47
โปรแกรมที่่� 9
สัังคมคุณุ ภาพและความมั่่�นคง
การพััฒนาประเทศในระยะ 6 ทศวรรษที่�่ผ่่านมา เป็็นการพััฒนาที่�่เน้้นการเติิบโตทางเศรษฐกิิจจน
ขาดความสมดุุลและขาดการบููรณาการ เกิิดการกระจุุกตััวของความมั่่�งคั่่�งและโอกาส นำำ�ไปสู่่�ความเหลื่�่อมล้ำำ�
ในสัังคมและเกิิดปัญั หาสิ่่ง� แวดล้้อมจากการใช้ท้ รัพั ยากรธรรมชาติิอย่า่ งไม่ย่ ั้้ง� คิิด เป็น็ ภาพการพัฒั นาที่�่ไม่ย่ ั่่ง� ยืืน
อัันนำ�ำ ไปสู่่�ความขััดแย้้งและความไม่่มั่่�นคงทางการเมืือง ที่�่บั่่�นทอนศัักยภาพการพััฒนาของประเทศและ
คุณุ ภาพชีีวิิตของประชาชน
ดัังนั้้�น การพััฒนาสัังคมไทยให้้เป็็นสัังคมคุุณภาพที่�่มีีความมั่่�นคงและยั่่�งยืืน จึึงเป็็นโจทย์์ท้้าทายทาง
สังั คมที่�่ต้้องอาศััยองค์์ความรู้้�จากการวิิจััยและนวััตกรรมเพื่�อ่ ตอบโจทย์์ โดยมุ่่�งยกระดัับความมั่่�นคงของมนุุษย์์
(โดยเฉพาะความมั่่�นคงทางเศรษฐกิิจสังั คมของพลเมืือง) ความสมานฉันั ท์์ทางสังั คม การยอมรับั เป็น็ สมาชิกิ ใน
สัังคมที่�่มีีสิิทธิิเสมอภาค (ยอมรัับความแตกต่่างหลากหลายในมิิติิต่่าง ๆ เช่่น ชาติิพัันธุ์์� ศาสนาและความเชื่�่อ
ความคิิดทางการเมืือง ฯลฯ) และการเสริิมพลัังทางสัังคมเพิ่่�มการมีีส่่วนร่่วมของประชาชนและชุุมชนในทาง
การเมืืองอย่า่ งสร้า้ งสรรค์์
ทั้้�งนี้้� ต้้องมีีการพัฒั นาทรัพั ยากรมนุุษย์์ โดยการเสริมิ สร้า้ งทัักษะ ขีีดความสามารถ กระบวนการคิิด
และสร้้างสรรค์์ ความเข้้าใจตนเองและผู้้�อื่�่น มีีความคิิดเชิิงวิิพากษ์์ (Critical Thinking) ไม่่ตกเป็็นเหยื่�่อของ
การคิิดตาม ๆ กัันไป (Victim of Group Thinking) มีีความสามารถ การรับั รู้� และปรับั ใช้เ้ ทคโนโลยีีที่�่เกิิดใหม่่
(Emerging Technology) และเทคโนโลยีีที่�่เป็็นจุุดเปลี่�่ยน (Disruptive Technology) อย่่างเท่่าทััน ทำำ�ให้้
สังั คมไทยสามารถจััดการกัับผลกระทบจากกระแสโลกาภิิวััตน์์ ภาวะข้า้ มแดน การจััดระเบีียบโลกใหม่ไ่ ด้้อย่า่ ง
ทัันท่่วงทีี
โปรแกรม 9 เป้า้ หมายและผลสััมฤทธิ์์ท� ี่่�สำำ�คัญั
Objectives and Key Results: OKR
O2.9 สร้า้ งสังั คมที่่ม� ีกี ารอยู่่�ร่ว่ มกัันอย่า่ งสมานฉัันท์์ มีคี วามมั่่�นคงทางเศรษฐกิิจสังั คม และมีกี าร
เสริมิ พลัังเพื่่�อสร้า้ งความมั่่�นคงทางสังั คม
KR2.9.1 นโยบายหรืือมาตรการเพื่�อ่ รองรับั การเปลี่�่ยนแปลงของสังั คมไทยและสังั คมโลก ที่�่ได้้จาก
องค์์ความรู้้�ที่�่สร้า้ งขึ้้�น จำำ�นวน 5 นโยบายหรืือมาตรการ
KR2.9.2 จำำ�นวนข้อ้ พิพิ าทในประเทศกรณีีความไม่เ่ ป็็นธรรม ลดลงร้อ้ ยละ 5
KR2.9.3 ภาระโรคที่�่เป็น็ ปััญหา 1 ใน 3 ของประเทศ ลดลงร้อ้ ยละ 5 ต่่อปีี
KR2.9.4 อััตราการตายและบาดเจ็็บจากอุุบัตั ิิเหตุุ ลดลงร้อ้ ยละ 5 ต่่อปีี
48
ตััวอย่่างแผนงาน/โครงการสำ�ำ คััญ
เป้้าหมาย ผลสัมั ฤทธิ์์�ที่ส่� ำ�ำ คััญ หน่ว่ ยงานขัับเคลื่อ�่ น
โครงการชุุดวิิจัยั นโยบายสัันติปิ ระชาธรรมเพื่�่อการสร้้างสัังคมเปิิด
• ผลิตผลงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน • องค์ความรูแ้ ละขอ้ เสนอแนะ • สถาบนั อุดมศึกษา
และความเป็น็ ธรรมในสังั คมตามแนวคิิด ทั้้�งในเชิงิ นโยบายและแนวทางปฏิิบัตั ิิ • สถาบันวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง
เรื่�อ่ งสันั ติิประชาธรรม ตามแนวคิิดของ เกี่�่ยวกัับการลดความเหลื่�่อมล้ำำ�ทาง • กระทรวงต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง
ศ.ดร. ป๋๋วย อึ๊๊�งภากรณ์์ อัันนำ�ำ ประเทศไทย การศึกึ ษาและการพัฒั นาศักั ยภาพ
มนุุษย์ใ์ นฐานะพลเมืืองของสังั คมที่�่มีี • ส�ำนักงานสภาพฒั นาการ
ไปสู่่�สังั คมเปิิดในที่�่สุดุ โดยมีีเป้้าหมาย เศรษฐกิิจและสังั คมแห่ง่ ชาติิ
เชิงิ กลยุุทธ์ใ์ นด้้านต่่าง ๆ ดัังต่่อไปนี้้� คุณุ ภาพ และหน่ว่ ยงานนโยบาย
- ด้้านการบริหิ ารจััดการและการ • เวทีสาธารณะเพื่อน�ำเสนอองค์ความรู้ สาธารณะที่�่เกี่�่ยวข้อ้ ง
ประกอบธุุรกิิจ และแลกเปลี่�่ยนเรีียนรู้้�ระหว่่างเครืือข่า่ ย • หนว่ ยงานภาครฐั
ทั้้�งส่ว่ นกลาง ส่ว่ นภูมู ิภิ าค
- ด้้านเศรษฐศาสตร์ร์ ะหว่่างประเทศ นัักวิิชาการและประชาชนทั่่�วไป
เพื่�อ่ การพัฒั นา • สื่อความรู้ท้ังในรูปแบบส่งิ พมิ พแ์ ละ และส่ว่ นท้้องถิ่่�น
- ด้้านความเหลื่�่อมล้ำำ� ออนไลน์์เพื่�อ่ เผยแพร่ค่ วามรู้้�สู่่�วงกว้้าง
• องค์กรภาคประชาสังคม
- ด้้านเศรษฐศาสตร์ก์ ารคลัังและ • องค์กรภาคเอกชนท่ีมี
นโยบายสาธารณะ ความรับั ผิิดชอบต่่อสังั คม
- ด้้านเศรษฐศาสตร์ม์ หภาค
- ด้้านสิ่่ง� แวดล้้อม
- ด้้านการเมืืองการปกครอง
- ด้้านสังั คม
- ด้้านศิลิ ปวััฒนธรรม
- ด้้านการเรีียนรู้ �และการศึึกษา
49
เป้้าหมาย ผลสััมฤทธิ์์�ที่ส่� ำ�ำ คััญ หน่ว่ ยงานขัับเคลื่อ�่ น
แผนงานความร่่วมมืือระหว่า่ งรััฐบาลไทยกับั องค์์การอนามััยโลกด้า้ นความปลอดภััยทางถนน
• ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ภาพรวม ระยะสั้้�น • ส�ำนักงานคณะกรรมการ
ด้้านการวิิจััยและนวััตกรรมของ • เขา้ ใจสถานการณภ์ าพรวมด้านการวิจัย ส่ง่ เสริมิ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััย
อุุบัตั ิิเหตุทุ างถนนในระดัับชาติิ และนวััตกรรมของอุุบัตั ิิเหตุทุ างถนนในระดัับ และนวััตกรรม
และนานาชาติิเพื่�อ่ จััดทำำ�ข้อ้ เสนอต่่อ ชาติิและนานาชาติิเพื่�อ่ จััดทำำ�ข้อ้ เสนอต่่อ • กระทรวงและหนว่ ยงาน
สภานโยบายในการกำำ�หนดนโยบาย สภานโยบายในการกำำ�หนดนโยบาย ภาครัฐั ที่�่เกี่�่ยวข้อ้ ง อาทิิ
ยุุทธศาสตร์แ์ ละแผน รวมทั้้�ง ยุุทธศาสตร์์ และแผน รวมทั้้�งงบประมาณ กระทรวงคมนาคม
งบประมาณเพื่�อ่ การวิิจััยและนวััตกรรม เพื่�อ่ การวิิจััยและนวััตกรรม กระทรวงมหาดไทย
ในปีงี บประมาณ 2563 • เกิดการวิจัยเชิงประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับ กระทรวงสาธารณสุขุ
• วิจัยเชงิ ประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับอุบตั ิเหตุ อุุบัตั ิิเหตุทุ ั้้�งด้้านปััจจััยมนุุษย์์ ยานพาหนะ • องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
ทั้้�งด้้านปััจจััยมนุุษย์์ ยานพาหนะและ
และสิ่่ง� แวดล้้อม มีีการเก็็บสถิิติิและข้อ้ มูลู • องค์การอนามัยโลก
สิ่่ง� แวดล้้อม มีีการเก็็บสถิิติิและข้อ้ มูลู
อุุบัตั ิิเหตุอุ ย่า่ งเป็น็ ระบบ ซึ่�ง่ รวมถึึง อุุบัตั ิิเหตุอุ ย่า่ งเป็น็ ระบบ ซึ่�ง่ รวมถึึงระบบ • องค์กรภาคประชาสังคม
ระบบการสอบสวนอุุบัตั ิิเหตุเุ ชิงิ ลึึก การสอบสวนอุุบัตั ิิเหตุเุ ชิงิ ลึึก ติิดตามและ • องค์กรภาคเอกชนท่ีมี
ติิดตามและประเมิินผลกิิจกรรมและ ประเมินิ ผลกิิจกรรมและโครงการที่�่เกี่�่ยวข้อ้ ง ความรับั ผิิดชอบต่่อสังั คม
กัับการป้อ้ งกัันอุุบัตั ิิเหตุทุ างถนน
โครงการที่�่เกี่�่ยวข้อ้ งกัับการป้้องกััน
• เกิดการพฒั นาพ่ีเล้ียงเพื่อหนุนเสริม
อุุบัตั ิิเหตุทุ างถนน และเกิิดการวิิจััย
การดำำ�เนิินงานในระดัับพื้้�นที่�่
เพื่�อ่ สร้า้ งนวััตกรรมรวมทั้้�งเทคโนโลยีี
อุุปกรณ์์ เครื่�อ่ งมืือต่่าง ๆ สำ�ำ หรับั • จ�ำนวนโครงการวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ งกับอุบัติเหตุ
การแก้้ไขปััญหาอุุบัตั ิิเหตุทุ างถนน อย่า่ งเป็น็ ระบบ โดยเป็็นโครงการวิิจััยที่�่
• เกิดงานวิจัยเชงิ ระบบที่ประเมินถึง มาจากหลากหลายระดัับ ตั้้�งแต่่นัักวิิชาการ
ผลกระทบต่่อเศรษฐกิิจและสังั คม หน่ว่ ยงาน และชุุมชนท้้องถิ่่�น
• เกิดเวทีบูรณาการกลไกและกระบวนการ
ทำำ�งานในหลากหลายรููปแบบเพื่�อ่ ลด
อุุบัตั ิิเหตุบุ นถนน
• เกิดการท�ำงานรว่ มกันแบบบูรณาการท้ัง
แนวดิ่่�งและแนวราบ ตั้้�งแต่่ระดัับชุุมชน
ท้้องถิ่่�นจนถึึงระดัับนโยบาย
ระยะยาว
• เกิดการวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรม รวมท้ัง
เทคโนโลยีี อุุปกรณ์์ เครื่�อ่ งมืือต่่าง ๆ สำ�ำ หรับั
การแก้้ไขปัญั หาอุุบัตั ิิเหตุทุ างถนน
• เกิดการจัดท�ำระบบขอ้ มูลและงานวิจัย
สามารถใช้ป้ ระโยชน์เ์ พื่�อ่ ป้้องกัันปัญั หา
อุุบัตั ิิเหตุทุ างถนนให้ก้ ัับประเทศไทย
50
แพลตฟอร์์ม 2 การวิิจััยและสร้้างนวัตั กรรมเพื่อ่� ตอบโจทย์ท์ ้้าทายของสังั คม
เป้้าหมาย 02 คนทุกุ ช่ว่ งวัยั มีีคุณุ ภาพชีีวิิตที่ด่� ีี สามารถดำำ�รงชีีวิติ ได้้อย่า่ งมีีความสุขุ และมีีคุุณค่่า และสามารถจัดั การปัญั หา
ท้้าทายเร่่งด่ว่ นสำำ�คัญั ทางสัังคมของประเทศได้อ้ ย่่างเหมาะสม ด้้วยองค์์ความรู้�้ ที่�เ่ กิดิ จากการวิิจัยั และนวัตั กรรม
ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่�ส่ ํําคััญ
KR2.1 ประชาชนในประเทศไทย KR2.2 ประเทศไทยมีีคะแนน KR2.3 การแก้้ปัญั หา KR2.4 อัตั ราผลิิตภาพการผลิติ KR2.5 ประชากรที่่�มีีอายุเุ กินิ
มีีความเป็น็ อยู่่�ที่ด�่ ีีขึ้้น� จากการมีี ดัชั นีีการพัฒั นามนุุษย์์ (HDI) ภาระโรคที่่�เป็น็ ปัญั หา ของภาคเกษตรเพิ่่�มขึ้้น� ร้้อยละ 1.2 60 ปีี ร้้อยละ 80 มีีสุุขภาพดีี
สภาพแวดล้้อมที่่ด� ีี เพิ่่�มสูงู ขึ้้�น และติดิ อัันดัับ 1 ใน 3 ของประเทศ ในปีี 2565 และเพิ่่�มขึ้้น� อีีกร้้อยละ และพึ่่�งพาตััวเองได้้
1 ใน 3 ของ ASEAN 1.0 ในปีี 2570
P.7 โจทย์ท์ ้า้ ทายด้้านทรััพยากร สิ่่ง� แวดล้้อม P.8 สัังคมสููงวััย P.9 สัังคมคุุณภาพและความมั่่�นคง
และการเกษตร
O2.7 ใช้ค้ วามรู้�้ การวิจิ ัยั และนวััตกรรม เพื่อ�่ จัดั การ O2.8 พััฒนาคนในทุกุ ช่่วงวััยให้้มีีคุุณภาพชีีวิิตที่ด่� ีี O2.9 สร้า้ งสังั คมที่ม�่ ีีการอยู่่�ร่ว่ มกันั อย่า่ ง
กับั ปััญหาท้า้ ทายเร่่งด่ว่ นสำำ�คัญั ของประเทศในด้า้ น สามารถดำำ�รงชีีวิติ ด้ว้ ยตนเองได้้อย่า่ งมีีคุณุ ค่า่ สมานฉันั ท์์ มีีความมั่่น� คงทางเศรษฐกิจิ สังั คม
ทรัพั ยากรธรรมชาติแิ ละสิ่่ง� แวดล้้อม การเกษตร และสร้้างกลไกที่�เ่ อื้้อ� ต่อ่ การอยู่่�ร่ว่ มกันั อย่่างมีีความสุุข และมีีการเสริมิ พลังั เพื่อ�่ สร้า้ งความมั่่น� คง
และบรรลุเุ ป้้าหมายการพััฒนาที่ย่� ั่่ง� ยืืน พร้อ้ มรัับสัังคมสููงวัยั ทางสังั คม
KR2.7.1 ลดขยะครัวั เรืือนลงร้้อยละ 10 ต่่อปีี KR2.8.1 ประชากรที่ม�่ ีีอายุเุ กินิ 60 ปีี มีีสุุขภาพดีีและพึ่่�งพา KR2.9.1 นโยบายหรืือมาตรการเพื่อ�่ รองรับั
ลดขยะอุุตสาหกรรมร้้อยละ 10 ต่่อปีี
และเพิ่่�มอััตราการนำ�ำ ขยะจากทุุก ตัวั เองได้้ และลดอุุบัตั ิกิ ารณ์ก์ ารเกิดิ โรคไม่่ติิดต่่อ การเปลี่�ย่ นแปลงของสังั คมไทย
กระบวนการกลัับมาใช้้ขึ้้�นร้้อยละ 10
ต่่อปีี เรื้้อ� รังั (Non-Communicable Diseases: NCDs) และสัังคมโลก ที่ไ่� ด้้จาก
และโรคที่เ่� กิดิ ในผู้้�สููงอายุุ เช่่น อัลั ไซเมอร์์ และ องค์ค์ วามรู้้�ที่ส�่ ร้้างขึ้้�น จำำ�นวน
พาร์์กินิ สันั 5 นโยบายหรืือมาตรการ
KR2.7.2 จำ�ำ นวนวัันที่่�มีีปริมิ าณ PM 2.5 KR2.8.2 มีีผลงานวิจิ ัยั เชิิงบููรณาการที่่�สะท้้อนคุุณค่่า KR2.9.2 จำ�ำ นวนข้้อพิพิ าทในประเทศกรณีี
เกินิ ค่่ามาตรฐาน (50 ไมโครกรััมต่่อ ผู้้�สููงอายุเุ พื่่อ� ดึึงศัักยภาพ และพััฒนาสวัสั ดิภิ าพ ความไม่่เป็็นธรรมลดลงร้้อยละ 5
