42 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชไร่อื่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่า 2. ชื่อโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยคั้นน้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ 3. ชื่อกิจกรรม การพัฒนาและคัดเลือกพันธุ์อ้อยคั้นน้ำในเขตชลประทาน 4. ชื่อการทดลอง การผสมพันธุ์อ้อยคั้นน้ำในเขตชลประทาน 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ปิยธิดา อินทร์สุข ผู้ร่วมงาน วาสนา วันดี อุดมศักดิ์ ดวนมีสุข มานิตย์ สุขนิมิตร ศรัณย์รัตน์ สุวรรณพงษ์ 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2565 7. บทคัดย่อ งานผสมพันธุ์อ้อยคั้นน้ำในเขตชลประทาน มีวัตถุประสงค์เพื่อการรวบรวมพันธุ์อ้อยจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนำมาคัดเลือกหาอ้อยที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการเป็นอ้อยบริโภคสด ซึ่งโคลนอ้อยที่ใช้สำหรับบริโภคสด ต้องมีคุณสมบัติดังนี้น้ำอ้อยสดมีสีเหลืองอมเขียว รสชาติหวาน มีกลิ่นหอม สีน้ำอ้อยจะไม่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลคล้ำ เมื่อทิ้งไว้ในตู้เย็นเกินกว่า 3 วัน ในการทดลองนี้ได้ดำเนินการปลูกพ่อแม่พันธุ์อ้อยคั้นน้ำ เมื่อวันที่ 20-21 มกราคม 2565 ที่ไร่เกษตรกร อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี พื้นที่ 1 ไร่ จำนวน 41 โคลน ทำการผสมเปิด แล้วนำเมล็ด มาเพาะเป็นต้นกล้า ได้ต้นกล้าอ้อยทั้งหมด 3,706 ต้น เพื่อนำลงแปลงปลูกคัดเลือกต่อไป 8. คำหลัก : พ่อแม่พันธุ์ อ้อยคั้นน้ำ 9. ประเภทผลวิจัย : สิ้นสุด 10. คำแนะนำผลวิจัย : ถ่ายทอดได้ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 92,108 บาท
43 แบบเสนอแผนปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อโครงการ วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชไร่อื่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่า 2. ชื่อโครงการย่อย วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชไร่เฉพาะกลุ่ม (อ้อย อาหารสัตว์ ข้าวฟ่าง) เพื่อผลผลิต และคุณค่าทางโภชนาการ 3. ชื่อกิจกรรม วิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวฟ่างเพื่อผลผลิตและคุณภาพ 4. ชื่อการทดลอง การรวบรวมพันธุ์และศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ข้าวฟ่าง 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า สมบูรณ์ วันดี ผู้ร่วมงาน ปิยธิดา อินทร์สุข กาญจนา หนูแก้ว สุจิตรา พิกุลทอง ณรงค์ ย้อนใจทัน รำพัน จงใจรักษ์ 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า ดำเนินการรวบรวมพันธุ์ข้าวฟ่างภายในประเทศ ทั้งหมด 22 สายพันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์ข้าวฟ่างเมล็ด จำนวน 11 สายพันธุ์ สายพันธุ์ข้าวฟ่างหวาน จำนวน 8 สายพันธุ์ สายพันธุ์ข้าวฟ่างไม้กวาด จำนวน 1 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ข้าวฟ่างอื่น ๆ จำนวน 2 สายพันธุ์ เพื่อศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และคัดเลือกให้ได้สายพันธุ์แท้ มีความบริสุทธิ์ตรงตามสายพันธุ์ พบว่า มีข้าวฟ่างเมล็ด จำนวน 11 สายพันธุ์ ให้ผลผลิตเมล็ดอยู่ระหว่าง 540 - 943 กิโลกรัมต่อไร่ ความสูงต้นอยู่ระหว่าง 1.30 - 2.51 เซนติเมตร อายุเก็บเกี่ยวเฉลี่ย 91 วัน ข้าวฟ่างมี เมล็ดสีขาวและแดง ขนาดเมล็ดมีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ มีน้ำหนัก 1,000 เมล็ด อยู่ระหว่าง 21.02 - 39.53 กรัม และมีข้าวฟ่างหวาน จำนวน 8 สายพันธุ์ ให้ผลผลิตเมล็ดอยู่ระหว่าง 375 - 525 กิโลกรัมต่อไร่ ความสูงต้น อยู่ระหว่าง 1.83 - 2.89 เซนติเมตร อายุเก็บเกี่ยวเฉลี่ย 102 วัน ข้าวฟ่างมีเมล็ดสีขาวและน้ำตาลแดง ขนาดเมล็ดมีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ มีน้ำหนัก 1,000 เมล็ด อยู่ระหว่าง 18.01 - 22.80 กรัม 8. คำหลัก : ข้าวฟ่างเมล็ด, ข้าวฟ่างหวาน, ข้าวฟ่างไม้กวาด, ข้าวฟ่างอื่น 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด : 35,655 บาท
Table 1 Agronomic characters and grain yield of pure line sorghums froCenter, early rainy season, 2022 No Varieties agronomic chaPlant height (cm) Days to Tass Number of leaves per plan Stem length (cm) Boulengt1 Suphanburi 2 173 60 15 3 22 DA80 147 60 11 15 23 DA5 165 60 12 6 24 DA1 150 60 12 11 25 Hegari 251 60 15 2.5 26 Late Hegari 245 70 16 1 27 Suphanburi 60 123 60 11 8 28 KU 630 145 56 11 11 39 KU 439 168 68 10 10 210 KU 804 130 60 10 12 211 KU 902 145 60 10 12 212 Sawan 282 71 13 15 213 BJ 248 248 75 12 30 114 Rio 248 75 13 17 215 KKU 40 272 75 13 20 216 Keller 289 75 12 21 217 Suphanburi 1 260 70 11 17 2
