกษานอกสถานท่ี หรอื แสดงบทบาทเลยี นแบบตัวละคร
และอกี กลุม่ เป็นการควบคุม ผลการทดลองพบว่า ในการฟังนทิ านนั้น ถา้ เดก็ ได้แสดงบทบาทเลียนแบบตัวละครในเรอ่ื งไปด้วย จะ
พฒั นาการท่เี ลียนแบบตัวละครทีต่ นชอบ หรอื ตัวละครทป่ี ระสบผลสาเรจ็ และยังพบว่า เนอื้ เร่อื งใน นทิ านถ้าเปน็ เป็นเร่อื งไกลความ
จริงจะให้ผลดีต่อความคดิ ของเด็ก

15.ข้อเสนอแนะงานวิจยั

1. ข้อเสนอแนะทวั่ ไป
1.1 การจัดประสบการณก์ ารแสดงบทบาทสมมติประกอบการเลา่ นิทาน เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความสามารถทางด้านภาษาและ
การกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัย ครูผ้จู ัดประสบการณค์ วรศึกษาหลกั การทฤษฎี ให้ละเอยี ดเพอื่ ท่ีเดก็ จะไดร้ ับประสบการณ์ ที่
หลากหลายและสามารถเกิดการเรยี นรูท้ ่ถี กู ต้องตามหลักการพัฒนาการในแตล่ ะชว่ งวยั ซ่ึงจะสง่ ผลตอ่ พัฒนาการเด็ก
1.2 การจดั ประสบการณ์ในแตล่ ะแผนการจัดประสบการณ์ ครคู วรจัดทงั้ กิจกรรมรายบคุ คลเพ่อื สง่ เสริมการพัฒนาเดก็
ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล และกิจกรรมกลมุ่ เพอ่ื สร้างความสามคั คีและยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อน่ื และเปดิ โอกาสใหเ้ ด็ก
ไดแ้ สดงออกทุกคน
1.3 การนาแผนการจดั ประสบการณ์ไปใช้ ควรมีการยืดหยนุ่ เวลา และปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกบั วัยและพฒั นาการของ
เด็กแตล่ ะช่วงวัย เพอ่ื ให้การจัด ประสบการณบ์ รรลผุ ลสงู สุดสามารถทาให้เด็กเกดิ การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพต่อไป
2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอ่ ไป
2.1 ควรมีการพฒั นาความสามารถทางภาษาดา้ นการฟงั และการพดู และการกล้าแสดงออกของเดก็ ปฐมวัยโดยการจัด
ประสบการณ์การแสดงบทบาทสมมติ ประกอบการเลา่ นทิ าน ควรจัดให้ครบท้ัง 6 กจิ กรรมหลักของการจัดประสบการณ์ เพื่อให้
พฒั นาการด้านการฟงั และพดู และการกลา้ แสดงออกบรรลผุ ลย่งิ ขนึ้ และหาข้อสรุปผล การศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางย่ิงขนึ้
2.2 การใหค้ ะแนนระหวา่ งผสู้ ังเกต 2 คน ควรจะมกี ารพดู คุยกันถงึ ปัญหา ท่เี กิดข้ึน
2.3 การสร้างเคร่ืองมือการประเมนิ เดก็ ปฐมวัย ควรเป็นเคร่ืองมือท่ีใกลต้ วั เด็ก หรอื เกีย่ วข้องกบั ชวี ิตประจาวัน


Click to View FlipBook Version