ลููกบาศก์์เมตร) ลดลง ของผู้้�สูงู อายุุที่น�่ ำำ�ไปสู่่ก� ารเปลี่ย่� นแปลง KR2.9.3 ภาระโรคที่เ่� ป็น็ ปัญั หา 1 ใน 3 ของ
KR2.7.3 ลดความเสี่ย่� งหรืือความเสีียหายจาก เชิงิ นโยบาย จำ�ำ นวน 5 เรื่�อ่ ง ประเทศ ลดลงร้้อยละ 5 ต่่อปีี
การขาดแคลนน้ำำ��และอุุทกภััยลง KR2.8.3 เทคโนโลยีีหรืือนวัตั กรรมที่�ช่ ่่วยเหลืือการ KR2.9.4 อัตั ราการตายและบาดเจ็็บจาก
ร้้อยละ 50 ดำำ�รงชีีวิิต (Assisted living) สำ�ำ หรัับผู้้�สูงู อายุุ อุุบัตั ิิเหตุุลดลงร้้อยละ 5 ต่่อปีี
KR2.7.4 อัตั ราผลิิตภาพการผลิติ ของ และคนพิิการให้้สามารถดำ�ำ รงชีีวิิตอย่่าง
ภาคเกษตรเพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 1.2 มีีคุุณภาพได้้ตามมาตรฐานสากล จำ�ำ นวน
KR2.7.5 ลดการปล่่อยก๊า๊ ซเรืือนกระจกลงร้้อยละ อย่่างน้้อย 15 เรื่อ�่ ง/ปีี ครอบคลุุมผู้้�สูงู อายุแุ ละ
20 - 25 ในปีี 2573 เทีียบกัับกรณีีปกติิ คนพิิการที่�่เข้้าถึึงและใช้้ประโยชน์ไ์ ด้้ไม่่น้้อยกว่่า
โดยเพิ่่�มสััดส่่วนการใช้้พลังั งาน ร้้อยละ 80
หมุุนเวีียนร้้อยละ 30 ในปีี 2579 และลด KR2.8.4 นวัตั กรรมทางสังั คมที่�่ส่่งเสริมิ และสนับั สนุุนให้้
คนทุุกวัยั ใช้้ชีีวิติ ร่่วมกันั ในสังั คมอย่่างมีีคุุณภาพ
ความเข้้มการใช้้พลังั งานลงร้้อยละ 30
มีีแรงยึึดเหนี่ย�่ วทางสังั คม (Social Cohesion)
ในปีี 2579 เทีียบกัับปีี 2553
และผู้้�สูงู อายุสุ ามารถใช้้ชีีวิิตในสัังคมได้้อย่่าง
KR2.7.6 อััตราการสููญเสีียแหล่่งที่่อ� ยู่่อ� าศััย เต็ม็ ภาคภููมิิ
ตามธรรมชาติิ รวมทั้้�งพื้้น� ที่�่ป่่าไม้้และ
KR2.8.5 นวััตกรรมเมืืองที่ใ�่ ช้้หลัักการ Universal Design
ระบบนิิเวศชายฝั่่�งลดลงร้้อยละ 50
ที่่�มีีการออกแบบให้้เป็น็ มิิตรต่่อผู้้�สูงู อายุุ
จากปีฐี าน 2557
คนพิกิ าร และประชากรทุุกช่่วงวััย อย่่างน้้อย
30 เมืืองตามภูมู ิภิ าค
แผนงาน/โครงการสํําคัญั แผนงาน/โครงการสํําคััญ แผนงาน/โครงการสํําคััญ
• Zero-waste • โครงการไทยอารี (Thailand Aging Society) • โครงการชุดวจิ ยั นโยบายสนั ตปิ ระชาธรรม
• PM 2.5 และการจัดการมลพิษ
• Smart Farming เพื่�อ่ การสร้้างสัังคมเปิิด
• การบริหารจดั การน้ํา • แผนงานความร่วมมอื ระหว่าง
รัฐั บาลไทยกัับองค์ก์ ารอนามัยั โลก
ด้้านความปลอดภัยั ทางถนน
51
52
การวิจิ ััยและสร้้าง ประเทศที่�่พััฒนาแล้้วมีีการแข่่งขัันอย่่างรุุนแรงด้้านการพััฒนา
นวัตั กรรมเพื่่� อเพิ่่� ม เทคโนโลยีีและนวััตกรรม และการสร้้างขีีดความสามารถในการแข่่งขััน
ขีีดความสามารถ (Competitiveness) โดยมีีการออกแบบสร้า้ งระบบนิเิ วศทางนวััตกรรม และ
การสร้้างและพััฒนาทรััพยากรมนุุษย์์ รองรัับการพััฒนาเทคโนโลยีีใหม่่ ๆ
การแข่่งขันั ที่�่กำำ�ลัังเข้้ามาแทนที่�่เทคโนโลยีีเดิิม (Disruptive Technology) และการ
ต่่อยอดการพัฒั นาเทคโนโลยีีที่�่มีีอยู่่�เดิิมให้ม้ ีีประสิทิ ธิภิ าพและคุณุ ภาพดีีขึ้้�น
อย่่างเป็็นระบบ การพััฒนาเศรษฐกิิจไปสู่่�เศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ (Creative
Economy) และเศรษฐกิิจแบ่ง่ ปันั (Sharing Economy)
สนับั สนุนุ ลงทุนุ ด้้านการวิิจััยและพัฒั นา (R&D Investment) ที่�่มีี
ความเข้ม้ ข้น้ ในโจทย์ท์ ี่ท�่ ้า้ ทายอย่า่ งชาญฉลาดระหว่า่ งภาครัฐั ภาคการศึกึ ษา
และภาคเอกชนจากทั้้�งในและต่่างประเทศ ก่่อให้้เกิิดการพัฒั นาเทคโนโลยีี
และนวััตกรรมใหม่่ ๆ ที่�่พัฒั นาจากเดิิมไปอย่า่ งก้า้ วกระโดด (Leapfrogging)
หรืือเป็็นสิ่่�งที่�่ยัังไม่่เคยมีีมาก่่อนในโลกขึ้้�นเป็็นจำำ�นวนมาก ทำำ�ให้้มีีผู้้�บริิโภค
ให้้การตอบรัับผลิิตภััณฑ์์และบริิการที่�่ทัันสมััยเหล่่านั้้�นจากทั้้�งในประเทศ
และต่่างประเทศ ก่่อให้เ้ กิิดรายได้้และสร้า้ งขีีดความสามารถการแข่ง่ ขันั ให้้
สูงู ขึ้้�น ทำำ�ให้้เป็น็ ผู้้�นำ�ำ ด้้านการพัฒั นานวััตกรรมที่�่ทัันสมัยั อยู่่�เสมอ
53
แพลตฟอร์์มการวิิจััยและสร้้างนวััตกรรมเพื่�่อเพิ่่�มขีีดความสามารถการแข่่งขััน เป็็นเวทีีที่�่เปิิดโอกาส
ให้ผ้ ู้้�มีีส่ว่ นได้้ส่ว่ นเสีียได้้มีีโอกาสเข้า้ มาร่ว่ มกัันคิิด วางแผน กำำ�หนด ลงมืือดำำ�เนินิ การและการวััดผลในกิิจกรรม
เพื่�อ่ การพัฒั นาอย่า่ งมีีกลยุทุ ธ์ด์ ้า้ นการเพิ่่ม� ขีีดความสามารถทางการแข่ง่ ขันั ในอุตุ สาหกรรมเป้า้ หมายของประเทศ
เป็น็ พื้้�นที่�่ยุุทธศาสตร์ท์ ี่�่สำ�ำ คััญในการพัฒั นาระบบนิเิ วศนวััตกรรม และเขตเศรษฐกิิจนวััตกรรมของประเทศไทย
ให้้เจริิญเติิบโตอย่่างยั่่�งยืืน และจำำ�เป็็นต้้องมีีการพััฒนาระบบโครงสร้้างพื้้�นฐานทางคุุณภาพและบริิการควบคู่่�
ไปด้้วยอย่า่ งต่่อเนื่�่องเพื่�่อให้้สามารถตอบสนองความต้้องการของผู้้�ใช้้งานได้้อย่า่ งพอเพีียง ก่่อให้้เกิิดการสร้้าง
สะสม พัฒั นา ถ่่ายทอด และต่่อยอดองค์์ความรู้้�ที่�่ทัันสมัยั ขับั เคลื่�่อนและยกระดัับความสามารถการแข่ง่ ขันั และ
วางรากฐานทางเศรษฐกิิจ สร้้างและพััฒนาความรู้้�ด้้านการวิิจััยและนวััตกรรมเพื่�่อไปสู่่� “ประเทศไทย 4.0”
ซึ่�ง่ เป็็นกลไกสำ�ำ คััญในการขับั เคลื่�่อนประเทศไทยให้้หลุดุ พ้น้ จากกัับดัักประเทศรายได้้ปานกลาง และกลายเป็น็
ประเทศพัฒั นาแล้้ว
เป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่่�สำำ�คัญั
Objectives and Key Results: OKR
เป้า้ หมาย O3
ยกระดับั ขีีดความสามารถในการแข่ง่ ขันั ของประเทศด้ว้ ยการวิจิ ััยและพัฒั นานวัตั กรรม
ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่�ส่ ำำ�คัญั
KR3.1 อัันดัับขีีดความสามารถในการแข่ง่ ขันั ด้้านวิิทยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี จััดโดย IMD อยู่่�
ใน 30 อัันดัับแรก
KR3.2 อัันดัับความสามารถด้้านนวััตกรรมของไทย วััดจากดััชนีีความสามารถด้้านนวััตกรรมของ
โลก (Global Innovation Index) อยู่่�ใน 30 อัันดัับแรก
KR3.3 สัดั ส่ว่ นการพัฒั นาเทคโนโลยีีของตนเองต่่อการพึ่่�งพาเทคโนโลยีีจากภายนอกจาก 10:90
เป็็น 30:70
KR3.4 การเติบิ โตของอุุตสาหกรรมยุทุ ธศาสตร์ใ์ หม่่ (New S-Curve) เพิ่่ม� ขึ้้น� เฉลี่ย�่ ร้อ้ ยละ 8 ต่อ่ ปีี
KR3.5 จำ�ำ นวนวิสิ าหกิจิ ที่�ล่ งทุนุ ด้า้ นวิจิ ััย พัฒั นาและนวัตั กรรม อย่า่ งน้อ้ ย 100 ล้า้ นบาทต่อ่ ปีี
เพิ่่ม� ขึ้้น� เป็น็ ร้อ้ ยละ 10 ของจำำ�นวนวิสิ าหกิจิ ทั้้�งหมดที่ล�่ งทุนุ ด้า้ นวิจิ ััย พัฒั นาและนวัตั กรรม
แพลตฟอร์์มที่�่ 3 การวิิจััยและสร้้างนวัตั กรรมเพื่่� อเพิ่่� มขีีดความสามารถ
การแข่ง่ ขันั ประกอบด้้วย 3 โปรแกรม คือื
โปรแกรม 10 ยกระดัับความสามารถการแข่ง่ ขันั และวางรากฐานทางเศรษฐกิิจ
โปรแกรม 11 สร้า้ งและยกระดัับศัักยภาพวิิสาหกิิจเริ่่ม� ต้้น (Startup)
พัฒั นาระบบนิิเวศนวััตกรรม และพื้้�นที่�่เศรษฐกิิจนวััตกรรม
โปรแกรม 12 โครงสร้า้ งพื้้�นฐานทางคุณุ ภาพและบริกิ าร
54
โปรแกรมที่�่ 10
ยกระดัับความสามารถการแข่ง่ ขันั และวางรากฐานทาง
เศรษฐกิจิ
การยกระดัับความสามารถการแข่่งขัันและวางรากฐานทางเศรษฐกิิจ เป็็นโปรแกรมที่�่ตอบประเด็็น
ความท้้าทายด้้านการเพิ่่�มขีีดความสามารถในการแข่่งขัันของภาคการผลิิตและบริิการให้้ทัันกัับแนวโน้้มการ
พััฒนาเศรษฐกิิจของโลก ผ่่านการพััฒนาแพลตฟอร์์มนวััตกรรมในด้้านที่�่ประเทศไทยมีีศัักยภาพและโอกาส
ในการพัฒั นาสูงู เพื่�อ่ ยกระดัับขีีดความสามารถในการแข่ง่ ขันั ในกลุ่่�มอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์์
การปรับั โครงสร้า้ งการผลิิต โครงสร้า้ งการแข่ง่ ขันั การเพิ่่ม� ผลิิตภาพในภาคการเกษตร อุุตสาหกรรม
และบริิการ การเปลี่�่ยนรููปแบบวััตถุุดิิบและปััจจััยการผลิิต การลดต้้นทุุน การลดทรััพยากร การลดตััวกลาง
การทำำ�ธุุรกรรม การพััฒนาต่่อยอดเทคโนโลยีีจากต่่างประเทศสำ�ำ หรัับอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์์ (Technology
Localization) การบ่ม่ เพาะผู้้�ประกอบการ การเพิ่่ม� ศัักยภาพด้้านการวิิจััย พัฒั นา และนวััตกรรมเพื่�อ่ สนัับสนุนุ
การพัฒั นาอุุตสาหกรรมเป้้าหมาย (RDI for S-Curve Industries)
การยกระดัับและสร้้างศัักยภาพทางการแข่ง่ ขันั ของผู้้�ประกอบการไทยด้้วยเทคโนโลยีีและนวััตกรรม
โดยการพัฒั นาแพลตฟอร์ม์ เพื่�อ่ สนับั สนุนุ การขับั เคลื่�อ่ นเศรษฐกิจิ แบบต่า่ ง ๆ เช่น่ แพลตฟอร์ม์ เศรษฐกิจิ ชีีวภาพ
เศรษฐกิจิ หมุนุ เวีียน และเศรษฐกิจิ สีีเขีียว (BCG Economy) ในกลุ่่�มอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์์ ได้้แก่่ อุุตสาหกรรม
เกษตรและอาหาร อุุตสาหกรรมสุขุ ภาพและการแพทย์์ อุุตสาหกรรมพลังั งานและวััสดุชุ ีีวภาพ และอุุตสาหกรรม
การท่่องเที่�่ยว แพลตฟอร์์มเศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ (Creative Economy) เพื่�่อให้้ผู้้�ประกอบการสามารถนำ�ำ
องค์์ความรู้้�จากภููมิิปัญั ญาและทรัพั ยากรในพื้้�นที่�่ไปต่่อยอดและใช้ป้ ระโยชน์์ในการดำำ�เนินิ ธุุรกิิจ
แพลตฟอร์ม์ ที่�่สนับั สนุนุ ผู้้�ประกอบการใช้ป้ ระโยชน์จ์ ากข้อ้ มูลู และปัญั ญาประดิิษฐ์เ์ พื่�อ่ วิิเคราะห์แ์ ละ
สร้้างความได้้เปรีียบทางเศรษฐกิิจ (AI & Data Economy) รวมทั้้�งแพลตฟอร์์มเศรษฐกิิจแบ่่งปััน (Sharing
Economy) ที่�่ให้้ผู้้�ประกอบการสร้้างความร่่วมมืือทางธุุรกิิจเพื่�่อเกิิดรููปแบบสิินค้้าและบริิการใหม่่ที่�่ตอบรัับ
ความต้้องการของผู้้�บริโิ ภค
55
โปรแกรม 10 เป้า้ หมายและผลสััมฤทธิ์์�ที่่ส� ำำ�คัญั
Objectives and Key Results: OKR
O 3.10a พัฒั นาและยกระดัับความสามารถการแข่ง่ ขันั ของผู้้�ประกอบการในอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์์
ด้้วยการวิิจััยและพัฒั นานวััตกรรม
KR3.10a.1 การลงทุนุ วิิจััยและนวััตกรรมของผู้้�ประกอบการไทยในอุุตสาหกรรม S-Curve เพิ่่ม� ขึ้้�น
ร้อ้ ยละ 15 ต่่อปีี
KR3.10a.2 จำำ�นวนผู้้�ประกอบการไทยขนาดกลางและขนาดย่อ่ มในอุุตสาหกรรม S-Curve ที่�่ลงทุนุ พัฒั นา
เทคโนโลยีีและนวััตกรรม เพิ่่ม� ขึ้้�นร้อ้ ยละ 10 ต่่อปีี
KR3.10a.3 การขาดดุลุ การชำ�ำ ระเงิินทางเทคโนโลยีี (Technology balance of payment) ลดลง 100,000
ล้้านบาท
O 3.1ต0b่่อยอดอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์แ์ ละวางรากฐานการพัฒั นาเศรษฐกิิจภายใต้้แนวคิิด
เศรษฐกิิจชีวี ภาพ เศรษฐกิิจหมุุนเวียี น และเศรษฐกิิจสีเี ขียี ว (Bio-Circular-Green Economy: BCG
Economy)
KR3.10b.1 มูลู ค่่าทางเศรษฐกิิจที่�่เกิิดจากเศรษฐกิิจ BCG (เกษตรและอาหาร การแพทย์ส์ ุขุ ภาพ
การท่่องเที่�่ยวและเศรษฐกิิจสร้า้ งสรรค์์ พลัังงานและวััสดุชุ ีีวภาพ) ไม่ต่ ่ำำ�กว่่าร้อ้ ยละ 25
ของผลิิตภััณฑ์์มวลรวมในประเทศ
KR3.10b.2 การจ้้างงานแรงงานที่�่ใช้ค้ วามรู้�และทัักษะ (Knowledge Worker) ในอุุตสาหกรรมเป้า้ หมาย
BCG เพิ่่ม� ขึ้้�นไม่น่ ้้อยกว่่า 1,000,000 ตำำ�แหน่ง่
KR3.10b.3 วิิสาหกิิจฐานนวััตกรรมที่�่เกี่�่ยวข้อ้ งกัับเศรษฐกิิจ BCG เพิ่่ม� ขึ้้�น 10,000 ราย
KR3.10b.4 ปริมิ าณขยะลดลง 16.5 ล้้านตัันต่่อปีี
56
ตัวั อย่่างแผนงาน/โครงการสำ�ำ คััญ