44 om the collection and selection at Suphan Buri Field Crops Research aracters Yield (kg/rai) Type uquet h (cm) Weight 1,000 seeds (g) Seed color Days to harvest 5 39.53 white 90 943 Seed 3 25.2 white 90 846 Seed 8 21.02 white 90 812 Seed 3 24.67 white 90 545 Seed 1 29.29 white 90 920 Seed 1 24.91 white 100 560 Seed 6 23.93 red 90 550 Seed 0 28 red 86 825 Seed 6 28.2 white 98 854 Seed 4 28.3 white 90 885 Seed 9 29 red 90 900 Seed 1 18.6 brown 101 375 sweet sorghum 5 19.44 brown 105 480 sweet sorghum 3 22.8 white 105 525 sweet sorghum 1 18.25 brown 105 445 sweet sorghum 3 18.5 brown 105 460 sweet sorghum 5 20.61 brown 100 490 sweet sorghum 44
Table 1 (Cont.) No Varieties agronomic chaPlant height (cm) Days to Tass Number of leaves per plan Stem length (cm) Boulengt18 Wray 1.83 70 6 30 319 Cowley 213 70 10 20 220 Ruangreiw 175 50 10 11 421 Kinnaree 1 135 54 10 12 222 Kinnaree 2 149 58 10 12 3
45 aracters Yield (kg/rai) Type uquet h (cm) Weight 1,000 seeds (g) Seed color Days to harvest 6 18.01 brown 100 450 sweet sorghum 4 18.78 brown 100 466 sweet sorghum 7 - brown 80 132 broom sorghum 1 - yollow 84 250 0 - Brown-black 88 260 45
46 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชไร่อื่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่า 2. ชื่อโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชไร่เฉพาะกลุ่ม (อ้อย อาหารสัตว์ ข้าวฟ่าง) เพื่อผลผลิต และคุณค่าทางโภชนาการ 3. ชื่อกิจกรรม วิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวฟ่างเพื่อผลผลิตและคุณภาพ 4. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวฟ่างหวานเพื่อผลผลิตและคุณภาพสูง 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า สุวัฒน์ พูลพาน ผู้ร่วมงาน สมบูรณ วันดี อาภาพร หนูแดง กนกวรรณ สุขกรม ศันสนีย์ หลิมย่านกวย 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2566 7. รายงานความก้าวหน้า การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพันธุ์ข้าวฟ่างหวานที่มีศักยภาพที่ให้ผลผลิต น้ำคั้นและมีความหวานสูง สำหรับเสนอเป็นพันธุ์แนะนำต่อไป ข้าวฟ่างหวานจากขั้นตอนการเปรียบเทียบ พันธุ์ท้องถิ่น ปี 2560-2561 จำนวน 4 สายพันธุ์ได้แก่ CB5 CB7 CB14 และ CB23 และพันธุ์เปรียบเทียบ 3 พันธุ์ ได้แก่ Cowley Keller และ Wray ดำเนินการปลูก ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี เดือนกุมภาพันธ์ 2565 จากการทดลอง พบว่า ด้านความสูง CB5 มีความสูงมากที่สุด คือ 298 เซนติเมตร รองลงมา คือ Keller มีความสูง 287 เซนติเมตร ด้านเส้นผ่านศูนย์กลางลำ Wray มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ 1.8 เซนติเมตร ด้านจำนวน ต้นเก็บเกี่ยว สายพันธุ์ CB5, CB23, Cowley และ Wray มีจำนวนต้นเก็บเกี่ยวมากที่สุดเท่ากัน คือ 28,000 ต้นต่อไร่ ด้านน้ำหนักต้นสด Wray มีน้ำหนักมากที่สุด คือ 15,991 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา คือ Keller มีน้ำหนัก 14,338 กิโลกรัมต่อไร่ ด้านปริมาณน้ำคั้น Wray มีค่ามากที่สุด คือ 7,681 ลิตรต่อไร่ และด้าน ความหวาน Wray มีค่ามากที่สุด 19.7 องศาบริกซ์ รองลงมา คือ สายพพันธุ์ CB14 มีค่าความหวาน 19.0 องศาบริกซ์ (Table 1) 8. คำหลัก : ข้าวฟ่างหวาน การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 43,613 บาท
47 Table 1 Agronomic characters of sweet sorghum from the Farmer Yield Trial in 2022 at Suphan Buri Field Crops Research Center. Clones/ Varieties height (cm) Stalk diameter (cm) No. of Stalk (stalk/rai) fresh tree weight (kg/rai) squeezed juice (liter/rai) %brix 1000 seeds weight (g) 1. CB5 298 1.2 28,000 12,880 4620 16.4 22.49 2. CB7 254 1.2 27,333 11,973 2872 18.7 18.95 3. CB14 272 1.1 27,556 11,307 3202 19.0 19.21 4. CB23 276 1.2 28,000 12,293 4760 18.9 16.55 5. Cowley 255 1.1 28,000 11,058 3267 18.0 18.12 6. Keller 287 1.6 26,533 14,338 7605 16.9 17.88 7. Wray 276 1.8 28,000 15,991 7681 19.7 18.14
48 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักสด (โครงการวิจัยเดี่ยว) 2. ชื่อโครงการวิจัย วิจัยปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักสด 3. ชื่อกิจกรรม การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดหวาน 4. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ข้าวโพดหวาน 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า สมบูรณ์ วันดี ผู้ร่วมงาน ฉลอง เกิดศรี กาญจนา หนูแก้ว รำพัน จงใจรักษ์ สุจิตตรา พิกุลทอง ณรงค์ ย้อนใจทัน 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2565 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า เปรียบเทียบศักยภาพการให้ผลผลิตของข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่น S20501 ร่วมกับข้าวโพดหวาน ลูกผสมที่เป็นการค้า จำนวน 7 พันธุ์โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ จำนวน 3 ซ้ำ ปลูกทดสอบในต้นฤดูฝนที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ศูนย์วิจัย พืชไร่ขอนแก่น ศูนย์วิจัยพืชไร่สงขลา และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสตูล ในปี 2565 ผลการทดลอง พบว่า ข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่น S20501 มีศักยภาพในการให้ผลผลิตฝักปอกเปลือกและค่าความหวาน ไม่แตกต่างจากข้าวโพดลูกผสมที่เป็นการค้าที่เกษตรกรนิยมใช้ผลิตสำหรับส่งเข้าโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป โดยให้ผลผลิตฝักทั้งเปลือกเฉลี่ย เท่ากับ 2,747 กิโลกรัมต่อไร่ (Table 1) ให้ผลผลิตฝักปอกเปลือกเฉลี่ย เท่ากับ 1,945 กิโลกรัมต่อไร่ (Table 2) มีค่าความหวานเฉลี่ยเท่ากับ 13.65 องศาบริกซ์(Table 3) 8. คำหลัก : ข้าวโพดหวาน ปรับปรุงพันธุ์ ลูกผสม เปรียบเทียบพันธุ์ ประเมินพันธุ์ 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 70,400 บาท
Table 1 Yield with husk (kgrai-1 ) of 1 elite sweet corn hybrids and 7 commChiang Mai (CM), Chai Nat (CN), Khon Kaen (KK), Songkhla (SK), SuGenotype (G) Environment (E) CM CN KK SK SP STL S20501 3,067+ 3,818+ 1,918+ 3,279+ 2,341+ 2,061+ CN2 3,785 4,067 2,317 3,589 2,699 1,538 Hibrix 59 (HB59) 3,465 4,067 2,557 3,569 2,528 3,276 Hibrix 81 (HB81) 3,664 3,979 2,083 3,589 3,339 1,438 Jumbo Sweet (JBS) 3,241 4,057 2,237 3,652 2,523 1,246 Songkhla (SK84-1) 2,848 3,433 2,477 3,113 2,258 990 SM1351 3,729 4,233 2,678 3,589 3,013 2,069 WAN54 3,417 4,057 2,797 3,901 3,071 2,589 E-mean 3,402 3,964 2,383 3,535 2,721 1,901 CV (%) 5.14 3.79 5.91 3.61 5.25 3.71 + = significant pairwise comparisons of elite hybrids compared with the best* = significant pairwise comparisons compared with checkers at least LSD .0
49 mercial hybrid sweet corn varieties as checkers across 6 locations; uphan Buri (SP), and Satul (STL) in early rainy season of 2022 E-combined (kgrai-1) G mean Different with comparison varieties CN2 HB59 HB81 JBS SK84 SM13 WN54 2,747 -252 -496 -268 -79 228 -471 -558* 2,999 -244 -16 173 480 -219 -306 3,244 228 417 724* 25 -62 3,015 189 496 -203 -290 2,826 307 -392 -479 2,520 -699* -786* 3,219 -87 3,305 2,984 4.72 t checker (bold value) in each environment at least LSD .05 level 05 level 49
Table 2 Yield without husk (kgrai-1 ) of 1 elite sweet corn hybrids and 7 coChiang Mai (CM), Chai Nat (CN), Khon Kaen (KK), Songkhla (SK), SuGenotype (G) Environment (E) CM CN KK SK SP STL S20501 2,137+ 2,739+ 1,438+ 2,185+ 1,716+ 1,454+ CN2 2,785 2,822 1,678 2,407 1,896 1,029 Hibrix 59 (HB59) 2,465 2,905 1,758 2,490 1,763 2,317 Hibrix 81 (HB81) 2,498 2,653 1,518 2,341 2,434 1,012 Jumbo Sweet (JBS) 2,453 2,809 1,039 2,407 1,818 919 Songkhla (SK84-1) 2,169 2,407 1,918 2,241 1,768 684 SM1351 2,590 2,905 2,168 2,341 2,283 1,478 WAN54 2,660 3,121 1,119 2,615 2,274 1,934 E-mean 2,470 2,795 1,579 2,378 1,994 1,353 CV (%) 4.27 3.43 5.84 3.98 4.86 4.11 + = significant pairwise comparisons of elite hybrids compared with the best* = significant pairwise comparisons compared with checkers at least LSD .0
50 ommercial hybrid sweet corn varieties as checkers across 6 locations; phan Buri (SP), and Satul (STL) in early rainy season of 2022 E-combined (kgrai-1) G mean Different with comparison varieties CN2 HB59 HB81 JBS SK84 SM13 WN54 1,945 -158 -338 -131 38 80 -349 -342 2,103 -180 27 196 238 -191 -184 2,283 207 376 419 -11 -4 2,076 169 212 -218 -211 1,907 43 -387 -380 1,864 -430 -423 2,294 7 2,287 2,095 4.40 t checker (bold value) in each environment at least LSD .05 level 05 level 50
Table 3 Sweetness (°Brix) of 1 elite sweet corn hybrids and 7 commerciaChiang Mai (CM), Chai Nat (CN), Khon Kaen (KK), Songkhla (SK), SuGenotype (G) Environment (E) CM CN KK SK SP STL S20501 15.15 10.70+ 14.50+ 14.00+ 14.00+ 13.55 CN2 16.43 9.83 13.00 14.00 12.50 11.15 Hibrix 59 (HB59) 16.45 13.05 14.75 16.00 13.95 13.80 Hibrix 81 (HB81) 16.08 13.03 15.75 14.70 15.30 11.50 Jumbo Sweet (JBS) 15.53 11.28 15.00 15.00 15.85 14.00 Songkhla (SK84-1) 15.73 11.93 13.50 16.20 14.35 12.50 SM1351 15.60 11.33 14.75 15.50 15.05 13.70 WAN54 14.45 11.10 14.50 15.40 14.90 11.90 E-mean 15.68 11.53 14.47 15.10 14.49 12.76 CV (%) 4.62 4.77 2.37 2.50 2.59 4.43 + = significant pairwise comparisons of elite hybrids compared with the best* = significant pairwise comparisons compared with checkers at least LSD .0
51 al hybrid sweet corn varieties as checkers across 6 locations; uphan Buri (SP), and Satul (STL) in early rainy season of 2022 E-combined (kgrai-1) G mean Different with comparison varieties CN2 HB59 HB81 JBS SK84 SM13 WN54 13.65 0.83 -1.02 -0.74 -0.79 -0.38 -0.67 -0.06 12.82 -1.85* -1.58* -1.63* -1.22 -1.50* -0.89 14.67 0.27 0.22 0.63 0.35 0.96 14.39 -0.05 0.36 0.07 0.68 14.44 0.41 0.12 0.73 14.03 -0.29 0.33 14.32 0.61 13.71 14.00 3.71 t checker (bold value) in each environment at least LSD .05 level 05 level 51
52 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน /ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย - 2. ชื่อโครงการวิจัย ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักสด 3. ชื่อกิจกรรม วิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว 4. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า สมบูรณ์ วันดี ผู้ร่วมงาน ฉลอง เกิดศรี วรรษมน มงคล กาญจนา หนูแก้ว สุจิตรา พิกุลทอง รำพัน จงใจรักษ์ ณรงค์ ย้อนใจทัน 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2565 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร (Farm trial) เป็นขั้นตอนการเปรียบเทียบ หรือทดสอบ หรือ ประเมินพันธุ์พืช เพื่อประเมินสายพันธุ์ที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ ที่มีความดีเด่นกว่าพันธุ์มาตรฐาน ในด้านผลผลิต และลักษณะที่ต้องการ เหมาะสมที่จะขยายผลจากแปลงทดลองไปสู่แปลงของเกษตรกร งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์ เพื่อคัดเลือกข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมดีเด่นที่ให้ผลผลิตสูง ปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อม และมีคุณภาพการบริโภคดีดำเนินการในฤดูฝน ปี 2565 โดยใช้ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมจำนวน 8 คู่ผสม และพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์การค้า 4 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ชัยนาท 2 สวีทแว็กซ์ 254 พลอยชมพู และสวีทไวโอเล็ท วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (RCB) จำนวน 3 ซ้ำ พบว่า สามารถคัดลือกข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมที่มีคุณภาพการบริโภคดี และให้ผลผลิตสูงได้จำนวน 3 คู่ผสม ได้แก่ CNW18103 CNW18236 และ CNW18178 ให้ผลผลิตทั้งเปลือก 2,066 1,856 และ 1,734 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ (Table 1) โดย CNW18103 ให้ผลผลิตมากกว่าพันธุ์เปรียบเทียบทั้ง 4 พันธุ์ ที่ให้ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือก 1,747 1,354 1,382 และ 1,368 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ สำหรับคู่ผสม CNW18236 และ CNW18178 ให้ผลผลิตทั้งเปลือกมากกว่าพันธุ์สวีทแว็กซ์ 254 พลอยชมพู และ สวีทไวโอเล็ท และให้ผลผลิตไม่แตกต่างจากพันธุ์ชัยนาท 2 ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมทั้ง 3 คู่ผสม ที่คัดเลือก ให้ผลผลิตฝักสดปอกเปลือก 1,345 1,242 และ 1,170 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ โดยคู่ผสม CNW18103 และ CNW18236 ให้ผลผลิตมากกว่าพันธุ์ พันธุ์สวีทแว็กซ์ 254 พลอยชมพู และสวีทไวโอเล็ทที่ให้ผลผลิต 970 959 และ 939 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ และให้ผลผลิตไม่แตกต่างจากพันธุ์ชัยนาท 2 ที่ให้ผลผลิต 1,136 กิโลกรัมต่อไร่ สำหรับคู่ผสม
53 CNW18178 ให้ผลผลิตมากกว่าพันธุ์สวีทไวโอเล็ท และให้ผลผลิตไม่แตกต่างจากพันธุ์ชัยนาท 2 สวีทแว็กซ์ 254 และพลอยชมพู ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมทั้ง 3 คู่ผสม มีจำนวนวันออกดอก และ ออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ อยู่ระหว่าง 41-42 และ 43-44 วัน ความสูงต้นและความสูงฝักระหว่าง 161-191 และ 77-107 เซนติเมตร มีคะแนนเปลือกหุ้มฝัก 1-2 คะแนน (เปลือกหุ้มฝักแน่นและยาวเลยปลายฝักมากกว่า 2 เซนติเมตร) ความกว้างฝักระหว่าง 4.4-4.5 เซนติเมตร ความยาวฝักระหว่าง 12.8-14.8 เซนติเมตร จำนวนแถว 14-16 แถว และมีคุณภาพการบริโภคดีมาก-ดีมากที่สุด (คะแนน 4-5) (Table 1) ข้าวโพดข้าวเหนียวที่ คัดเลือกจะนำไปวิเคราะห์เสถียรภาพการให้ผลผลิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ และแนะนำสู่เกษตรกรต่อไป 8. คำหลัก : ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม การประเมินผลผลิต การเปรียบเทียบในท้องถิ่น 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด : 60,845 บาท