เป้า้ หมาย ผลสััมฤทธิ์์�ที่่ส� ำำ�คัญั หน่่วยงานขัับเคลื่อ่� น
แผนงาน BCG in Action ขัับเคลื่อ�่ นเศรษฐกิจิ ชีีวภาพ เศรษฐกิจิ หมุุนเวีียนและเศรษฐกิจิ สีีเขีียว เพื่อ�่ การ
พััฒนาที่ย่� ั่่�งยืืน
• ยกระดับภาคการเกษตรและ • มีการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมอาหาร • กระทรวงการอุดมศึกษา
อุุตสาหกรรมต่่อเนื่�อ่ งสำ�ำ หรับั อาหาร
สุขุ ภาพ พัฒั นาอุุตสาหกรรมใหม่ด่ ้้าน เพื่�อ่ สุขุ ภาพ เพื่�อ่ การส่ง่ ออกอย่า่ งน้อ้ ย วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและ
อาหารสุขุ ภาพและส่ว่ นผสมอาหารที่�่มีี
มููลค่่าสูงู รวมทั้้�ง สร้า้ ง Platform ร้อ้ ยละ 25 นวััตกรรม
นวััตกรรมเกษตรตามศักั ยภาพใน 4
ภููมิิภาคทั่่�วประเทศ • มีเกษตรกรผู้ประกอบการรุน่ ใหมท่ ่ีใช้ • กระทรวงสาธารณสขุ
• เกิดอุตสาหกรรม Biorefinery ใน เทคโนโลยีี ทดแทนเกษตรกรรุ่่�นเก่่า • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประเทศไทย
อย่า่ งน้้อย 2,000 ราย มีีรายได้้มากกว่่า • กระทรวงอุตสาหกรรม
• เกิด Thai Cosmepolis และเป็น 200,000 บาท/ปีี • กระทรวงพาณิชย์
ศููนย์ก์ ลางการผลิิตเวชสำ�ำ อางของเอเชีีย • กระทรวงมหาดไทย
• เกิดอุตสาหกรรม Biorefinery ท่ีมี
มูลู ค่่าการลงทุนุ รวม 25,000 ล้้านบาท
เพิ่่ม� มูลู ค่า่ ให้ก้ ับั ผลิติ ภัณั ฑ์ท์ างการเกษตร • กระทรวงการท่องเท่ียวฯ
ไม่น่ ้้อยกว่่า 5 เท่่าตััว • กระทรวงดิจิทัลฯ
• เกิดระบบบริหารจัดการท่องเท่ียวครบ • มูลค่าการสง่ ออกสารสกัดจากสมุนไพร • การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
วงจร เชื่�อ่ มโยงสู่่�การท่่องเที่�่ยวเมืืองรอง และกลุ่่�มเวชสำ�ำ อางไม่น่ ้อ้ ยกว่่า 4,400 แห่ง่ ประเทศไทย
• การจัดการขยะอยา่ งเป็นรูปธรรม ล้้านบาท • สถาบนั อุดมศึกษา
เพื่�อ่ นำ�ำ ไปใช้ป้ ระโยชน์์ต่่อเนื่�อ่ ง ทำำ�ให้เ้ กิิด • เพิ่มรายได้การท่องเท่ียวของประเทศ • โรงเรียนแพทย์
• สถาบันการเงิน
Zero Waste + Waste to Wealth จากร้อ้ ยละ 17.8 GDP เป็็นร้อ้ ยละ 20 • ภาคเอกชน
• ผลิตยา วัคซีน ชุดตรวจวินิจฉยั และ GDP ในปีี 2564 และ ร้อ้ ยละ 30 GDP
อุุปกรณ์เ์ ครื่�อ่ งมืือแพทย์ท์ ี่�่ได้้มาตรฐาน ในปีี 2580
สากล สมุุนไพรและ Biological Drugs • ต้นแบบการจัดการขยะชุมชนระดับ
เพื่�อ่ การส่ง่ ออก ท้้องถิ่่�นรองรับั ขยะมููลฝอย
• คิดค้นวิธกี ารรกั ษาจ�ำเพาะและแมน่ ย�ำ 82,500 ตััน/ปีี สร้า้ งมููลค่่าเพิ่่ม� จากขยะ
ส่ว่ นบุุคคลโดยใช้เ้ ทคโนโลยีีชีีวภาพขั้้�นสูงู 17 ล้้านบาทใน 5 ปีี
• พัฒนาอุตสาหกรรมบริการทดสอบยา • รายได้รวมจากการสง่ ออกยา เวชภัณฑ์
อาหารเสริมิ และเวชภััณฑ์์ในมนุุษย์์ และ สมุนุ ไพรและสารสกััด จากการรักั ษา
มีีศูนู ย์ว์ ิิจััยด้้านคลิินิิกระดัับชาติิ หรืือตรวจวิินิิจฉัยั โรคด้้วยหลัักการ
• สง่ เสริมการพัฒนานวัตกรรม สรา้ งมูลค่า Precision Medicine และการรับั จ้้าง
อุุตสาหกรรมพลัังงานชีีวภาพและวััสดุุ วิิจััยคลิินิิก ไม่ต่ ่ำำ�กว่่าปีลี ะ 15,000
ชีีวภาพ ล้้านบาท โดยเฉลี่�่ย
57
เป้้าหมาย ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่�ส่ ำำ�คัญั หน่่วยงานขัับเคลื่อ่� น
แผนงานการพััฒนาต่่อยอดเทคโนโลยีีจากต่่างประเทศสำ�ำ หรัับอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์์ (Technology
Localization)
ยกระดัับการพัฒั นาขีีดความสามารถด้้าน ยกระดัับขีีดความสามารถการแข่ง่ ขันั ของ • สถาบันอุดมศึกษา
การวิิจััยพัฒั นาและนวััตกรรมของประเทศ กลุ่่�มผู้้�ประกอบการไทยให้ม้ ีีศักั ยภาพสูงู ขึ้้�น • กระทรวงการอุดมศึกษา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและ
ในอุุตสาหกรรม อาทิิ เพื่�อ่ ตอบสนองความต้้องการและรููปแบบ นวััตกรรม
• อุตสาหกรรม Future Mobility เชน่ การใช้ช้ ีีวิิตของผู้้�บริโิ ภค โดยการสร้า้ งและ • กระทรวงท่ีมีความเก่ียวขอ้ ง
ยานยนต์์สมััยใหม่่ และระบบราง พัฒั นาความสามารถในด้้านการพัฒั นา ด้้านการพัฒั นาอุุตสาหกรรม
ผลิิตภััณฑ์์ การลดต้้นทุนุ การสร้า้ งมูลู ค่่าเพิ่่ม� เป้้าหมาย
• อุตสาหกรรมอาหาร (Food) และเพิ่่ม� มููลค่่า การพัฒั นาเทคโนโลยีีใน
• อุตสาหกรรมพลังงาน (Energy) กระบวนการผลิิต การบริกิ าร การเข้า้ ตลาด • เครือขา่ ยความรว่ มมือ
สมาคม (Consortiums)
• อุตสาหกรรมหุน่ ยนต์และระบบ การสร้า้ งและพัฒั นานวััตกรรมในธุุรกิิจที่�่ ที่�่เกี่�่ยวข้อ้ ง
อััตโนมัตั ิิ (Robotics and Automation) เกี่�่ยวเนื่�่อง
• อุตสาหกรรมการผลิตสนิ ค้าท่ีใช้ได้
สองทาง (Dual-Use Items: DUI)
เพื่�อ่ สร้า้ งความมั่่�งคั่่�งทางเศรษฐกิิจ
แผนงาน Public-Private Partnership for RDI
• เกิดมูลค่าทางตลาดท่ีเป็นไปได้ใน • เอกชนรายใหญส่ ามารถรว่ มลงทุนกับ • ส�ำนักงานคณะกรรมการ
โครงการที่�่เอกชนรายใหญ่ส่ ามารถ เอกชนรายกลางและรายเล็็กในการทำำ�วิิจััย ส่ง่ เสริมิ วิิทยาศาสตร์์
ร่ว่ มลงทุนุ กัับเอกชนรายกลางและ และนวััตกรรม วิิจััยและนวััตกรรม
รายเล็็กที่�่เกี่�่ยวข้อ้ งมากกว่่าทุนุ ที่�่ลงไป
• เกิดกลไกความรว่ มมือระหว่างเอกชน • สถาบันอุดมศึกษา
• SMEs ในกลุ่มสาขา (Sector) รายใหญ่่ รายกลาง รายเล็็ก และ/หรืือ
มีีความสามารถด้้าน ววน. มากขึ้้�น สมาคม มหาวิิทยาลััย และ/หรืือ
และสอดคล้้องกัับแผน ววน. หน่ว่ ยงานวิิจััยของรัฐั ในการพัฒั นาเพื่�อ่
ของประเทศ เพื่�อ่ ช่ว่ ยขับั เคลื่�่อนให้้ ประโยชน์เ์ ชิงิ พาณิชิ ย์์
แผนบรรลุเุ ป้า้ หมาย
• เกิดกลไกความรว่ มมือระหว่างเอกชน
• เกิดผลลัพธแ์ ละเครือขา่ ยความรว่ มมือ รายใหญ่่ รายกลาง รายเล็็ก และ/หรืือ
ในหลายสาขา (Sector) ที่�่มีีเป้้าหมาย สมาคม มหาวิิทยาลััย และ/หรืือ
สอดคล้้องกัันที่�่เน้้นวััตถุปุ ระสงค์์ หน่ว่ ยงานวิิจััยของรัฐั ในการยกระดัับ
เชิงิ สังั คม ความสามารถด้้าน ววน. ของเอกชน
• มีแนวทางการขยายผลกับ • เกิดความรว่ มมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
กลุ่่�มอุุตสาหกรรมอื่�่น และ/หรืือ ในรููปแบบเครืือข่า่ ยที่�่ใช้ง้ านวิิจััยและพัฒั นา
เอกชนขนาดใหญ่ร่ ายอื่�่นของประเทศ ตอบโจทย์์ SDGs
• มีแนวทางขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย และการ
เผยแพร่แ่ นวทางการขยายผลที่�่สอดคล้้อง
กัับบริบิ ทของไทย
58
โปรแกรมที่�่ 11
สร้้างและยกระดับั ศักั ยภาพวิสิ าหกิจิ เริ่่�มต้้น (Startup)
พััฒนาระบบนิเิ วศนวัตั กรรม และพื้้�นที่เ่� ศรษฐกิจิ นวัตั กรรม
สร้้างและยกระดัับศัักยภาพวิิสาหกิิจเริ่่�มต้้น (Startup) และวิิสาหกิิจฐานนวััตกรรม (Innovation-
driven Enterprises: IDEs) ให้เ้ ติิบโตอย่า่ งก้้าวกระโดด โดยมุ่่�งเน้น้ การพัฒั นาระบบนิิเวศนวััตกรรมให้้เข้ม้ แข็ง็
เอื้้�อต่่อการพัฒั นาศักั ยภาพของ Startup และ IDE โดยการปรับั ปรุุงกฎระเบีียบและกฎหมาย พัฒั นามาตรการ
และแรงจููงใจ รวมถึึงการบริิการภาครััฐ ให้้เอื้้�อต่่อการดำำ�เนิินธุุรกิิจนวััตกรรม (Ease of doing innovation
business) ของผู้้�ประกอบการ
รวมถึงึ การพัฒั นาพื้้�นที่เ�่ ศรษฐกิจิ นวัตั กรรม (Economic Zone of Innovation) อาทิิ อุทุ ยานวิทิ ยาศาสตร์์
เขตนวััตกรรมระเบีียงเศรษฐกิิจพิิเศษภาคตะวัันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi)
เมืืองนวััตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ย่า่ นนวััตกรรม (Innovation District) และย่า่ นสร้า้ งสรรค์์ (Creative
District) ซึ่�่งจะเป็็นพื้้�นที่�่ที่�่มีีความพร้้อมรองรัับการวิิจััย พััฒนา และสร้้างนวััตกรรม ผ่่านกลไกต่่าง ๆ ทั้้�งการ
เชื่�อ่ มโยงกับั สถาบันั วิิจััย สถาบันั การศึกึ ษา การสนับั สนุนุ ที่�่ปรึกึ ษาทางด้้านเทคโนโลยีีและนวััตกรรม การส่ง่ เสริมิ
การเข้้าถึึงแรงจููงใจและสิิทธิิประโยชน์์ต่่าง ๆ อาทิิ แหล่่งเงิินทุุนสำ�ำ หรัับผู้้�ประกอบการในการสร้้างนวััตกรรม
แรงจููงใจทางภาษีี การบ่่มเพาะผู้้�ประกอบการ และการเร่่งการเจริิญเติิบโตของผู้้�ประกอบการ ซึ่�่งจะส่่งผลให้้
ผู้้�ประกอบการมีีศัักยภาพและความพร้้อมในการผลิิตสิินค้้าและบริิการมููลค่่าเพิ่่�มสููง นำ�ำ ไปสู่่�การสร้้างรายได้้
การจ้้างงาน กระจายรายได้้สู่่�ภููมิิภาค และก่่อให้้เกิิดอุุตสาหกรรมเป้้าหมายใหม่่ที่�่เป็็นกลไกในการขัับเคลื่�่อน
เศรษฐกิิจและสังั คมของประเทศ
59
โปรแกรม 11 เป้า้ หมายและผลสััมฤทธิ์์�ที่่ส� ำำ�คััญ
Objectives and Key Results: OKR
O 3.11a พัฒั นาวิิสาหกิิจฐานนวััตกรรมที่่ม� ีศี ักั ยภาพเติิบโตได้้อย่า่ งก้้าวกระโดด
KR3.11a.1 วิิสาหกิิจเริ่่ม� ต้้นที่�่จััดตั้้�งใหม่แ่ ละอยู่่�รอดเกิิน 3 ปีี จำำ�นวน 1,000 ราย
KR3.11a.2 วิิสาหกิิจเริ่่ม� ต้้นที่�่มีีมููลค่่าบริษิ ััทมากกว่่า 1 พันั ล้้านเหรีียญดอลลาร์ส์ หรัฐั ฯ จำำ�นวน 1 ราย
O 3.11b พัฒั นาและเพิ่่ม� การใช้ป้ ระโยชน์พ์ ื้้�นที่่เ� ศรษฐกิจิ นวัตั กรรม (Economic Zone of Innovation) /
อุุทยานวิิทยาศาสตร์์ (Science Parks)/ระเบียี งนวััตกรรมภาคตะวัันออก (EECi)/เมือื งนวััตกรรมอาหาร
(Food Innopolis)
KR3.11b.1 ผู้้�ประกอบการที่�่มาใช้ป้ ระโยชน์ใ์ นพื้้�นที่�่เศรษฐกิิจนวััตกรรม/อุุทยานวิิทยาศาสตร์/์ EECi/เมืือง
นวััตกรรมอาหาร มีีจำำ�นวนเพิ่่ม� ขึ้้�นร้อ้ ยละ 10 ต่่อปีี
KR3.11b.2 มููลค่่าการลงทุนุ วิิจััยและพัฒั นานวััตกรรมของบริษิ ััทที่�่มาใช้ป้ ระโยชน์ใ์ นพื้้�นที่�่เศรษฐกิิจ
นวััตกรรม/อุุทยานวิิทยาศาสตร์/์ EECi/เมืืองนวััตกรรมอาหาร เพิ่่ม� ขึ้้�นร้อ้ ยละ 10 ต่่อปีี
O 3.11c ปรับั ปรุุงกฎระเบียี บและกฎหมาย พัฒั นามาตรการและแรงจููงใจ รวมถึึงการบริกิ ารภาครัฐั
ให้เ้ อื้้�อต่่อการดำำ�เนิินธุุรกิิจนวััตกรรม (Ease of doing innovation business) ของผู้้�ประกอบการ
KR3.11c.1 อัันดัับนโยบายของภาครัฐั ที่�่มีีต่่อวิิสาหกิิจและผู้้�ประกอบการด้้านการสนับั สนุุนและ
ความสอดคล้้องของนโยบาย อยู่่�ในอัันดัับที่�่ 15
KR3.11c.2 สินิ ค้้าหรืือบริกิ ารในบัญั ชีีนวััตกรรมไทยได้้รับั การจััดซื้้�อจััดจ้้างโดยหน่ว่ ยงานภาครัฐั เพิ่่ม� ขึ้้�น
ร้อ้ ยละ 10 ต่่อปีี
ตัวั อย่า่ งแผนงาน/โครงการสำ�ำ คััญ
เป้า้ หมาย ผลสัมั ฤทธิ์์�ที่ส�่ ำ�ำ คัญั หน่่วยงานขัับเคลื่อ่� น
แผนงานการพัฒั นาสตาร์์ทอััพและผู้�ป้ ระกอบการนวัตั กรรม
• วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) • Local Startup 1,000 ราย • ส�ำนักงานสภานโยบาย
และวิิสาหกิิจฐานนวััตกรรม ที่�่เกิิดใหม่แ่ ละอยู่่�รอด ใน 3 ปีี การอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์
(Innovation-driven Enterprises: • วิสาหกิจฐานนวัตกรรม (IDEs) มี วิิจััยและนวััตกรรมแห่ง่ ชาติิ
IDEs) ที่�่มีีศักั ยภาพเติิบโตได้้อย่า่ ง ยอดขายเกิิน 1,000 ล้้านบาท/ปีี • ส�ำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์
ก้้าวกระโดด เพิ่่ม� ขึ้้�น 1,000 ราย/ปีี และเทคโนโลยีีแห่ง่ ชาติิ
• ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
• กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม
• ส�ำนักงานสง่ เสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อ่ ม
• กรมพฒั นาธุรกิจการค้า
60
โปรแกรมที่�่ 12
โครงสร้้างพื้้�นฐานทางคุณุ ภาพและบริกิ าร
ประเทศไทยมีีองค์์ ประกอบเชิิงองค์์ กรของโครงสร้้างพื้้� นฐานทางคุุณภาพของประเทศอยู่่�ครบ
แต่่กระจััดกระจาย มีีความพร้้อมและความสามารถในการดำำ�เนิินการต่่างกััน ขาดทิิศทางและเป้้าหมายร่่วม
เนื่�่องจากขาดกลไกและเวทีีที่�่จะบููรณาการองค์์ประกอบที่�่มีีให้้ทำำ�งานเป็็นระบบเดีียวกััน
ส่่งผลให้้ประเทศมีีบริิการโครงสร้้างพื้้�นฐานทางคุุณภาพที่�่ไม่่สมดุุลกัับความต้้องการใช้้ประโยชน์์ใน
ปััจจุุบันั และความจำำ�เป็็นในการสร้า้ งความสามารถในการแข่ง่ ขันั ในอนาคต
โปรแกรมนี้้ม� ีีวััตถุปุ ระสงค์์ที่�่จะพัฒั นาระบบนิเิ วศของโครงสร้า้ งพื้้�นฐานทางคุณุ ภาพให้ส้ มบููรณ์แ์ ละมีี
เอกภาพ เพื่�อ่ ให้เ้ กิิดบริกิ ารโครงสร้า้ งพื้้�นฐานทางคุณุ ภาพที่�่ครบถ้้วนและเพีียงพอต่่อความต้้องการใช้ป้ ระโยชน์์
ในปัจั จุุบันั และสามารถเป็น็ พื้้�นฐานรองรับั ความจำำ�เป็น็ ในการสร้า้ งนวััตกรรมและอุุตสาหกรรมในอนาคต ทั้้�งใน
เชิงิ ปริมิ าณและคุณุ ภาพ ทั้้�งในด้้านการนำ�ำ สินิ ค้้าและนวััตกรรมเข้า้ สู่่�ตลาด รวมถึึงการวิิจััยและพัฒั นาเทคโนโลยีี
นวััตกรรมและอุุตสาหกรรมที่�่ประเทศไทยต้้องการเป็น็ เจ้้าของ
ที่ผ�่ ่า่ นมา ได้ม้ ีีการกล่า่ วถึงึ ความอุดุ มสมบูรู ณ์ข์ องทรัพั ยากรและวัฒั นธรรมของประเทศอย่า่ งกว้า้ งขวาง
แต่่ยังั ขาดการใช้ป้ ระโยชน์์ความอุุดมสมบููรณ์ด์ ัังกล่่าวอย่า่ งสร้า้ งสรรค์์และสมดุลุ
ประเทศไทยจึึงเป็็นเพีียงผู้้�ส่่งออกวััตถุุดิิบและชิ้้�นส่่วนที่�่ไม่่ผ่่านการรัับรองมาตรฐาน เพื่�่อพลิิก
ประเทศไทยให้้เติิบโตอย่่างมีีคุุณภาพ มีีความจำำ�เป็็นที่�่จะต้้องปรัับความสามารถของประเทศให้้สามารถผลิิต
และส่ง่ ออกสินิ ค้้าและชิ้้น� ส่ว่ นมูลู ค่า่ สูงู ที่�่ได้้รับั การรับั รองมาตรฐานแล้ว้ ได้้ รวมทั้้�งพัฒั นาตลาดในประเทศให้เ้ ป็น็
ตลาดสิินค้้าคุุณภาพเพื่�่อเป็็นฐานให้้แก่่การสร้้างแบรนด์์ หรืือตราสิินค้้าที่�่มีีภาพลัักษณ์์เชิิงคุุณค่่าและคุุณภาพ
ต่่อไป โดยเฉพาะในกลุ่่�มสิินค้้าและบริิการที่�่ (1) ผู้้�ประกอบการไทยสามารถเป็็นเจ้้าของตราสิินค้้าและมีี
เทคโนโลยีีของตนเอง เช่น่ อาหารสุขุ ภาพ สมุนุ ไพร ผลิิตภััณฑ์์เฉพาะของท้้องถิ่่�นหรืือวััฒนธรรม บริกิ ารสุขุ ภาพ
และความงาม (2) มีีความจำำ�เป็น็ ในการรองรับั สังั คมในอนาคต เช่น่ สังั คมสูงู วััย สังั คมดิิจิิทััลและเศรษฐกิิจดิิจิิทััล
และ (3) มีีความจำำ�เป็็นต่่อการพััฒนาบทบาททางการเมืืองระหว่่างประเทศ เช่น่ การบริิหารจััดการป่่า แม่่น้ำำ�
ที่�่ไหลผ่า่ นหลายประเทศ มลพิษิ ขยะ และพลัังงาน
61
โปรแกรม 12 เป้า้ หมายและผลสััมฤทธิ์์�ที่่ส� ำำ�คััญ
Objectives and Key Results: OKR
O 3.12a ประเทศไทยเป็น็ ศููนย์ก์ ลางการบริกิ ารโครงสร้า้ งพื้้�นฐานทางคุณุ ภาพของอาเซียี น
KR3.12a.1 ประเทศไทยมีีความสามารถทางการวััดและวิิเคราะห์ส์ ูงู ที่�่สุดุ 1 ใน 5 ของเอเชีีย
และมีีอุุตสาหกรรมบริกิ ารโครงสร้า้ งพื้้�นฐานทางคุณุ ภาพที่�่ใหญ่ท่ ี่�่สุดุ ในอาเซีียน
KR3.12a.2 บริกิ ารวิิเคราะห์์ ทดสอบและสอบเทีียบมีีคุณุ ภาพระดัับโลก
O 3.1ส2bินิ ค้้าและบริกิ ารสำ�ำ คััญทางเศรษฐกิิจและวััฒนธรรมที่่ผ� ่า่ นการรับั รองมาตรฐานในประเทศ
สามารถแข่ง่ ขันั และเป็น็ ที่่ย� อมรับั ในตลาดโลก
KR3.12b.1 เครื่�อ่ งหมายคุณุ ภาพของไทยได้้รับั การยอมรับั ในคุณุ ค่่าและคุณุ ภาพทััดเทีียมเครื่�อ่ งหมาย
คุณุ ภาพสินิ ค้้าของ EU และญี่ป�่ ุ่่�น โดยเฉพาะกลุ่่�มสินิ ค้้าเกษตรและสินิ ค้้าวััฒนธรรม
KR3.12b.2 การส่ง่ ออกสินิ ค้้าเกษตรและสินิ ค้้าวััฒนธรรมที่�่ได้้รับั ตราเครื่�อ่ งหมายคุณุ ภาพของไทย
เพิ่่ม� มากขึ้้�น
62
ตััวอย่่างแผนงาน/โครงการสำ�ำ คััญ
เป้า้ หมาย ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่�่สำ�ำ คััญ หน่ว่ ยงานขัับเคลื่อ่� น
แผนงาน NQI เพื่อ่� อาหารสุุขภาพและสมุนุ ไพรไทย
• เกิดตราสินค้าของไทยท่ีใชว้ ัตถุดิบ • มาตรฐานอาหารสขุ ภาพและ • กระทรวงสาธารณสุข
และเทคโนโลยีีในประเทศ
สมุนุ ไพรไทยที่�่เทีียบเท่่า หรืือเหนืือกว่่า • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• ลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการน�ำ
สินิ ค้้าเข้า้ สู่่�ตลาด มาตรฐานสากล • กระทรวงอุตสาหกรรม
• ลดค่าใชจ้ ่ายในการสง่ ทดสอบ • กระบวนการข้ึนทะเบยี น และการรบั รอง • กระทรวงพาณชิ ย์
ต่่างประเทศ กระบวนการผลิิตและคุณุ ภาพ
มีีประสิทิ ธิภิ าพและได้้รับั การยอมรับั • กระทรวงการท่องเท่ียว
และกีีฬา
• บริการโครงสร้างพ้ืนฐานทางคณุ ภาพ
สำ�ำ หรับั การวิิจััยและการผลิิตครบถ้้วน • กระทรวงการอุดมศึกษา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและ
และเพีียงพอ
นวััตกรรม
• ฐานข้อมูลสารออกฤทธแิ์ ละกระบวนการ
รักั ษาคุณุ ภาพสารออกฤทธิ์์�
แผนงาน NQI สำำ�หรับั ยาชีีววััตถุุ
• ยาชีววัตถุตัวใหม่ที่วิจัยและผลิต • เครือขา่ ยห้องปฏิบตั ิการทดสอบทาง • กระทรวงสาธารณสขุ
ในประเทศ และสามารถส่ง่ ออกได้้ คลิินิิก (National Clinical Trial Lab
Network) ที่�่ได้้รับั การรับั รองตาม • กระทรวงอุตสาหกรรม
• ลดค่าใชจ้ ่ายในการสง่ ยาชีววัตถุ มาตรฐานระหว่่างประเทศ
ไปทดสอบต่่างประเทศ • กระทรวงการอุดมศึกษา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและ
นวััตกรรม
แผนงาน NQI สำำ�หรัับอุุตสาหกรรมเทคโนโลยีีอัจั ฉริยิ ะ
• สง่ ออกเซนเซอรอ์ ัจฉริยะที่วิจัย • บริการโครงสร้างพ้ืนฐานทางคุณภาพ • กระทรวงอุตสาหกรรม
และผลิิตในประเทศไทย สำ�ำ หรับั การวิิจััยและการผลิิตเซนเซอร์์ • กระทรวงสาธารณสขุ
อััจฉริยิ ะ ระบบและชิ้้น� ส่ว่ นของ • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
• สง่ ออกระบบและช้นิ สว่ นของ เครื่�อ่ งมืือแพทย์แ์ ละหุ่่�นยนต์์
เครื่�อ่ งมืือแพทย์แ์ ละหุ่่�นยนต์์ที่�่ ครบถ้ว้ นและเพีียงพอ และสังั คม
รับั รองมาตรฐานแล้้ว
• กระทรวงพาณชิ ย์
• ลดค่าใช้จ่ายในการสง่ ทดสอบ • กระทรวงศึกษาธกิ าร
ต่่างประเทศ • กระทรวงการอุดมศึกษา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและ
นวััตกรรม
63
เป้า้ หมาย ผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่่�สำ�ำ คััญ หน่ว่ ยงานขัับเคลื่อ�่ น
แผนงาน NQI สำ�ำ หรัับยานยนต์อ์ นาคตและการเคลื่อ่� นย้า้ ยในอนาคต (Future vehicle & Seamless
mobility)
• แบตเตอรีที่วิจัยและผลิตโดยใช้ • บริการโครงสรา้ งพ้ืนฐานทาง • กระทรวงอุตสาหกรรม
วััตถุดุ ิิบและเทคโนโลยีีในประเทศ คุณุ ภาพสำ�ำ หรับั การวิิจััย • กระทรวงคมนาคม
ผลิิต ติิดตั้้�งและใช้ง้ าน • กระทรวงมหาดไทย
• ยานยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กส�ำหรับ แบตเตอรีียานยนต์์อนาคต • กระทรวงพลังงาน
ใช้ใ้ นเขตเมืือง หรืือในพื้้�นที่�่เฉพาะ และการเคลื่�่อนย้า้ ยในอนาคต • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
เพื่�อ่ ลดการสร้า้ งมลพิษิ ที่�่วิิจััยและ ครบถ้้วนและเพีียงพอ
ผลิิตโดยใช้ว้ ััตถุดุ ิิบและเทคโนโลยีี และสังั คม
ในประเทศ
• กระทรวงพาณิชย์
• ลดเวลาและค่าใชจ้ ่ายในการน�ำ • กระทรวงศึกษาธกิ าร
สินิ ค้้าเข้า้ สู่่�ตลาด • กระทรวงการอุดมศึกษา
• ลดค่าใชจ้ ่ายในการสง่ ทดสอบ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
ต่่างประเทศ
• ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการ
กระจายเสีียง กิิจการโทรทััศน์์
และกิิจการโทรคมนาคมแห่ง่ ชาติิ
แผนงาน Precise Timing & Positioning Platform for Innovative Services
• Innovative Services ท่ีใชป้ ระโยชน์ • บรกิ ารโครงสรา้ งพ้ืนฐานทางคณุ ภาพ • กระทรวงกลาโหม
จากสัญั ญาณและข้อ้ มูลู เวลาและ สำ�ำ หรับั การวิจิ ััยและบริกิ าร • กระทรวงมหาดไทย
พิกิ ััดความแม่น่ ยำ�ำ สูงู สัญั ญาณและข้อ้ มูลู เวลา • กระทรวงคมนาคม
และพิกิ ัดั ความแม่น่ ยำ�ำ สูงู • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
• รายได้จากการขายขอ้ มูลเวลาและ ครบถ้ว้ นและเพีียงพอ
พิกิ ััดความแม่น่ ยำ�ำ สูงู และสังั คม
• โครงสรา้ งพ้ืนฐานทางคณุ ภาพ
• บริการโทรคมนาคมบนเครือขา่ ย ของประเทศสามารถรองรับั และ • กระทรวงอุตสาหกรรม
5G บริกิ ารระบุุเวลา (Time) สนับั สนุนุ บริกิ ารโทรคมนาคม • กระทรวงพลังงาน
พิกิ ััด (Position) และการนำำ�ทาง ในอนาคตให้ม้ ีีเสถีียรภาพ • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
(Navigation) มีีเสถีียรภาพและ
ความต่่อเนื่�อ่ ง และสิ่่ง� แวดล้้อม
• กระทรวงพาณชิ ย์
• กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
• กระทรวงสาธารณสุข
• กระทรวงการอุดมศึกษา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
64
แพลตฟอร์์ม 3 การวิิจัยั และสร้า้ งนวัตั กรรมเพื่อ่� เพิ่่ม� ขีีดความสามารถการแข่่งขััน
เป้า้ หมาย 03
ยกระดับั ขีีดความสามารถในการแข่่งขัันของประเทศด้ว้ ยการวิิจััยและพัฒั นานวััตกรรม
ผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่�ส่ ํําคััญ
KR3.1 อันั ดับั ขีีดความสามารถ KR3.2 ดัชั นีีความสามารถ KR3.3 สัดั ส่่วนการ KR3.4 จํํานวนวิสิ าหกิิจเริ่่�มต้้น
ในการแข่่งขันั ด้้านวิทิ ยาศาสตร์์ ด้้านนวัตั กรรม (GI) ของไทย พัฒั นาเทคโนโลยีีของตนเอง (Startup) และวิสิ าหกิจิ ฐานนวัตั กรรม
และเทคโนโลยีี จัดั โดย IMD ดีีขึ้้น� อย่่างต่่อเนื่อ่� ง ต่่อการพึ่่ง� พาเทคโนโลยีีจาก (Innovation-driven Enterprises:
อยู่่ใ� น 30 อันั ดับั แรก ภายนอกจาก 10:90 เป็น็ IDEs) ที่ม�่ ีีศักั ยภาพเติบิ โตได้้อย่่าง
30:70 ก้้าวกระโดด 5,000 ราย
P.10 ยกระดับั ความสามารถการแข่่งขััน P.11 สร้้างและยกระดัับศัักยภาพวิิสาหกิจิ เริ่่ม� ต้น้ (Startup)
และวางรากฐานทางเศรษฐกิจิ พัฒั นาระบบนิิเวศนวััตกรรม และพื้้น� ที่เ่� ศรษฐกิิจนวัตั กรรม
O3.10a พััฒนาและยกระดัับความสามารถการแข่่งขัันของผู้�้ O3.11a พััฒนาวิิสาหกิจิ ฐานนวัตั กรรมที่�่มีีศักั ยภาพเติิบโตได้้อย่่าง
ประกอบการในอุตุ สาหกรรมยุทุ ธศาสตร์ด์ ้้วยการวิิจัยั และ ก้้าวกระโดด
พัฒั นานวััตกรรม
KR3.11a.1 วิสิ าหกิจิ เริ่่ม� ต้้นที่จ่� ัดั ตั้้ง� ใหม่่และอยู่่ร� อดเกินิ 3 ปีี จำ�ำ นวน
KR3.10a.1 การลงทุุนวิิจััยและนวัตั กรรมของผู้้ป� ระกอบการไทยใน 1,000 ราย
อุุตสาหกรรม S-Curve เพิ่่ม� ขึ้้�นร้้อยละ 15 ต่่อปีี KR3.11a.2 วิสิ าหกิจิ เริ่่ม� ต้้นที่ม่� ีีมูลู ค่่าบริษิ ัทั มากกว่่า 1 พันั ล้้านเหรีียญ
KR3.10a.2 จำ�ำ นวนผู้้�ประกอบการไทยขนาดกลางและขนาดย่่อมใน ดอลลาร์ส์ หรัฐั ฯ จำ�ำ นวน 1 ราย
KR3.10a.3 อุุตสาหกรรม S-Curve ที่�่ลงทุุนพัฒั นาเทคโนโลยีีและ O3.11b พััฒนาและเพิ่่ม� การใช้้ประโยชน์พ์ ื้้�นที่�่เศรษฐกิิจนวััตกรรม
นวััตกรรม เพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 10 ต่่อปีี (Economic Zone of Innovation)/อุุทยานวิทิ ยาศาสตร์์