Table 1 The average of yield and agronomic characteristic of waxy cEntry Hybrid Name Days to Height (cm) Days to harvest Hco(1Tass Silk Plant Ear 1 CNW18095 41 43 157 78 1 2 CNW18103 41 44 161 87 2 3 CNW18109 42 45 144 71 1 4 CNW18178 41 43 161 77 2 5 CNW18236 42 44 191 107 1 6 CNW19023 43 46 172 85 1 7 CNW19046 41 43 151 75 1 8 CNW19155 41 44 183 99 1 Mean 42 44 165 85 1 9 Chai Nat2 41 44 178 87 1 10 Sweet wax 254 42 44 168 77 1 11 Ploychompoo 42 45 164 75 1 12 Sweet violet 49 51 192 95 1 Mean 44 46 176 83 1 F-test ** ** ** ** - LSD (0.05) 0.9 1.35 16.35 11.72 - 1C.V. (%) 1.27 1.78 5.73 8.19 - 1ns, *, ** = non-significant, significant at P<0.05 and P<0.01 respectively. 1 Husk cover score3 = Quality taste = 1-5 (poor-the best)
54 corn hybrids at Suphan Buri province in the rainy season, 2022 Husk over 1-5)1 No. of ear/plo t Yield (kg/rai) Ear size (cm)2 No. of kernel row Quality taste (1-5)3 With husk Without husk D L1 L2 60 84 1,470 1,096 4.3 13.8 2.1 1ภ 4 61 84 2,066 1,345 4.5 14.8 1.0 14 4 62 84 1,497 1,048 4.3 12.9 3.0 14 5 60 84 1,734 1,170 4.4 12.8 2.1 14 5 61 84 1,856 1,242 4.5 13.5 2.3 16 4 63 84 1,415 931 4.4 12.7 2.6 16 4 60 84 1,747 1,193 4.2 14.1 1.7 14 3 61 84 1,517 947 4.1 13.5 1.2 14 4 61 84 1,663 1,122 4.4 13.5 2.0 14 4 61 84 1,747 1,136 4.2 14.2 1.5 14 4 61 84 1,354 970 4.4 13.3 1.6 14 4 62 84 1,382 959 4.2 14.0 0.8 14 4 68 68 1,368 939 4.2 14.7 2.3 12 4 63 84 1,463 1,001 4.3 14.0 1.5 14 4 ** - ** * * ns - ** - 1.35 - 304 231 0.23 - - 0.67 - 1.29 - 11.25 12.62 3.13 7.33 - 2.94 - e = 1-5 (poorest-best) 2 Ear characters: Ear diameter (D), Ear length (L1) and Tip length (L2) 54
55 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มันสำปะหลัง อ้อย และปาล์มน้ำมัน 2. ชื่อโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูอ้อย 3. ชื่อกิจกรรม การป้องกันกำจัดโรคเหี่ยวเน่าแดง 4. ชื่อการทดลอง ศึกษาการจำแนกเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวเน่าแดง: ขั้นตอนที่ 2 การศึกษา วิธีการเก็บรักษาเชื้อรา Colletotrichum falcatum และ Fusarium moniliforme สาเหตุของโรคเหี่ยวเน่าแดงในอ้อย 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า นางสาวมัทนา วานิชย์ ผู้ร่วมงาน อุไรวรรณ พงษ์พยัคเลิศ วาสนา วันดี สุมาลี โพธิ์ทอง อาภาพร หนูแดง นพิษฐา กลัดเงิน 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การศึกษาวิธีการเก็บรักษาเชื้อรา Colletotrichum falcatum และ Fusarium moniliforme สาเหตุของ โรคเหี่ยวเน่าแดงในอ้อย ได้ลงพื้นที่สำรวจพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรคเหี่ยวเน่าแดงในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ อำเภออู่ทอง อำเภอสองพี่น้อง และอำเภอสามชุก เก็บตัวอย่างอ้อยที่แสดงอาการเส้นกลางใบแดงนำมา แยกเชื้อด้วยวิธี Tissue transplant และแยกเชื้อราให้บริสุทธิ์บนอาหาร PDA จากนั้นทำการตรวจสอบลักษณะ ทางสัณฐานวิทยาของเชื้อรา โดยดูลักษณะของสปอร์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์compound microscope และ ขยายเชื้อดังกล่าวให้เพียงพอสำหรับการทดสอบความรุนแรงของเชื้อ โดยการปลูกเชื้อด้วยวิธี wound plug method ในอ้อยพันธุ์ LK92-11 (Resistance check)อู่ทอง 8 อู่ทอง 10 (Susceptible check) พันธุ์อีเหี่ยว (พันธุ์ ที่เคยพบการระบาดรุนแรงของโรคเหี่ยวเน่าแดงเมื่อปี 2534) และพันธุ์ขอนแก่น 3 ผลการทดสอบปฏิกิริยาต่อ โรคเหี่ยวเน่าแดง พบว่า เชื้อ C. falcatum ไอโซเลทอู่ทองที่ทดสอบกับอ้อย 5 พันธุ์มีปฏิกิริยา MR-MS ไอโซเลท สองพี่น้องมีปฏิกิริยา MR-MS ไอโซเลทสามชุกมีปฏิกิริยา R MR และ S เมื่อคำนวณค่าเฉลี่ยของระดับ ความรุนแรงที่วัดจากการลามของเชื้อภายในลำของทุกพันธุ์ พบว่า ไอโซเลทสามชุก มีระดับความรุนแรงเฉลี่ย มากที่สุด 3.1 รองลงมา คือ ไอโซเลทสองพี่น้อง 2.8 และ ไอโซเลทอู่ทอง 2.5 (Table 1) สำหรับเชื้อ F. moniliforme พบว่า ไอโซเลทอู่ทองมีปฏิกิริยา R ไอโซเลทสองพี่น้องมีปฏิกิริยา R-MR ไอโซเลทสามชุกมี ปฏิกิริยา R MR และ MS เมื่อคำนวณค่าเฉลี่ยของระดับความรุนแรงที่วัดจากการลามของเชื้อภายในลำของ ทุกพันธุ์ พบว่า ไอโซเลทสามชุกมีระดับความรุนแรงมากที่สุด 1.6 รองลงมาคือ ไอโซเลทสองพี่น้อง 1.3 และ ไอโซเลทอู่ทอง 1.0 (Table 2)
56 เมื่อได้ไอโซเลทที่รุนแรงที่สุดแล้วจึงนำมาทดลองวิธีการเก็บรักษาด้วย 4 วิธี ได้แก่ 1. การเก็บในน้ำกลั่นนึ่ง ฆ่าเชื้อ 2. การเก็บรักษาเชื้อราใน 10 % Glycerol 3. การเก็บรักษาเชื้อราในสภาพแห้งบนกระดาษกรอง นึ่งฆ่าเชื้อ และ 4. การเก็บรักษาเชื้อบนอาหาร PDA โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD จำนวน 4 ซ้ำ ตรวจสอบความมีชีวิต และการสร้างสปอร์หลังการเก็บรักษา 2 4 6 8 10 12 เดือน โดยนำไปเลี้ยงบนอาหาร PDA บันทึกการ เจริญเติบโตและวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของโคโลนีขณะนี้ได้ทำการเก็บรักษาเชื้อ F. moniliforme ไอโซเลท สามชุก ครบทุกกรรมวิธีแล้ว รอตรวจสอบความมีชีวิตในช่วงระยะเวลาต่างๆ สำหรับเชื้อ C. falcatum กำลัง ดำเนินการแยกและขยายเชื้อให้เพียงพอต่อทดลองการเก็บรักษาทั้ง 4 วิธี 8. คำหลัก : โรคอ้อย, เหี่ยวเน่าแดง, Red rot wilt, Colletotrichum falcatum, Fusarium moniliforme 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 102,850 บาท
57 Table 1 Reaction of 5 Clones/Varieties to Colletotrichum falcatum. No. Clones/ Varieties Colletotrichum falcatum U-Thong Song Phi Nong Sam Chuk Rating (Internal) Reaction Rating (Internal) Reaction Rating (Internal) Reaction 1 E-Hieo 2.2 MR 2.0 MR 1.0 R 2 UT8 2.3 MR 3.1 MS 3.7 S 3 UT10 2.8 MS 2.9 MS 3.5 S 4 LK92-11 2.3 MR 2.5 MS 3.5 S 5 KK3 2.4 MR 2.5 MS 1.8 MR Average 2.5 2.8 3.1 Remark: R = Resistant MR = Moderately Resistant MS = Moderately susceptible S = susceptible HS = Highly susceptible Table 2 Reaction of 5 Clones/Varieties to Fusarium moniliforme. No. Clones/ Varieties Fusarium moniliforme U-Thong Song Phi Nong Sam Chuk Rating (Internal) Reaction Rating (Internal) Reaction Rating (Internal) Reaction 1 E-Hieo 1.0 R 1.0 R 1.0 R 2 UT8 1.0 R 1.1 R 1.3 R 3 UT10 1.1 R 1.7 MR 2.6 MS 4 LK92-11 1.0 R 1.2 R 1.6 MR 5 KK3 1.0 R 1.3 R 1.3 R Average 1.0 1.3 1.6 Remark: R = Resistant MR = Moderately Resistant MS = Moderately susceptible S = susceptible HS = Highly susceptible
58 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. แผนงานวิจัย การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่เพื่อความมั่นคงทางอาหาร 2. โครงการวิจัย การวิจัยการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชโดยการประยุกต์ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร 3. ชื่อกิจกรรม การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์งาด้วยเครื่องจักรกลการเกษตร 4. ชื่อการทดลอง การศึกษาอายุเก็บเกี่ยวมี่เหมาะสมต่อการใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางรายที่มีผลต่อ ผลผลิตและคุณภาพเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 5. คณะผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ระพีพันธุ์ ชั่งใจ ผู้ร่วมงาน เฌอรัชด์พัชร เขียววิชัย มงคล ตุ่นเฮ้า นงลักษ์ ปั้นลาย 6. ระยะเวลา เริ่มต้นปี2565 สิ้นสุดปี2565 7. บทคัดย่อ การศึกษาอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมต่อการใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางรายที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพ เมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมสำหรับการใช้เครื่องเกี่ยว แบบวางในการผลิตเมล็ดพันธุ์งา เปรียบเทียบกับการเก็บเกี่ยวด้วยเคียว พบว่า การเก็บเกี่ยวเมื่อฝักงาเหลือง 70 เปอร์เซ็นต์ของทั้งต้น ให้ผลผลิตสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับฝักเหลือง 60 เปอร์เซ็นต์และ 80 เปอร์เซ็นต์ของ ทั้งต้น โดยพบว่า การเก็บเกี่ยวด้วยเครื่องเกี่ยวแบบวางรายที่ฝักงาเหลือง 70 เปอร์เซ็นต์ของทั้งต้น ให้ผลผลิต เฉลี่ยเท่ากับ 123 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่แตกต่างจากการเก็บเกี่ยวด้วยเคียวซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 123 กิโลกรัม ต่อไร่ อีกทั้ง พบว่า จำนวนฝักแก่ไม่แตกต่างกันและไม่พบเปอร์เซ็นต์การสูญเสียจากการเก็บเกี่ยวในทั้งสอง กรรมวิธี ในด้านคุณภาพ (ความชื้น ความบริสุทธิ์ และความงอก) ของเมล็ดพันธุ์หลังปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์งา ไม่มีความแตกต่างกันในทุกกรรมวิธี ดังนั้นการเก็บเกี่ยวงาที่ฝักเหลือง 70 เปอร์เซ็นต์ของทั้งต้น จึงเป็นระยะ เก็บเกี่ยวที่เหมาะสมที่จะใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางรายในการเก็บเกี่ยวผลผลิตงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ซึ่งผลผลิต เมล็ดพันธุ์มีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน และสามารถใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางรายทดแทนการเก็บเกี่ยวด้วยเคียว ลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวได้ 8. คำสำคัญ : เมล็ดพันธุ์งา, คุณภาพเมล็ดพันธุ์, เครื่องเกี่ยวแบบวางราย, อายุเก็บเกี่ยว 9. ประเภทผลวิจัย : สิ้นสุด 10. คำแนะนำผลวิจัย : ถ่ายทอดได้ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 93,330 บาท