(Science Parks)/ระเบีียงนวััตกรรมภาคตะวัันออก (EECi)/
การขาดดุุลการชำ�ำ ระเงินิ ทางเทคโนโลยีี (Technology เมืืองนวััตกรรมอาหาร (Food Innopolis)
balance of payment) ลดลง 100,000 ล้้านบาท
O3.10b ต่อ่ ยอดอุุตสาหกรรมยุทุ ธศาสตร์แ์ ละวางรากฐานการ KR3.11b.1 ผู้้ป� ระกอบการที่ม�่ าใช้้ประโยชน์ใ์ นพื้้น� ที่เ่� ศรษฐกิจิ นวัตั กรรม/
พัฒั นาเศรษฐกิจิ ภายใต้้แนวคิดิ เศรษฐกิจิ ชีีวภาพ เศรษฐกิิจ อุุทยานวิทิ ยาศาสตร์/์ EECi/เมืืองนวัตั กรรมอาหาร มีีจำ�ำ นวน
หมุุนเวีียน และเศรษฐกิจิ สีีเขีียว (Bio-Circular-Green Economy: เพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 10 ต่่อปีี
BCG Economy)
KR3.11b.2 มูลู ค่่าการลงทุุนวิจิ ัยั และพัฒั นานวัตั กรรมของบริษิ ัทั ที่ม�่ าใช้้
KR3.10b.1 มูลู ค่่าทางเศรษฐกิจิ ที่�่เกิดิ จากเศรษฐกิจิ BCG (เกษตร ประโยชน์ใ์ นพื้้น� ที่เ�่ ศรษฐกิจิ นวัตั กรรม/อุุทยานวิทิ ยาศาสตร์/์
และอาหาร การแพทย์ส์ ุุขภาพ การท่่องเที่ย�่ วและ EECi/เมืืองนวัตั กรรมอาหาร เพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 10 ต่่อปีี
KR3.10b.2 เศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ พลัังงานและวััสดุุชีีวภาพ) ไม่่ต่ำ��ำ O3.11c ปรับั ปรุงุ กฎระเบีียบและกฎหมาย พัฒั นามาตรการและแรงจููงใจ
กว่่าร้้อยละ 25 ของผลิติ ภัณั ฑ์์มวลรวมในประเทศ รวมถึึงการบริิการภาครััฐ ให้เ้ อื้้อ� ต่่อการดำ�ำ เนินิ ธุุรกิจิ นวัตั กรรม
(Ease of doing innovation business) ของผู้้�ประกอบการ
การจ้้างงานแรงงานที่ใ�่ ช้้ความรู้้แ� ละทักั ษะ (Knowledge
Worker) ในอุุตสาหกรรมเป้า้ หมาย BCG เพิ่่ม� ขึ้้น� ไม่่น้้อย
กว่่า 1,000,000 ตำ�ำ แหน่่ง KR3.11c.1 อันั ดับั นโยบายของภาครัฐั ที่ม่� ีีต่่อวิสิ าหกิจิ และผู้้ป� ระกอบการ
ด้้านการสนับั สนุุนและความสอดคล้้องของนโยบาย อยู่่ใ� น
KR3.10b.3 วิสิ าหกิจิ ฐานนวััตกรรมที่่�เกี่ย�่ วข้้องกัับเศรษฐกิิจ BCG อันั ดับั ที่�่ 15
เพิ่่�มขึ้้น� 10,000 ราย
KR3.10b.4 ปริมิ าณขยะลดลง 16.5 ล้้านตัันต่่อปีี KR3.11c.2 สินิ ค้้าหรืือบริกิ ารในบัญั ชีีนวัตั กรรมไทยได้้รับั การจัดั ซื้้อ� จัดั จ้้าง
โดยหน่่วยงานภาครัฐั เพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 10 ต่่อปีี
แผนงาน/โครงการสํําคัญั แผนงาน/โครงการสํําคัญั
• BCG in Action • การพัฒนาสตารท์ อพั และผู้ ประกอบการนวัตกรรม
• การพฒั นาตอ่ ยอดเทคโนโลยีจากตา่ งประเทศสําหรบั อุตสาหกรรม
ยุุทธศาสตร์์ (Technology Localization)
• Public-Private Partnership for RDI
65
KR3.5 จำ�ำ นวนวิิสาหกิิจที่ล�่ งทุุนด้้านวิิจััย พัฒั นาและ
นวัตั กรรม อย่่างน้้อย 100 ล้้านบาทต่่อปีี เพิ่่ม� ขึ้้น� เป็็น
ร้้อยละ 10 ของจำ�ำ นวนวิสิ าหกิิจทั้้�งหมดที่่ล� งทุุนด้้านวิจิ ัยั
พัฒั นาและนวัตั กรรม
P.12 โครงสร้้างพื้้�นฐานทางคุุณภาพและบริกิ าร
O3.12a ประเทศไทยเป็น็ ศููนย์์กลางการบริกิ ารโครงสร้า้ งพื้้�นฐาน
ทางคุุณภาพของอาเซีียน
KR3.12a.1 ประเทศไทยมีีความสามารถทางการวัดั และวิเิ คราะห์์
สูงู ที่ส่� ุุด 1 ใน 5 ของเอเชีีย และมีีอุุตสาหกรรมบริกิ าร
โครงสร้้างพื้้น� ฐานทางคุุณภาพที่ใ�่ หญ่่ที่ส�่ ุุดในอาเซีียน
KR3.12a.2 บริกิ ารวิเิ คราะห์์ ทดสอบและสอบเทีียบมีีคุุณภาพระดับั โลก
O3.12b สินิ ค้้าและบริกิ ารสำำ�คัญั ทางเศรษฐกิิจและวัฒั นธรรม
ที่ผ�่ ่่านการรัับรองมาตรฐานในประเทศสามารถแข่่งขััน และ
เป็น็ ที่่�ยอมรับั ในตลาดโลก
KR3.12b.1 เครื่อ่� งหมายคุุณภาพของไทยได้้รับั การยอมรับั ในคุุณค่่า
KR3.12b.2 และคุุณภาพทัดั เทีียมเครื่อ�่ งหมายคุุณภาพสินิ ค้้าของ EU
และญี่ป่� ุ่น�่ โดยเฉพาะกลุ่ม�่ สินิ ค้้าเกษตรและสินิ ค้้า
วัฒั นธรรม
การส่่งออกสินิ ค้้าเกษตรและสินิ ค้้าวัฒั นธรรมที่ไ�่ ด้้รับั
ตราเครื่อ�่ งหมายคุุณภาพของไทยเพิ่่ม� มากขึ้้น�
แผนงาน/โครงการสํําคัญั
• NQI เพือ่ อาหารสุขภาพและสมนุ ไพรไทย/NQI สําหรบั ยาชีววัตถ/ุ NQI
สํําหรับั อุุตสาหกรรมเทคโนโลยีีอัจั ฉริิยะ/NQI สํําหรับั ยานยนต์อ์ นาคต
และการเคลื่่�อนย้้ายในอนาคต (Future Vehicle & Seamless
Mobility)
• Precise Timing & Positioning Platform for Innovative Services
66
การวิจิ ััยและ การพัฒั นาเศรษฐกิจิ ฐานราก เป็น็ การดำำ�เนินิ การที่�่สำ�ำ คััญในการพัฒั นา
และยกระดัับประเทศให้เ้ ป็น็ ประเทศรายได้้สูงู ที่�่มีีการกระจายรายได้้อย่า่ งทั่่�วถึึง
สร้้างนวัตั กรรม เป็น็ การวางรากฐานที่�่มั่่น� คงให้ก้ ับั เศรษฐกิจิ ไทยในอนาคต การส่ง่ เสริมิ เศรษฐกิจิ
เพื่่� อการพัั ฒนา ระดัับชุุมชนท้้องถิ่่�นให้ม้ ีีความเข้ม้ แข็ง็ มีีศักั ยภาพในการแข่ง่ ขันั พึ่่�งพาตนเองได้้
เชิิงพื้้� นที่�แ่ ละ จะก่อ่ ให้เ้ กิดิ การยกระดัับมาตรฐานการครองชีีพและความเป็น็ อยู่่�ของประชาชน
ลดความเหลื่่อ� มล้ำ��ำ ให้้ดีีขึ้้�น และนำ�ำ ไปสู่่�การแก้้ไขปััญหาความยากจน ความเหลื่�่อมล้ำำ� และความ
ไม่เ่ สมอภาคตามเป้้าหมายการพัฒั นายุุทธศาสตร์ช์ าติิ โดยเฉพาะด้้านการสร้า้ ง
โอกาสและความเสมอภาคทางสังั คม เพื่�อ่ ให้ป้ ระชาชนได้ร้ ับั ผลประโยชน์จ์ ากการ
พััฒนาอย่่างทั่่�วถึึงและเป็็นธรรม ผ่่านการเสริิมสร้้างความเข้้มแข็็งให้้กัับชุุมชน
ให้ก้ ลายเป็น็ ชุุมชนนวััตกรรมและมีีนวััตกรในชุุมชน
การใช้น้ วััตกรรมสังั คมเข้า้ ไปช่ว่ ยแก้้ปัญั หาในชุุมชน ส่ง่ เสริมิ การสร้า้ ง
มูลู ค่า่ เพิ่่ม� จากทุนุ ทางสังั คม ทรัพั ยากรธรรมชาติิ และวัฒั นธรรม เพื่�อ่ สร้า้ งรายได้้
ให้้เกษตรกร วิิสาหกิิจเริ่่ม� ต้้น และวิิสาหกิิจชุุมชน การแก้้ไขปัญั หาความยากจน
อย่่างแม่่นยำ�ำ ในทุุกมิิติิ ด้้วยการวิิเคราะห์์สถานการณ์์จากฐานข้้อมููลขนาดใหญ่่
รวมไปถึึงการกระจายความเจริญิ สู่่�เมืืองต่่าง ๆ ทุกุ ภูมู ิภิ าค ให้เ้ ป็น็ แหล่่งสร้า้ งงาน
สร้้างรายได้้ ประชาชนมีีคุุณภาพชีีวิิตที่�่ดีี และเป็็นกำำ�ลัังสำ�ำ คััญในการพััฒนา
เศรษฐกิิจของประเทศบนความสามารถของคนในพื้้�นที่�่
67
เป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์�ที่�ส่ ำำ�คัญั
Objectives and Key Results: OKR
เป้า้ หมาย O4
กระจายความเจริญิ และสร้า้ งความเข้ม้ แข็ง็ ของเศรษฐกิจิ สังั คมท้อ้ งถิ่่น� ด้ว้ ยความรู้�และนวัตั กรรม
ผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่ส�่ ำำ�คัญั
KR4.1 ตำำ�บลร้อ้ ยละ 50 ของประเทศเข้า้ สู่่�กระบวนการนำำ�เอาความรู้�และนวััตกรรมไปใช้้
เพื่�อ่ ยกระดัับคุณุ ภาพชีีวิิต
KR4.2 คนจนกลุ่่�มรายได้้ร้อ้ ยละ 40 ล่่างมีีรายได้้เพิ่่ม� ขึ้้�นร้อ้ ยละ 15 ต่่อปีี
KR4.3 จำำ�นวนเมืืองศูนู ย์ก์ ลางทางเศรษฐกิิจที่�่มีีการพัฒั นาศูนู ย์เ์ ศรษฐกิิจ แหล่่งที่�่อยู่่�อาศััย
และคุณุ ภาพสิ่่ง� แวดล้้อมในเมืืองอยู่่�ในเกณฑ์์มาตรฐาน
KR4.4 ดัชั นีีการพัฒั นาอย่า่ งทั่่�วถึงึ (Inclusive Development Index: IDI จััดทำ�ำ โดย World
Economic Forum (WEF)) ของไทย ถูกู จัดั อัันดับั อยู่่�ใน 10 อัันดับั แรก ในกลุ่่�ม
ประเทศกำ�ำ ลังั พัฒั นา
KR4.5 ช่อ่ งว่า่ งความเหลื่�อ่ มล้ำ�ำ ระหว่า่ งพื้้�นที่ล�่ ดลง โดยความแตกต่า่ งระหว่า่ งสัดั ส่ว่ นกลุ่่�ม
ประชากรที่ม�่ ีีรายได้ต้ ่อ่ หัวั มากที่ส�่ ุดุ 20% บนกับั 20% ล่า่ งของจังั หวัดั ไม่เ่ กินิ 3 เท่า่
แพลตฟอร์์มที่�่ 4 การวิิจััยและสร้้างนวััตกรรมเพื่่� อการพัั ฒนาเชิิงพื้้� นที่แ�่ ละ
ลดความเหลื่่�อมล้ำ�ำ� ประกอบด้้วย 3 โปรแกรม คืือ
โปรแกรม 13 นวััตกรรมสำ�ำ หรับั เศรษฐกิิจฐานรากและชุุมชนนวััตกรรม
โปรแกรม 14 ขจััดความยากจนแบบเบ็ด็ เสร็จ็ และแม่น่ ยำ�ำ
โปรแกรม 15 เมืืองน่า่ อยู่่�และการกระจายศููนย์ก์ ลางความเจริญิ
68
โปรแกรมที่�่ 13
นวัตั กรรมสำ�ำ หรับั เศรษฐกิิจฐานรากและชุมุ ชนนวัตั กรรม
จากทิศิ ทางการปฏิริ ููปประเทศที่ม�่ ุ่่�งสู่่�เป้า้ หมายการพัฒั นาที่ย�่ ั่่ง� ยืืน ทำำ�ให้ม้ ีีการกำำ�หนดทิศิ ทางยุทุ ธศาสตร์์
ชาติิ 20 ปีี และแผนพัฒั นาเศรษฐกิิจและสังั คม ฉบับั ที่�่ 12 ให้ป้ ระเทศไทยหลุดุ พ้น้ จากกัับดัักรายได้้ปานกลาง
ควบคู่่�ไปกัับการลดปััญหาความเหลื่�่อมล้ำำ� โดยอาศััยองค์์ความรู้�และนวััตกรรม ตามหลัักคิิดประเทศไทย 4.0
ท่่ามกลางสถานการณ์์ที่�่สัังคมชุุมชนท้้องถิ่่�นในปััจจุุบัันมีีพลวััตและความซัับซ้้อนสููง และมีีลัักษณะ
เชื่�อ่ มโยงต่อ่ เนื่�อ่ งเป็น็ ความท้า้ ทายที่ส�่ ำ�ำ คัญั ภาคส่ว่ นต่า่ ง ๆ ในสังั คมจึงึ จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งมีีความสามารถในการ “ตั้้ง� รับั ”
และ “ปรับั ตััว” ซึ่�ง่ การตััดสินิ ใจที่�่ดีีต้้องการข้อ้ มููล ความรู้� การถอดประสบการณ์ท์ ี่�่ได้้มาจาก “งานวิิจััย”
การที่�่ชาวบ้้านในชุุมชนจะสามารถปรัับตััวสอดรัับกัับโลกในศตวรรษที่�่ 21 อีีกทั้้�งยัังเป็็นพลัังร่่วม
ขับั เคลื่�่อนประเทศสู่่� “ประเทศไทย 4.0” ตามเป้้าหมายของนโยบายได้้นั้้�น การพัฒั นาให้ค้ นไทยเป็น็ “คนไทย
4.0” จึึงเป็็นหััวใจสำ�ำ คััญ ซึ่�่งจะต้้องมีีคุุณลัักษณะสำ�ำ คััญคืือ การเป็็น “นวััตกร” ที่�่สามารถสร้้างนวััตกรรม
ยกระดัับคุณุ ภาพชีีวิิตและพัฒั นาเมืือง ตลอดจนสร้า้ งมูลู ค่่าเพิ่่ม� ผลผลิิตใหม่่ หรืือเศรษฐกิิจสร้า้ งสรรค์์ขึ้้�นมาได้้
จากการจััดการทุนุ ทางวััฒนธรรม ทุนุ ทางสังั คม ทุนุ ทางสิ่่ง� แวดล้้อม
จากความท้้าทายและเป้้าหมายในการขัับเคลื่�่อนสู่่�ประเทศไทย 4.0 ต้้องใช้ค้ นแก้้ปััญหา และวิิธีีการ
แก้้ปััญหาต้้องเป็็น 4.0 กล่่าวคืือ การสร้้างและใช้้นวััตกรรมในการแก้้ปััญหา แต่่แนวคิิดหลัักที่�่ผ่่านมา มุ่่�งเน้้น
นวััตกรรมที่�่เป็น็ เทคโนโลยีี และสร้า้ งนวััตกรรมจากบุุคคลภายนอก เช่น่ นักั วิิชาการ นักั เทคโนโลยีี ซึ่�ง่ มีีข้อ้ จำำ�กััด
เรื่�อ่ งการไม่ส่ อดคล้อ้ งกับั ความต้้องการของชุุมชน และปัญั หาการถ่่ายทอดเทคโนโลยีีสู่่�ชุุมชน จึงึ เกิดิ แนวคิดิ ใหม่่
คืือ การให้ช้ ุุมชน ชาวบ้า้ นที่�่ต้้องการนวััตกรรมเป็น็ ผู้้�สร้า้ งนวััตกรรมเป็น็ หลััก โดยมีีหน่ว่ ยงาน ภาคีีต่่าง ๆ เข้า้ มา
มีีส่่วนร่่วมในกระบวนการเพิ่่�มขีีดความสามารถของชุุมชนและท้้องถิ่่�นในการบริิหารจััดการตนเอง มีีความ
สามารถในการบริิหารห่่วงโซ่่คุุณค่่าเพื่�่อเศรษฐกิิจท้้องถิ่่�น ตลอดจนมีีการสร้้างระบบข้้อมููลและแพลตฟอร์์ม
ความรู้�เพื่�อ่ การพัฒั นาเศรษฐกิิจฐานราก
โดยมีีเป้้าหมายปลายทาง (Ultimate Goal) คืือ การสร้้างโอกาสให้้ชาวบ้้าน ได้้ลุุกขึ้้�นมาแก้้ปััญหา
ของชุมุ ชนเอง สร้า้ งความเข้ม้ แข็ง็ เพื่�อ่ สร้า้ งรายได้้ ลดความเหลื่�อ่ มล้ำ�ำ ซึ่ง�่ จะนำ�ำ ไปสู่่�การพัฒั นาที่ย�่ ั่่ง� ยืืนในระยะยาว
สามารถตั้้�งรับั ปรับั ตััวกัับกระแสต่่าง ๆ ที่�่เกิิดขึ้้�นอย่า่ งรวดเร็ว็ ได้้ บนฐานคิิดที่�่เชื่�อ่ ว่่า “การสร้า้ งประเทศ จะต้้อง
สร้า้ งจากฐานรากที่�่มีีพลัังและเชื่�อ่ มร้อ้ ยงานให้้เกิิดขึ้้�นกระจายในทุกุ พื้้�นที่�่...”