59 Table 1 Number of mature pods, young pods and seed loss from red sesame seeds. (Ubon Ratchathani 2 variety) with different harvesting ages. Treatments Mature pods Young pods Seed loss (g) Harvest at 60% of plant by reaper machine 16 b 5 a 0.0 b Harvest at 70% of plant by reaper machine 19 a 0 b 0.0 b Harvest at 80% of plant by reaper machine 20 a 0 b 3.8 a Harvest at 60% of plant by cut with a scythe 16 b 4 a 0.0 b Harvest at 70% of plant by cut with a scythe 19 a 0 b 0.0 b Harvest at 80% of plant by cut with a scythe 20 a 0 b 3.6 a F-test ** ** ** CV (%) 8.58 29.74 62.63 ** significant at p ≤ 0.01 Table 2 Yield of red sesame seeds (Ubon Ratchathani 2 variety) with different harvesting ages. Treatments Seed yield (kg/Rai) 1,000 seeds weight (g) Harvest at 60% of plant by reaper machine 112 ab 3.6 Harvest at 70% of plant by reaper machine 123 a 3.9 Harvest at 80% of plant by reaper machine 99 c 3.8 Harvest at 60% of plant by cut with a scythe 106 bc 3.7 Harvest at 70% of plant by cut with a scythe 123 a 3.7 Harvest at 80% of plant by cut with a scythe 103 bc 3.8 F-test ** ns CV (%) 6.84 3.35 ** significant at p ≤ 0.01 ns : Non significant
60 Table 3 Seed quality of red sesame seeds (Ubon Ratchathani 2 variety) with different harvesting ages. Treatments % Moisture % Germination % Purity Harvest at 60% of plant by reaper machine 5.7 15.5 99.7 Harvest at 70% of plant by reaper machine 5.5 10.5 99.7 Harvest at 80% of plant by reaper machine 5.5 10.7 99.7 Harvest at 60% of plant by cut with a scythe 5.2 12.0 99.8 Harvest at 70% of plant by cut with a scythe 5.5 13.7 99.7 Harvest at 80% of plant by cut with a scythe 5.2 10.2 99.7 F-test ns ns ns CV (%) 7.90 34.96 0.09 Note: sesame seeds Ubon Ratchathani 2 seed dormancy of 1-2 months. ns : Non significant Table 4 Germination of red sesame seeds (Ubon Ratchathani 2 variety) after storage at 1-4 Months. Treatments 1 st month 2 nd month 3 rd month 4 th month Harvest at 60% of plant by reaper machine 30.0 32.8 b 78.0 85.5 Harvest at 70% of plant by reaper machine 31.8 32.3 b 84.3 87.3 Harvest at 80% of plant by reaper machine 38.0 43.3 a 85.5 84.8 Harvest at 60% of plant by cut with a scythe 29.5 30.0 b 79.5 92.0 Harvest at 70% of plant by cut with a scythe 33.0 33.3 b 84.5 90.0 Harvest at 80% of plant by cut with a scythe 36.0 38.0 ab 85.8 83.3 F-test ns * ns ns CV (%) 22.01 14.84 7.01 3.82 Note: sesame seeds Ubon Ratchathani 2 seed dormancy of 1-2 months. * significant at p ≤ 0.05 ns : Non significant
61 ภาพที่1 วิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิตงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 โดยใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางราย ภาพที่2 วิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิตงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 โดยใช้เคียวเก็บเกี่ยว ภาพที่3 ลักษณะฝักงาเหลือง 60 เปอร์เซ็นต์ 70 เปอร์เซ็นต์ และ 80 เปอร์เซ็นต์ของทั้งต้น
62 ภาพที่4 ลักษณะเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 เก็บเกี่ยวโดยใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางราย ที่อายุเก็บเกี่ยว ต่างกัน ภาพที่5 ลักษณะเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 เก็บเกี่ยวโดยใช้เคียวเกี่ยว ที่อายุเก็บเกี่ยวต่างกัน ภาพที่6 การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ที่เก็บเกี่ยวโดยใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางราย
63 ภาพที่7 การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ที่เก็บเกี่ยวโดยใช้เคียวเกี่ยว
64 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2565 65/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยนวัตกรรมการผลิตและเทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์และสารสกัดจากพืช เพื่อการอารักขาพืชอย่างยั่งยืน 2. ชื่อโครงการวิจัย วิจัยการผลิตและการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช 3. ชื่อกิจกรรม เทคโนโลยีการใช้เชื้อราสาเหตุโรคแมลงและไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในการ ควบคุมแมลงศัตรูผัก 4. ชื่อการทดลอง ศึกษาอัตราการใช้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema carpocapsae สูตรผงละลายน้ำในการควบคุมด้วงหมัดผักแถบลาย (Phyllotreta sinuata Stephans) ในพืชตระกูลกะหล่ำ 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ปาริชาติ จำรัสศรี ผู้ร่วมงาน ช่ออ้อย กาฬภักดี กาญจนา หนูแก้ว สุวัฒน์ พูลพาน อัจฉราภรณ์ วงศ์สุขศรี ระพีพร ต้องใจ อัจฉรียา นิจจรัลกุล สุวิมล วงศ์พลัง อิศเรส เทียนทัด เสาวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์ สาทิพย์ มาลี 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การศึกษาการใช้ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema carpocapsae สูตรผงละลายน้ำในการควบคุม ด้วงหมัดผักแถบลาย (Phyllotreta Sinuata Stephans) ในปี 2565 ทำการทดสอบแปลงปลูกผักกาดหัว ในพื้นที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ศึกษาอัตราการพ่นและราดไส้เดือนฝอยศัตรู แมลง S. carpocapsae ทุก 7 วัน วางแผนการทดลอง 6 กรรมวิธี 4 ซ้ำ ประกอบด้วย กรรมวิธีพ่นและราด ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง S. Carpocapsae อัตรา 130, 180, 230 และ 280 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร พ่นน้ำเปล่า และไม่พ่นน้ำเปล่า และไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง เมื่อพ่นและราดไส้เดือนฝอย S. carpocapsae จำนวน 7 ครั้ง พบว่า ที่อัตราการพ่น 180, 230 และ 280 มิลลิลิตร/ตารางเมตร และที่อัตราการราด 230 และ 280 มิลลิลิตรต่อตารางเมตร ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งมีแนวโน้มในการควบคุมตัวเต็มวัยด้วงหมัดผัก แถบลาย P. Sinuata ได้ จึงเลือกอัตราพ่นไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง S. carpocapsae 180 มิลลิลิตรต่อตารางเมตร และอัตราราด 230 มิลลิลิตรต่อตารางเมตร ไปศึกษาช่วงเวลาในการพ่นและการราดในปี 2566 ต่อไป
65 8. คำหลัก : ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง, ผักกาดหัว, ด้วงหมัดผักแถบลาย 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11.งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 13,896 บาท
Table 1 Mean number of Phyllotreta sinuata before and after spraysinuata larvae between Febuary-April 2022 at Suphan Treatment Before spray (day) 1/ Af1 2 S. carpocapsae 280 (ml./mm2 ) 0 1.50 4.50 abc S. carpocapsae 230 (ml./mm2 ) 0 1.50 4.00 ab S. carpocapsae 180 (ml./mm2 ) 0 2.50 4.00 ab S. carpocapsae 130 (ml./mm2 ) 0 1.25 4.75 bc Water 0 1.25 6.75 c Nontreatment 0 1.50 2.25 a CV% - 45.3 38.9 1/ Spray after planting 0 day 2/ Means within the same column followed by the same letter (a. b, c and d) are not signific3/ Damage level of white radish by flea beetle (Saowanit et al, 2013) level 1 no damage 0 percentage level 2 damage 1 – 10 percentage level 3 damage 11 – 20 percentage level 4 damage 21 – 30 percentage level 5 damage 31 – 40 percentage level 6 damage 41 – 50 percentage level 7 damage > 50 percentage
66 y Steinernema carpocapsae, yield and damage level by Phyllotreta Buri Field Crops Research Center fter spray (number of adult/10trees) 2/ Yield (kg) Damage level3/ 3 4 5 6 7 4.25 5.75 26.75 a 72.75 a 38.50 a 8.15 5.40 a 6.00 7.25 25.50 a 79.75 a 38.75 a 8.16 5.20 a 6.75 7.00 26.00 a 82.50 a 40.75 a 8.84 5.10 a 4.00 6.00 28.25 a 94.75 ab 67.25 b 7.75 5.50 a 9.00 7.00 33.75 ab 130.25 bc 89.75 bc 8.63 6.40 b 8.50 9.25 48.00 b 144.50 c 97.50 c 8.49 6.70 b 45.3 30.3 26.7 24.1 28.5 10.6 8.6 antly different 5% level by DMRT (P<0.05) 66
Table 2 Mean number of Phyllotreta sinuata before and after poursinuata larvae between Febuary-April 2022 at Suphan Treatment Before spray (day) 1/ Af1 2 S. carpocapsae 280 (ml./mm2 ) 0 1.00 2.00 S. carpocapsae 230 (ml./mm2 ) 0 0.25 3.00 S. carpocapsae 180 (ml./mm2 ) 0 0.25 3.25 S. carpocapsae 130 (ml./mm2 ) 0 2.00 3.00 Water 0 0.75 2.50 Nontreatment 0 0.75 2.25 CV% - 164.4 78.1 1/ Spray after pour 0 day 2/ Means within the same column followed by the same letter (a. b, c and d) are not signific3/ Damage level of white radish by flea beetle (Saowanit et al, 2013) level 1 no damage 0 percentage level 2 damage 1 – 10 percentage level 3 damage 11 – 20 percentage level 4 damage 21 – 30 percentage level 5 damage 31 – 40 percentage level 6 damage 41 – 50 percentage level 7 damage > 50 percentage
67 ring Steinernema carpocapsae, yield and damage level by Phyllotreta Buri Field Crops Research Center fter spray (number of adult/10trees) 2/ Yield (kg) Damage level3/ 3 4 5 6 7 7.50 5.75 a 17.50 a 69.75 a 59.00 a 7.02 5.80 a 4.25 9.00 ab 17.75 a 74.75 a 102.75 ab 8.26 5.90 a 4.75 9.00 ab 17.25 a 89.75 a 178.00 cd 7.33 6.60 b 4.75 7.00 ab 19.00 a 123.75 a 159.75 bc 7.70 6.80 bc 6.50 11.00 b 35.50 b 196.00 b 200.75 cd 7.25 6.70 bc 7.00 5.75 a 23.75 a 199.00 b 230.75 d 5.99 6.80 c 39.4 43.8 26.8 32.5 26.6 16.4 2.2 antly different 5% level by DMRT (P<0.05) 67