69
โปรแกรม 13 เป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์�ที่�่สำำ�คัญั
Objectives and Key Results: OKR
O4.13 เพิ่่ม� ขีดี ความสามารถของชุุมชนท้้องถิ่่�นในการพัฒั นา การพึ่่�งตนเองและการจััดการตนเองบนฐาน
ปรัชั ญาเศรษฐกิิจพอเพียี ง
KR4.13.1 เกิิดนวััตกรรมชุุมชน เพื่�อ่ ยกระดัับรายได้้ให้ก้ ัับชุุมชน ปีีละ 1,000 นวััตกรรม
KR4.13.2 จำำ�นวน Smart Community/ชุุมชนนวััตกรรม มีีความสามารถในการพัฒั นาการพึ่่�งตนเองและ
จััดการตนเอง เพิ่่ม� ขึ้้�น 3,000 ชุุมชน
KR4.13.3 มููลค่่าเศรษฐกิิจสร้า้ งสรรค์์บนฐานทุนุ ทรัพั ยากร วััฒนธรรมในพื้้�นที่�่เพิ่่ม� ขึ้้�นร้อ้ ยละ 10 ต่่อปีี
ตัวั อย่่างแผนงาน/โครงการสำ�ำ คัญั
เป้า้ หมาย ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่่�สำ�ำ คััญ หน่่วยงานขัับเคลื่อ่� น
โครงการชุมุ ชนนวัตั กรรม
• ส�ำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริม
• ชุมชนพ่ึงตนเองและบริหารจัดการ • ชุมชนนวัตกรรม 1,000 ชุมชน/ปี วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
ตนเองได้้อย่า่ งยั่่�งยืืน • นักขับเคลื่อน/นวัตกรชุมชน • สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีีแห่ง่ ประเทศไทย
• สรา้ งมูลค่าเพิม่ ของผลผลิตในพ้ืนท่ี อย่า่ งน้้อย 3,000 คน/ปีี
• กรมวิทยาศาสตร์บรกิ าร
จากทุนุ ทางสังั คมด้้วยนวััตกรรม • เกิดนวัตกรรมชุมชน • สถาบันอุดมศึกษา
ตลอดห่ว่ งโซ่ค่ ุณุ ค่่า 1,000 นวััตกรรม/ปีี
โครงการนวััตกรรมสัังคม
• สร้างระบบนิเวศนวัตกรรมเพื่อ • นวัตกรรมเพื่อสงั คมท่ีพรอ้ มขยายผล • ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
สังั คมในระดัับภูมู ิิภาค มุ่่�งเน้น้ สู่่�ชุมุ ชนเป้า้ หมาย 100 ผลงาน/ปีี • วิสาหกิจเพื่อสังคม
วิิสาหกิิจเพื่�อ่ สังั คม วิิสาหกิิจเริ่่ม� ต้้น • วิสาหกิจเริม่ ต้น
องค์์กรปกครองส่ว่ นท้้องถิ่่�น ชุุมชน • องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
และมหาวิิทยาลััย • สถาบันอุดมศึกษา
70
ตัวั อย่า่ งแผนงาน/โครงการสำ�ำ คัญั
เป้้าหมาย ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่่�สำำ�คัญั หน่่วยงานขัับเคลื่อ่� น
โครงการมหาวิิทยาลััยเพื่อ่� การพัฒั นาพื้้น� ที่�่ (University for Inclusive Growth Program: UNIG)
• เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถของชุมชน • เกิดนวัตกรรมชุมชน วิสาหกิจชุมชน • ส�ำนักงานการวิจัยแหง่ ชาติ
ท้้องถิ่่�นในการพัฒั นา การพึ่่�งตน และ
การจััดการตนเองบนฐานปรัชั ญาของ และ Smart SMEs เพื่�อ่ ยกระดัับ • มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แหง่
เศรษฐกิิจพอเพีียง รายได้้ให้ก้ ัับชุุมชน ปีีละ 1,000
นวััตกรรม ภายในปีี พ.ศ. 2567 • หนว่ ยวิจัย/สถาบันวิจัย/
• เพื่อสง่ เสริมและสนับสนุนให้สถาบนั เครืือข่า่ ยวิิจััยในพื้้�นที่�่
อุุดมศึกึ ษา/หน่ว่ ยวิิจััย/สถาบันั วิิจััย/ • จ�ำนวน Smart Community/
เครืือข่า่ ยวิิจััยในพื้้�นที่�่ ปฏิิบัตั ิิงานร่ว่ ม
กัับผู้้�ใช้ป้ ระโยชน์์จากงานวิิจััยและ ชุุมชนนวััตกรรม มีีความสามารถ
นวััตกรรมในภาคการผลิิต บริกิ าร
สังั คมและชุุมชน ในการพัฒั นาการพึ่่�งตนเองและ
จััดการตนเอง เพิ่่ม� ขึ้้�น 1,000 ชุุมชน
ภายในปีี พ.ศ. 2567
71
โปรแกรมที่�่ 14
ขจัดั ความยากจนแบบเบ็ด็ เสร็จ็ และแม่น่ ยำ�ำ
ปััญหาความยากจนยัังคงเป็็นปััญหาสำ�ำ คััญของประเทศไทย ซึ่�่งมีีประชากรที่�่นิิยามว่่ายากจนหรืือมีี
รายได้้ต่ำำ�กว่่าเส้น้ ความยากจนอยู่่� 5.6 ล้้านราย
อย่่างไรก็็ตาม ความยากจนเป็็นปััญหาที่�่ไม่่ได้้จำำ�กััดเฉพาะด้้านรายได้้เท่่านั้้�น แต่่ยัังหมายรวมถึึง
ความสามารถในการเข้้าถึึงทรััพยากร เช่่น ที่�่ดิินทำำ�กิิน การศึึกษาหรืือข่่าวสารความรู้�ในการประกอบอาชีีพ
ตลอดจนความสามารถในการเข้า้ ถึึงบริกิ ารต่่าง ๆ ของภาครัฐั ซึ่�ง่ เป็็นปััจจััยที่�่จะทำำ�ให้้สามารถดำำ�รงชีีวิิตอยู่่�ได้้
อย่า่ งเสมอภาคในสังั คม ทั้้�งนี้้� ยุุทธศาสตร์ช์ าติิ 20 ปีี ได้้กำำ�หนดเป้้าหมายให้ด้ ััชนีีการพัฒั นาอย่า่ งทั่่�วถึึงของไทย
เพิ่่ม� ขึ้้�นจาก 4.24 เป็น็ 4.3 คะแนน ภายใน 5 ปีี ซึ่�ง่ หมายถึึงประชากรกลุ่่�มที่�่มีีรายได้้น้้อยจะต้้องมีีรายได้้เพิ่่ม� ขึ้้�น
อย่า่ งทั่่�วถึึงและต่่อเนื่�อ่ ง และเป้้าหมายการพัฒั นาอย่า่ งยั่่�งยืืนของสหประชาชาติิ
ที่�่ผ่า่ นมาภาครัฐั ได้้ใช้ง้ บประมาณไปกัับการแก้้ปัญั หาความยากจนรวมหรืือกลุ่่�มผู้้�ด้้อยโอกาสในสังั คม
อยู่่�มากมาย ผ่า่ นมาตรการโครงการต่่าง ๆ เช่น่ บัตั รสวััสดิิการแห่ง่ รัฐั กองทุนุ หมู่่�บ้า้ น โครงการชดเชยดอกเบี้้�ย
สินิ เชื่�อ่ การส่ง่ เสริมิ วินิ ัยั ทางการเงินิ ด้า้ นการพัฒั นาที่อ�่ ยู่่�อาศัยั การฟื้้� นฟูผู ู้้�ประสบอุทุ กภัยั และภัยั พิบิ ัตั ิิ ตลอดจน
มาตรการส่่งเสริิมด้้านการผลิิต การตลาด อย่่างไรก็็ตาม การแก้้ปััญหาความยากจนระยะต่่อจากนี้้�จะต้้องให้้
ความสำ�ำ คััญกัับความต่่อเนื่�อ่ งของงบประมาณและการบููรณาการความช่ว่ ยเหลืือในมิิติิต่่าง ๆ เพื่�อ่ แก้้ปัญั หาให้้
ตรงจุุดมากยิ่่ง� ขึ้้�น ซึ่�ง่ Big Data หรืือระบบข้อ้ มููลขนาดใหญ่จ่ ะเข้า้ มามีีบทบาทสำ�ำ คััญในการบ่ง่ ชี้้�กลุ่่�มเป้า้ หมาย
บริิหารจััดการความช่่วยเหลืือ ติิดตามประเมิินผลการแก้้ปััญหาความยากจน ตลอดจนใช้้เป็็นข้้อมููลในการ
ออกแบบมาตรการและสวััสดิิการต่่าง ๆ ให้้ตรงตามความต้้องการและทัันท่่วงทีี เช่่น การจััดสวััสดิิการเพื่�่อ
เข้้าถึึงคนจนกลุ่่�มเป้้าหมายเฉพาะ การพััฒนาอาชีีพและทัักษะการประกอบการของเกษตรกรและคนจนกลุ่่�ม
เป้า้ หมายเฉพาะ การพัฒั นาระบบหนุุนเสริมิ และโครงสร้า้ งพื้้�นฐานเพื่�อ่ การปรับั เปลี่�่ยนอาชีีพ เป็น็ ต้้น
โปรแกรม 14 เป้า้ หมายและผลสััมฤทธิ์์�ที่่ส� ำำ�คััญ
Objectives and Key Results: OKR
O4.14 ประชากรกลุ่่�มยากจนหลุดุ พ้น้ จากความยากจนอย่า่ งยั่่�งยืนื และสามารถเข้า้ ถึึงทรัพั ยากร
การศึกึ ษา สวััสดิิการต่่าง ๆ ที่่จ� ำำ�เป็น็ ต่่อการดำำ�รงชีวี ิิตได้้อย่า่ งเท่่าเทียี ม
KR4.14.1 ระบบวิิเคราะห์ข์ ้อ้ มูลู เพื่�อ่ ติิดตามกลุ่่�มเป้้าหมายคนจนที่�่มีีความแม่น่ ยำ�ำ เพื่�อ่ ให้้การจััดสรร
สวััสดิิการรัฐั มีีประสิทิ ธิภิ าพและประสิทิ ธิผิ ลมากขึ้้�น
KR4.14.2 คนจนไม่น่ ้อ้ ยกว่่า 20,000 คน ได้้รับั การพัฒั นาความรู้�และทัักษะเพื่�อ่ ปรับั เปลี่�่ยนเป็น็
Knowledge Worker หรืือ Smart Farmer มีีรายได้้และคุณุ ภาพชีีวิิตดีีขึ้้�น
72
ตัวั อย่่างแผนงาน/โครงการสำ�ำ คัญั
เป้า้ หมาย ผลสัมั ฤทธิ์์�ที่�่สำ�ำ คัญั หน่่วยงานขัับเคลื่อ�่ น
โครงการระบบบริิหารจัดั การข้้อมููลการพััฒนาคนแบบชี้�้เป้า้ (TP-MAP)
• มาตรการ บรกิ าร สวัสดิการท่ี • ระบบขอ้ มูลเพื่อติดตาม • ศูนยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
แก้้ปััญหาความยากจนได้้อย่า่ ง กลุ่่�มเป้า้ หมายคนจน คอมพิวิ เตอร์แ์ ห่ง่ ชาติิ
เบ็ด็ เสร็จ็ และแม่น่ ยำ�ำ
• สภาพฒั นาการเศรษฐกิจและ
สังั คมแห่ง่ ชาติิ
73
โปรแกรมที่�่ 15
เมืืองน่า่ อยู่่�และการกระจายศููนย์ก์ ลางความเจริญิ
การพัฒั นาประเทศจำำ�เป็น็ ต้้องให้ค้ วามสำ�ำ คััญกัับการกระจายศูนู ย์ก์ ลางความเจริญิ ทางเศรษฐกิิจและ
สัังคม ในฐานะเป็็นยุุทธศาสตร์์สำ�ำ คััญของการสร้้างโอกาสและลดความเหลื่�่อมล้ำำ�ซึ่�่งเป็็นปััญหาสำ�ำ คััญของ
ประเทศ
การที่�่เศรษฐกิิจและแหล่่งจ้้างงานมีีการกระจุุกตััวในเมืืองใหญ่่เพีียงไม่่กี่�่แห่่ง ทำำ�ให้้เกิิดการอพยพ
แรงงาน แรงงานต้้องทิ้้�งครอบครัวั ไปหางานทำำ�ในเมืือง เกิดิ การเปลี่ย�่ นแปลงโครงสร้า้ งของครอบครัวั และปัญั หา
เยาวชนและสังั คมตามมา
ดังั นั้้น� จึงึ จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กิดิ เมืืองหลักั ให้ม้ ากขึ้้น� และมีีการกระจายตัวั ในทุกุ ภูมู ิภิ าค เช่น่ การพัฒั นา
เขตพิเิ ศษและความร่ว่ มมืือในภููมิภิ าค เพื่�อ่ เป็น็ กลจัักรสำ�ำ คััญของการสร้า้ งเศรษฐกิิจบนฐานทรัพั ยากร แรงงาน
ความรู้�และความริเิ ริ่่ม� สร้า้ งสรรค์์ของคนในพื้้�นที่�่
จากการคาดการณ์ใ์ นอนาคตเกี่ย�่ วกับั การขยายตัวั ของเมืือง ทำำ�ให้ค้ าดได้ว้ ่า่ ประชากรของประเทศไทย
เกิินกว่่าครึ่่�งหนึ่่�งของประชากรทั้้�งประเทศจะอาศััยอยู่่�ในเมืือง และเส้้นแบ่่งระหว่่างเมืืองกัับชนบทจะน้้อยลง
เป็็นลำำ�ดัับ ด้้วยพัฒั นาการของเทคโนโลยีีสารสนเทศที่�่ทั่่�วถึึง
หากมิิได้้เตรีียมการรองรับั กัับสถานการณ์ด์ ัังกล่่าว อาจเกิิดความไม่ส่ มดุลุ ในด้้านสิ่่ง� แวดล้้อมและเกิิด
ผลกระทบต่่อคุณุ ภาพชีีวิิตของประชาชนในเมืือง
ดัังนั้้น� จึึงจำำ�เป็น็ ต้้องมีีการจััดทำำ�แนวทางการพัฒั นาเมืืองอย่า่ งยั่่ง� ยืืน เมืืองน่า่ อยู่่� (Smart/Livable City)
และเมืืองอััจฉริยิ ะ ซึ่�ง่ ไม่เ่ พีียงพัฒั นาทางกายภาพเท่่านั้้�น แต่่จะรวมไปถึึงการบริหิ ารจััดการด้้วย เช่น่ การพัฒั นา
ระบบงบประมาณพื้้�นที่�่และระบบบริิหารราชการแผ่่นดิินเพื่�่อการกระจายศููนย์์กลางความเจริิญ การเพิ่่�ม
ขีีดความสามารถขององค์์กรปกครองส่ว่ นท้้องถิ่่�นในการบริหิ ารจััดการพื้้�นที่�่ ซึ่�ง่ มีีวััตถุปุ ระสงค์์หลัักให้ป้ ระชาชน
ผู้้�อยู่่�อาศััย “อยู่่�ดีีมีีสุุข” ทั้้�งในมิิติิสิ่่�งแวดล้้อม มิิติิเศรษฐกิิจ และมิิติิสัังคม (อ้้างอิิงจาก: กรอบวิิจััยแผนงาน
บููรณาการวิิจััยและนวััตกรรม งบประมาณปีี 2563)
74
โปรแกรม 15 เป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่ส�่ ำำ�คััญ
Objectives and Key Results: OKR
O4.15 พัฒั นาเมืืองศููนย์ก์ ลางในภููมิภิ าคในการสนัับสนุุนการพัฒั นาคุณุ ภาพชีวี ิิตของคนในเมืือง
และเชื่่�อมโยงความเจริญิ สู่่�ชนบท
KR4.15.1 เมืืองศููนย์ก์ ลางที่�่น่า่ อยู่่�และเป็็น Smart City ในภูมู ิภิ าค 30 เมืือง โดยมีีแผนการสร้า้ งงานใน
เขตเมืืองหลัักและเมืืองโดยรอบ และมีีกลุ่่�ม 10 เมืืองเด่่น
KR4.15.2 ผลิิตภััณฑ์์มวลรวมของเมืืองศูนู ย์ก์ ลาง และเมืืองโดยรอบ เพิ่่ม� ขึ้้�นร้อ้ ยละ 5 ต่่อปีี
KR4.15.3 กลไกพัฒั นาพื้้�นที่แ�่ ละองค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้อ้ งถิ่่น� มีีขีีดความสามารถและประสิทิ ธิภิ าพเพิ่่ม� ขึ้้น�
ในการบริหิ ารจััดการเพื่�อ่ พัฒั นาคุณุ ภาพชีีวิิตของประชาชนในพื้้�นที่�่
KR4.15.4 รููปธรรมความร่ว่ มมืือระหว่่างจัังหวััดชายแดนที่�่เชื่�อ่ มต่่อกัับประเทศเพื่�อ่ นบ้า้ นในด้้าน
เศรษฐกิิจและวััฒนธรรม
ตััวอย่า่ งแผนงาน/โครงการสำ�ำ คัญั
เป้้าหมาย ผลสััมฤทธิ์์ท� ี่ส�่ ำ�ำ คัญั หน่ว่ ยงานขัับเคลื่อ�่ น
โครงการเมืืองน่่าอยู่่� ทันั สมััย ใกล้้บ้า้ น มีีงานทำ�ำ
• พัฒนาให้เกิดเมืองศูนยก์ ลาง • เกิดการพฒั นาอุตสาหกรรม • กระทรวงอุดมศึกษา
ที่�่น่า่ อยู่่�และเป็็น Smart City S-curve ที่�่ตั้้�งอยู่่�บนฐานทรัพั ยากร วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
สำ�ำ หรับั คนทุกุ กลุ่่�ม ทุกุ วััย ของท้้องถิ่่�น • กระทรวงอุตสาหกรรม
• กลไกใหมเ่ พื่อเสรมิ สรา้ งความรว่ มมือ • กระทรวงมหาดไทย
ในการสร้า้ งโครงการพัฒั นาเมืือง
75
แพลตฟอร์์ม 4 การวิิจััยและสร้้างนวัตั กรรมเพื่อ่� การพััฒนาเชิิงพื้้น� ที่แ�่ ละลดความเหลื่่�อมล้ำ�ำ�
เป้า้ หมาย 04
กระจายความเจริิญและสร้้างความเข้ม้ แข็็งของเศรษฐกิจิ สังั คมท้้องถิ่่น� ด้ว้ ยความรู้�แ้ ละนวััตกรรม
ผลสัมั ฤทธิ์์�ที่ส�่ ํําคััญ
KR4.1 ชุุมชนที่ม�่ ีี KR4.2 รายได้้ของ KR4.3 เกิดิ การกระจาย KR4.4 ดััชนีีการพัฒั นา KR4.5 ช่่องว่่างความเหลื่�อ่ มล้ำ��ำ
ขีีดความสามารถในการ คนจนกลุ่�่มรายได้้ ความเจริิญสู่่�ภููมิิภาค อย่่างทั่่ว� ถึึง (Inclusive ระหว่่างพื้้น� ที่�ล่ ดลง โดยความแตกต่่าง
จััดการตนเอง (Smart ร้้อยละ 40 ล่่าง มีีเมืืองศูนู ย์ก์ ลางทาง
Community) มีีศัักยภาพ เพิ่่�มขึ้้น� ร้้อยละ 35 เศรษฐกิิจที่ส�่ ร้้างโอกาส Development Index: ระหว่่างสััดส่่วนกลุ่�่มประชากรที่ม�่ ีี
ในการพััฒนาคุุณภาพชีีวิิต อย่่างทั่่ว� ถึงึ ทางเศรษฐกิิจในระดัับ
และสิ่่�งแวดล้้อมของชุุมชน ภูมู ิิภาค IDI) ของไทยดีีขึ้้�น รายได้้ต่่อหัวั มากที่ส�่ ุุด 20% บน
กัับ 20% ล่่างของจังั หวััด
ไม่่เกิิน 3 เท่่า
P.13 นวััตกรรมสำ�ำ หรัับเศรษฐกิิจ P.14 ขจััดความยากจนแบบเบ็็ดเสร็จ็ P.15 เมืืองน่า่ อยู่่�และการกระจาย
ฐานรากและชุมุ ชนนวััตกรรม และแม่น่ ยำ�ำ ศููนย์์กลางความเจริิญ
04.13 เพิ่่�มขีีดความสามารถของชุุมชน 04.14 ประชากรกลุ่่ม� ยากจนหลุุดพ้้น 04.15 พััฒนาเมืืองศููนย์ก์ ลางในภููมิภิ าคในการสนับั สนุุน
ท้้องถิ่่น� ในการพััฒนา การพึ่่�งตนเองและ จากความยากจนอย่่างยั่่�งยืืน และ การพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตของคนในเมืืองและเชื่่อ� มโยง
ความเจริิญสู่่ช� นบท
การจััดการตนเองบนฐานปรััชญาของ สามารถเข้้าถึงึ ทรัพั ยากร การศึึกษา
เศรษฐกิจิ พอเพีียง สวััสดิกิ ารต่่าง ๆ ที่่จ� ำ�ำ เป็น็ ต่่อการ
ดำ�ำ รงชีีวิติ ได้้อย่่างเท่่าเทีียม
KR4.13.1 เกิิดนวััตกรรมชุุมชนเพื่�่อ KR4.14.1 ระบบวิเิ คราะห์ข์ ้้อมูลู เพื่่อ� KR4.15.1 เมืืองศููนย์ก์ ลางที่น�่ ่่าอยู่่�และเป็็น Smart City
ยกระดัับรายได้้ให้้กับั ชุุมชน ติดิ ตามกลุ่่�มเป้้าหมายคนจน ในภููมิิภาค 30 เมืือง โดยมีีแผนการสร้้างงานใน
ปีลี ะ 1,000 นวััตกรรม ที่�ม่ ีีความแม่่นยำ�ำ เพื่่อ� ให้้ เขตเมืืองหลัักและเมืืองโดยรอบ และมีีกลุ่ม่� 10
KR4.13.2 จำำ�นวน Smart Community/ การจัดั สรรสวััสดิิการรัฐั เมืืองเด่่น
ชุุมชนนวัตั กรรม
มีีความสามารถในการพัฒั นา มีีประสิิทธิภิ าพและประสิิทธิิผล KR4.15.2 ผลิิตภัณั ฑ์ม์ วลรวมของเมืืองศููนย์ก์ ลาง
มากขึ้้�น และเมืืองโดยรอบ เพิ่่�มขึ้้น� ร้้อยละ 5 ต่่อปีี
การพึ่่�งตนเองและจัดั การ KR4.14.2 คนจนไม่่น้้อยกว่่า 20,000 คน KR4.15.3 กลไกพััฒนาพื้้�นที่่แ� ละองค์ก์ รปกครองส่่วน
ตนเอง เพิ่่ม� ขึ้้�น 3,000 ชุุมชน ได้้รัับการพัฒั นาความรู้้�และ ท้้องถิ่่�นมีีขีีดความสามารถและประสิทิ ธิิภาพ
ทัักษะเพื่่�อปรัับเปลี่ย�่ นเป็็น เพิ่่ม� ขึ้้น� ในการบริหิ ารจัดั การเพื่อ่� พัฒั นาคุุณภาพ
KR4.13.3 มููลค่่าเศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ Knowledge Worker หรืือ ชีีวิิตของประชาชนในพื้้�นที่�่
บนฐานทุุน ทรััพยากร Smart Farmer มีีรายได้้และ
วัฒั นธรรมในพื้้�นที่่�
เพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 10 ต่่อปีี คุุณภาพชีีวิิตดีีขึ้้น� KR4.15.4 รููปธรรมความร่่วมมืือระหว่่างจังั หวััดชายแดนที่�่
เชื่อ่� มต่่อกัับประเทศเพื่อ�่ นบ้้านในด้้านเศรษฐกิิจ
และวััฒนธรรม
แผนงาน/โครงการสํําคััญ แผนงาน/โครงการสํําคัญั แผนงาน/โครงการสํําคััญ
• ชุมชนนวัตกรรม • ระบบบรหิ ารจัดการข้อมูลการพัฒนา • เมืองน่าอยู่ ทนั สมยั ใกล้บ้าน มงี านทาํ
• นวตั กรรมสังคม
• อาสาประชารฐั คนแบบชี้้�เป้้า (TP-MAP)
• มหาวทิ ยาลยั เพ่ือการพัฒนาพื้นท่ี
(University for Inclusive Growth
Program: UNIG)
76
การปฏิริ ููประบบการอุดุ มศึึกษา
วิทิ ยาศาสตร์์ วิิจัยั และนวัตั กรรม
การปฏิิรููปประเทศด้้านการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อววน.) เป็็นการปฏิิรููปเชิิง
โครงสร้้างที่�่สำ�ำ คััญสำ�ำ หรัับประเทศไทย มีีเป้้าหมายเพื่�่อตอบสนองการพััฒนาประเทศโดยมุ่่�งเน้้นการเตรีียม
คนไทยเข้า้ สู่่�ศตวรรษที่�่ 21 และการนำำ�องค์์ความรู้�และนวััตกรรมไปพัฒั นาประเทศ เพื่�อ่ ขับั เคลื่�่อนประเทศไทย
ไปสู่่�ประเทศที่�่พัฒั นาแล้้วอย่า่ งเต็็มรููปแบบและยั่่�งยืืน ซึ่�ง่ นำ�ำ ไปสู่่�การปฏิิรููป 3 ด้้าน ได้้แก่่
1. การปฏิริ ููปการบริหิ ารภาครัฐั (Administrative Reform) เพื่�อ่ จัดั ให้ม้ ีีองค์ก์ รในรููปแบบที่เ�่ หมาะสม
กัับการขับั เคลื่�่อนงานด้้าน อววน. มีีการบริหิ ารงานที่�่คล่่องตััว ทัันต่่อการเปลี่�่ยนแปลง รวมทั้้�งมีีการบููรณาการ
การทำำ�งานในด้้านวิิจััยร่ว่ มกััน เพื่�อ่ ให้เ้ กิิดประสิทิ ธิผิ ลสูงู สุดุ โดยมีีประเด็็นการปฏิิรููปสำ�ำ คััญ เช่น่ การจััดประเภท
หน่่วยงานในระบบวิิจััยและนวััตกรรม การพััฒนาระบบการติิดตามและประเมิินผล และระบบการเชื่�่อมโยง
ข้อ้ มูลู ด้้าน อววน. เป็น็ ต้้น
2. การปฏิิรููประบบงบประมาณ (Budgeting Reform) เพื่�อ่ ให้ก้ ารจััดสรรงบประมาณ สอดคล้้องกัับ
นโยบาย ยุุทธศาสตร์์ และแผนด้้าน อววน. ของประเทศ และเพื่�่อส่่งเสริิมการพััฒนางานวิิจััยและนวััตกรรม
ให้้ดำำ�เนิินการได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น ผ่่านกองทุุนที่�่มีีการจััดสรรงบประมาณในลัักษณะเป็็นก้้อนใหญ่่
(Block Grant) และต่่อเนื่�อ่ ง (Multi-year) โดยมีีประเด็็นการปฏิิรููปสำ�ำ คััญ ได้้แก่่ การออกแบบระบบการจััดสรร
และบริหิ ารงบประมาณ การบริหิ ารจััดการกองทุนุ ด้้านวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม และการจััดตั้้�งโครงการ
สำ�ำ นัักงานบริหิ ารและจััดการทุนุ วิิจััยและนวััตกรรม เป็น็ ต้้น
3. การปฏิิรููปกฎหมาย ระเบียี บ (Regulatory Reform) เพื่�่ออำำ�นวยความสะดวก ลดปััญหาและ
อุุปสรรค และสามารถขับั เคลื่�่อนงานวิิจััยเพื่�อ่ การนำ�ำ ไปใช้ป้ ระโยชน์์ทั้้�งด้้านเศรษฐกิิจ สังั คม และชุุมชนได้้อย่า่ ง
คล่่องตััว และส่่งผลต่่อการพััฒนาประเทศในภาพรวม โดยมีีประเด็็นการปฏิิรููปสำ�ำ คััญ ได้้แก่่ การเร่่งผลัักดััน
กฎหมายส่่งเสริิมการใช้้ประโยชน์์ผลงานวิิจััยและนวััตกรรม กฎหมายเกี่�่ยวกัับการส่่งเสริิมนวััตกรรมด้้านการ
อุุดมศึึกษาและการผลิิตกำำ�ลัังคนระดัับสููง (Sandbox) และมาตรการการสนัับสนุุนงบประมาณของรััฐเพื่�่อ
ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีในโครงการลงทุนุ ขนาดใหญ่่ และการร่ว่ มลงทุนุ ระหว่่างรัฐั และเอกชน เป็็นต้้น
การปฏิริ ููประบบการอุดุ มศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
ประกอบด้้วย 1 โปรแกรม คืือ
โปรแกรม 16 ปฏิิรููประบบการอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
77
โปรแกรมที่่� 16
ปฏิริ ููประบบการอุุดมศึึกษา วิทิ ยาศาสตร์์ วิิจัยั และนวัตั กรรม
(Reinventing Universities & Research Institutes)
มุ่่�งเน้้นการปฏิิรููประบบการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (อววน.) เชิิงระบบ เพื่�่อ
ตอบสนองการพััฒนาประเทศโดยมุ่่�งเน้้นการเตรีียมคนไทยเข้้าสู่่�ศตวรรษที่�่ 21 และการนำ�ำ องค์์ความรู้�และ
นวััตกรรมไปพััฒนาประเทศ เพื่�่อขัับเคลื่�่อนประเทศไทยไปสู่่�ประเทศที่�่พััฒนาแล้้วอย่่างเต็็มรููปแบบและยั่่�งยืืน
โดยการปรัับระบบบริิหารจััดการมหาวิิทยาลััย (Management Reform) การจััดทำำ�หลัักสููตรร่่วมวิิจััยและ
นวััตกรรมกัับภาคเอกชน การพััฒนามหาวิิทยาลััยแห่่งการประกอบการ การออกแบบโครงสร้้างระบบ อววน.
การออกแบบระบบบริิหารนโยบาย ยุุทธศาสตร์์ และแผนด้้าน อววน. การออกแบบระบบการจััดสรรทุุนและ
บริหิ ารงบประมาณ การออกแบบระบบติิดตามประเมินิ ผล และการออกแบบระบบเชื่�อ่ มโยงข้อ้ มูลู
โปรแกรม 16 เป้า้ หมายและผลสััมฤทธิ์์ท� ี่่ส� ำำ�คััญ
Objectives and Key Results: OKR
Ox.16 พัฒั นาระบบ อววน. ให้เ้ ชื่่�อมโยงเป็น็ เนื้้�อเดียี วกััน เพื่่�อให้เ้ กิิดระบบนิิเวศที่่เ� อื้้�อต่่อการ
ตอบโจทย์ค์ วามต้้องการของประเทศ สร้า้ งงานวิิจััยและนวััตกรรมเพื่่�อการพัฒั นาเศรษฐกิิจและสังั คม
KR16.1 เพิ่่ม� ความสามารถในการแข่ง่ ขันั และบทบาทเชิงิ รุุกของไทยในเวทีีโลก ผ่า่ นการยกระดัับ
KR16.2 ความร่ว่ มมืือด้้าน อววน. กัับต่่างประเทศ ทั้้�งในระดัับประเทศและระดัับหน่ว่ ยงาน
KR16.3
KR16.4 สร้า้ งความเป็็นเลิิศของระบบอุุดมศึึกษาไทยในระดัับนานาชาติิผ่า่ นการยกระดัับความร่ว่ มมืือ
ด้้าน อววน. กัับต่่างประเทศ ทั้้�งในระดัับประเทศและในระดัับหน่ว่ ยงาน
KR16.5
มหาวิิทยาลััยมุ่่�งเน้้นวิิจััยและพัฒั นาเทคโนโลยีีและนวััตกรรมขั้้�นสูงู ในพื้้�นที่�่เมืืองนวััตกรรมใน
ระเบีียงเศรษฐกิิจภาคตะวัันออก (ECCi) เพื่�อ่ ตอบโจทย์ค์ วามต้้องการของภาคอุุตสาหกรรม
เป้า้ หมาย ประกอบด้้วย 1) ARIPOLIS 2) BIOPOLIS 3) SPACE KRENOVAPOLIS
ระบบจััดสรรและบริหิ ารงบประมาณด้้าน ววน. แบบบููรณาการที่�่มุ่่�งผลสัมั ฤทธิ์์� ผ่า่ นกองทุนุ
ส่ง่ เสริมิ วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรมในรููปแบบ Multi-year, Block grant ที่เ�่ กิดิ ประสิทิ ธิผิ ล
และมีีประสิทิ ธิภิ าพตามหลัักธรรมาภิิบาล ปฏิิบัตั ิิงานให้้บรรลุตุ ามวััตถุปุ ระสงค์์ มีีต้้นทุนุ หรืือ
การใช้ท้ รัพั ยากรอย่า่ งเหมาะสม มีีความคุ้้�มค่่า
มีีระบบติิดตามประเมินิ ผลการลงทุนุ ด้้าน ววน. ที่�่วััดได้้ทั้้�งประสิทิ ธิภิ าพ ประสิทิ ธิผิ ล
และความคุ้้�มค่่าในการลงทุนุ
78
ตัวั อย่า่ งแผนงาน/โครงการสำ�ำ คัญั
เป้า้ หมาย ผลสััมฤทธิ์์�ที่่ส� ำำ�คััญ หน่่วยงานขัับเคลื่อ�่ น
Global Partnership Program • การพัฒนาบุคลากร ววน. และสร้าง • สถาบนั อุดมศึกษา
• การได้มาซ่งึ วิทยาการ เทคโนโลยี ความเข้ม้ แข็ง็ ให้้กัับเครืือข่า่ ย • หน่วยงานวิจัยของรัฐ
และนวััตกรรมที่�่ทัันสมัยั ความร่ว่ มมืือ ววน. ผ่า่ นการทำำ�งาน • ภาคเอกชน
มีีประสิทิ ธิภิ าพและเหมาะสม ร่ว่ มกัับหน่ว่ ยงานต่่างประเทศ • ส�ำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริม
ผ่า่ นการส่ง่ เสริมิ ความร่ว่ มมืือ ซึ่�ง่ สอดคล้้องกัับแผนการนำ�ำ ววน.
ระหว่่างเครืือข่า่ ยหน่ว่ ยงาน ไปพัฒั นาเศรษฐกิิจและสังั คมของ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
ในระบบ ววน. ของไทยและ
ต่่างประเทศ ประเทศ
• ผลงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีเกิดจาก
การร่ว่ มมืือกัันของเครืือข่า่ ย
ความร่ว่ มมืือระหว่่างประเทศ
• ได้เครือขา่ ยความรว่ มมือของ
หน่ว่ ยงาน ววน. ของไทยและ
ต่่างประเทศที่�่เชื่�อ่ มโยงกัับ
ผู้้�ใช้ป้ ระโยชน์์ ววน. ของประเทศ
โครงการห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารอนาคตด้้านนโยบายการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิจิ ััยและนวัตั กรรม
(Future Lab)
• จัดท�ำนโยบายและแผนด้าน อววน. • ประเทศไทยมีนโยบาย ยุทธศาสตร์ • ส�ำนักงานสภานโยบาย
การอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์
ที่�่สามารถนำำ�ไปปฏิิบัตั ิิได้้ตาม แผนด้้าน อววน. ที่�่ดีีและสามารถ วิิจััยและนวััตกรรมแห่ง่ ชาติิ
เป้า้ หมายของประเทศ ด้้วยการ นำ�ำ ไปปฏิิบัตั ิิได้้ตามเป้้าหมายของ • หนว่ ยงานด้านวิจัยและเทคโนโลยี
ภายในกระทรวงการอุุดมศึึกษา
กำำ�หนดประเด็็นสำ�ำ คััญ (Priority ประเทศ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
Agenda) ผ่า่ นวิิธีีการคาดการณ์์ • กระบวนการพฒั นานโยบาย • สถาบันอุดมศึกษาและสถาบัน
อนาคต (Foresight) การจััดทำำ� มีีประสิทิ ธิภิ าพ รวมถึึงเกิิด การศึกึ ษา
ระบบการสำ�ำ รวจให้้ได้้ข้อ้ มููลเชิงิ ลึึก ความก้้าวหน้า้ ทางด้้าน อววน.
และการศึึกษาวิิจััยและทดลอง ของประเทศ
นโยบาย มาตรการและแผนด้้าน
อววน. (Future Lab)
79
ตััวอย่า่ งแผนงาน/โครงการสำ�ำ คัญั
เป้า้ หมาย ผลสััมฤทธิ์์�ที่ส่� ำำ�คัญั หน่ว่ ยงานขัับเคลื่อ่� น
โครงการแพลตฟอร์์มบ่ม่ เพาะด้้านวิิทยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีีเชิิงลึกึ เพื่อ�่ การต่่อยอดสู่่�
ภาคอุุตสาหกรรม (Deep-Science Technological Acceleration Platform)
• เพื่อสง่ เสรมิ และเรง่ การเติบโต • เกิดศูนยว์ ิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี • ส�ำนักงานสภานโยบายการ
ทางธุุรกิิจของนวััตกรรมที่�่ใช้้
วิิทยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีีเชิงิ ลึึก เชิงิ ลึึกอย่า่ งน้อ้ ย 2 สาขาต้้นแบบ อุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์
ผ่า่ นการจััดตั้้�งศููนย์ว์ ิิจััยและพัฒั นา
เทคโนโลยีีเชิงิ ลึึก และศููนย์ว์ ิิจััย ศูนู ย์ว์ ิิจััยบ่ม่ เพาะฯ อย่า่ งน้อ้ ย วิิจััยและนวััตกรรมแห่ง่ ชาติิ
บ่ม่ เพาะด้้านวิิทยาศาสตร์แ์ ละ
เทคโนโลยีีเชิงิ ลึึกเพื่�อ่ การต่่อยอดสู่่� 2 สาขาต้้นแบบ • สถาบนั อุดมศึกษา
ภาคอุุตสาหกรรม
• เกิดการจดสทิ ธบิ ตั ร การถ่ายทอด • สถาบนั วิจัย
เทคโนโลยีี และเกิิดวิิสาหกิิจเริ่่ม� ต้้น
ช่ว่ ยสร้า้ งผลกระทบทางเศรษฐกิิจ
จากมููลค่่าของผลิิตภััณฑ์์หรืือบริกิ าร
ที่�่เกิิดจากศููนย์ว์ ิิจััยบ่ม่ เพาะฯ
โครงการฐานข้้อมููลวิิจััย (บุคุ ลากรวิิจัยั และนวัตั กรรม ทุุนวิิจัยั ผลงานวิิจัยั ฯลฯ)
• จัดท�ำฐานข้อมูลและบูรณาการ • ประเทศไทยมีข้อมูลซ่งึ ใช้ในการ • ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
เชื่�อ่ มโยงฐานข้อ้ มููลด้้านการวิิจััย บริหิ ารจััดการ และวิิเคราะห์์
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม สังั เคราะห์์ข้อ้ มูลู วิิทยาศาสตร์์ • หนว่ ยงานจัดเก็บขอ้ มูล
ของประเทศ วิิจััยและนวััตกรรมในภาพรวม วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
และเชื่�อ่ มโยงกัับฐานข้อ้ มูลู ที่�่สำ�ำ คััญ และหน่ว่ ยงานรับั ผิดิ ชอบ
ของประเทศ เช่น่ ฐานข้อ้ มููลของ ฐานข้อ้ มูลู วิิทยาศาสตร์์
สำ�ำ นัักงานสภาพัฒั นาการเศรษฐกิิจ วิิจััยและนวััตกรรมที่�่สำ�ำ คััญ
และสังั คมแห่ง่ ชาติิ (สศช.)
ฐานข้อ้ มูลู ทะเบีียนราษฎร
กระทรวงมหาดไทย
80
โปรแกรมที่่� 17
การแก้้ปัญั หาวิิกฤติขิ องประเทศ
(National Crisis Management)
คณะกรรมการส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม มีีมติิเมื่�่อวัันที่�่ 10 เมษายน 2563 อนุุมััติิ
ให้้มีีการปรัับงบประมาณประจํําปีี 2563 ที่�่กองทุุนส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรมจััดสรรให้้แก่่
หน่่วยบริิหารจััดการทุุนร้้อยละ 10-15 เพื่�่อสนัับสนุุนการวิิจััยและนวััตกรรมที่�่จะแก้้ปััญหาที่�่สืืบเนื่�่องจาก
วิิกฤติิโควิิดและภััยแล้้ง และให้เ้ พิ่่ม� โปรแกรมการแก้้ปัญั หาวิิกฤติิของประเทศ เป็น็ โปรแกรมที่�่ 17 ภายใต้้แผน
ยุุทธศาสตร์์ด้้านการพััฒนาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (แผนด้้าน ววน.) เพื่�่อแก้้ปััญหาวิิกฤติิขนาดใหญ่่
ที่�่อาจจะเกิิดขึ้้�นในอนาคตด้้วย
โปรแกรม 17 เป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่�ส่ ำำ�คััญ
Objectives and Key Results: OKR
O .17.1 ประเทศไทยมีคี วามสามารถในการจััดการและฟื้� น้ ตััวอย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิิภาพ (Resilience)
ต่่อการเกิิดภาวะวิิกฤติิของประเทศ
KR17.1.1 มีีชุุดความรู้�เกี่�่ยวกัับปัญั หาและการจััดการเมื่�่อประสบภััยพิบิ ัตั ิิและภาวะวิิกฤติิอย่า่ งเป็็นระบบ
และคนไทยมีีความรู้ �ในการจััดการตนเอง
KR17.1.2 มีีฐานข้อ้ มูลู และศููนย์ข์ ้อ้ มูลู ที่�่จำำ�เป็็นเพื่�อ่ การจััดการในระดัับประเทศและระดัับพื้้�นที่�่
KR17.1.3 เกิิดนโยบายและนวััตกรรมเพื่�อ่ การจััดการภััยพิบิ ัตั ิิและภาวะวิิกฤติิที่�่เป็น็ ผลงานจาก ววน.
อย่า่ งน้้อย 50 ชิ้้น� /เรื่�อ่ ง ในปีี 2563-64-65 และถูกู นำ�ำ ไปใช้ป้ ระโยชน์์
KR17.1.4 ลดความสูญู เสีียทางเศรษฐกิิจสังั คมได้้ไม่ต่ ่ำำ�กว่่าร้อ้ ยละ 10 ของความสูญู เสีียที่�่คาดการณ์์ จาก
การใช้ค้ วามรู้�และนวััตกรรมในการแก้้ปัญั หาและฟื้�้นฟูเู ศรษฐกิิจสังั คมในระดัับอุุตสาหกรรม
และระดัับพื้้�นที่�่
O .17.2 ประเทศไทยมีศี ักั ยภาพในการพึ่่ง� ตนเองด้า้ นความรู้้� กำ�ำ ลังั คนและโครงสร้า้ งพื้้�นฐานด้า้ น ววน.
เพื่่�อสนัับสนุุนการจััดการภาวะวิิกฤติิและการฟื้� น้ ตััวหลัังภาวะวิิกฤติิ
KR17.2.1 ประเทศไทยมีีข้อ้ มูลู และความรู้�เพื่�อ่ ความร่ว่ มมืือของหน่ว่ ยงานที่�่เกี่�่ยวข้อ้ ง สามารถร่ว่ มกััน
จััดการภาวะวิิกฤติิได้้ทัันท่่วงทีี และเหมาะสมกัับสถานการณ์์
KR17.2.2 มีีระบบ ววน. ที่�ค่ ล่อ่ งตัวั ยืืดหยุ่่�น มีีเอกภาพ สามารถเตืือนภัยั และตอบสนองเมื่�อ่ เกิดิ ภาวะวิกิ ฤติิ
ได้้อย่า่ งทัันท่่วงทีี
KR17.2.3 มีีข้อ้ มูลู เพื่�อ่ การลงทุนุ ในการพัฒั นากำำ�ลัังคนและโครงสร้า้ งพื้้�นฐานด้้าน ววน. ที่�่เกี่�่ยวข้อ้ งกัับ
การรับั มืือภาวะวิิกฤติิ (ในภาควิิชาการ ภาคอุุตสาหกรรม และภาคราชการ) เพื่�อ่ ให้้ประเทศ
ปรับั ตััวได้้ มีีความมั่่�นคงในด้้านอาหาร สุขุ ภาพ และสังั คม
81
82
3 กลไกการขัับเคลื่่�อน การติดิ ตามและประเมิินผล
กลไกการขัับเคลื่�่อนนโยบายและยุุทธศาสตร์์การอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ.
2563 - 2570 สู่่�การปฏิิบััติิให้้ประสบความสำ�ำ เร็็จ และเกิิดผลได้้อย่่างเป็็นรููปธรรม จำำ�เป็็นต้้องมีีส่่วนร่่วมจาก
หน่่วยงานทุุกภาคส่่วนและทุุกระดัับในระบบการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรมในการเชื่�่อมโยง
จากระดัับนโยบายและยุุทธศาสตร์์ ไปจนถึึงแผนปฏิิบัตั ิิการอย่า่ งเป็น็ ระบบ จึึงกำำ�หนดกลไกการขับั เคลื่�่อน ดัังนี้้�
1. นโยบายและยุุทธศาสตร์์การอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ. 2563 - 2570
เป็็นทิิศทางการดำำ�เนิินงานและกรอบในการพิจิ ารณาจััดสรรงบประมาณ
2. ปรัับระบบบริิหารและจััดการงบประมาณด้้านการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
ให้้บููรณาการและมุ่่�งผลสัมั ฤทธิ์์�
2.1 การพิิจารณางบประมาณด้้านการอุุดมศึึกษา ดำำ�เนิินการโดยคณะกรรมการพิิจารณา
งบประมาณด้้านการอุุดมศึึกษา โดยจะพิิจารณาคำำ�ของบประมาณรายจ่่ายประเภท
งบลงทุนุ และงบเงินิ อุดุ หนุนุ ในการพัฒั นาความเป็น็ เลิศิ ของสถาบันั อุดุ มศึกึ ษาและการผลิติ
กำำ�ลัังคนระดัับสูงู เฉพาะทางตามความต้้องการของประเทศ
2.2 การพิจิ ารณางบประมาณด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม ดำ�ำ เนินิ การโดยคณะกรรมการ
พิิจารณางบประมาณด้้านวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม โดยจะพิิจารณาคำำ�ขอ
งบประมาณของกองทุนุ ส่ง่ เสริมิ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม
3. กองทุนุ ส่ง่ เสริมิ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม จะเป็น็ กลไกสำ�ำ คััญในการขับั เคลื่�่อนการพัฒั นา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม ซึ่�่งอาจดำำ�เนิินการได้้ทั้้�งที่�่เป็็นการจััดสรรงบประมาณไปยัังหน่่วยงาน
ระดับั ปฏิบิ ัตั ิิ (หน่ว่ ยงานรัฐั ที่เ�่ ป็น็ เจ้า้ ภาพที่�ม่ ีีความสามารถในการบริหิ ารแผนงาน (Program) ที่ม�่ ีีหน่ว่ ยงานร่ว่ ม
ดำำ�เนิินการมากกว่่าหนึ่่�งหน่่วยงาน) งบประมาณที่�่จะจััดสรรให้้หน่่วยงานเจ้้าภาพดัังกล่่าว จะเป็็นงบประมาณ
สำ�ำ หรัับโครงการขนาดใหญ่่ด้้านโครงสร้้างพื้้�นฐาน หรืือโครงการริิเริ่่�มสำ�ำ คััญเร่่งด่่วนขนาดใหญ่่ หรืือโครงการ
พิิเศษของประเทศ ที่�่จำำ�เป็็นต่่อการพััฒนาและยกระดัับวิิทยาศาสตร์์ การวิิจััยและนวััตกรรมที่�่บููรณาการ
การทำำ�งานร่ว่ มกันั ระหว่า่ งหน่ว่ ยงานในระบบวิิจััยและนวััตกรรม หรืืองบประมาณสำ�ำ หรับั การวิิจััยและนวััตกรรม
ขนาดใหญ่่ (ซึ่�ง่ ครอบคลุมุ กิิจกรรม เช่น่ ถ่่ายทอดเทคโนโลยีี จััดทำำ�มาตรฐาน) หรืือโครงการประเภทอื่�่นตามที่�่
คณะกรรมการส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (กสว.) กำำ�หนด และที่�่เป็็นการจััดสรรงบประมาณให้้
หน่่วยงานด้้านการให้้ทุุน หรืือหน่่วยบริิหารและจััดการทุุน เพื่�่อนำำ�ไปสนัับสนุุนทุุน (Granting) แก่่หน่่วยงาน
ระดัับปฏิิบัตั ิิ ได้้แก่่ หน่ว่ ยงานที่�่ทำำ�วิิจััยและสร้า้ งนวััตกรรม หน่ว่ ยงานด้้านมาตรวิิทยา มาตรฐาน การทดสอบ
และบริกิ ารคุณุ ภาพวิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม หน่ว่ ยงานด้า้ นการจัดั การความรู้้�จากงานวิจิ ัยั และนวัตั กรรม
และหน่ว่ ยงานซึ่�ง่ เป็น็ ผู้้�ใช้ป้ ระโยชน์์จากงานดัังกล่่าว
83
โดยกำำ�หนดให้้มีีการบริิหารจััดการในลัักษณะ Platform Management ตามรููปที่�่ 2 ซึ่�่งอาจจััดให้้มีี
คณะกรรมการที่�่ประกอบด้้วยผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ และตััวแทนของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย เพื่�่อให้้เกิิดการบููรณาการ
การทำำ�งานและเกิิดผลสััมฤทธิ์์�ตามเป้้าหมายที่�่กำำ�หนดไว้้ในแต่่ละแพลตฟอร์์มและโปรแกรม โดยจะมีีการ
มอบหมายให้ม้ ีีหน่ว่ ยงานบริหิ ารจัดั การโปรแกรม (Program Management Unit: PMU) ซึ่ง�่ อาจเป็น็ หน่ว่ ยบริหิ าร
และจััดการทุุน หรืือหน่่วยงานด้้านการให้้ทุุน หรืือหน่่วยงานที่�่ทำำ�วิิจััยและสร้้างนวััตกรรม หรืือหน่่วยงานที่�่
พัฒั นากำำ�ลัังคน หรืือหน่ว่ ยงานที่�่ กสว. เห็็นสมควร ทำำ�หน้า้ ที่�่บริหิ ารจััดการและประสานงานร่ว่ มกัับภาคเอกชน
กระทรวง มหาวิิทยาลััย สถาบันั วิิจััย
Platform Management นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม
• ประธาน • รว่ มกําหนดทิศทาง การวิจยั และสร้างนวตั กรรมเพื่ อ การวิจัยและสร้างนวตั กรรมเพื่ อ การวิจยั และสรา้ งนวัตกรรมเพ่ื อ การพั ฒนากาํ ลังคน
• ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ แนวทาง ตอบโจทย์ทา้ ทายของสังคม เพ่ิ มขีดความสามารถการแข่งขนั การพั ฒนาเชงิ พ้ื นที่และลดความ และสถาบนั
• Stakeholders
• ร่วมขับเคลื่อน เหลื่อมล้าํ
• Feedback Loop
PM 2.5 ... ... BCG ... ... เศรษฐกจิ ... ... การศึกษา ... ...
ฐานราก และการ
เรียนรู้
Demand-
driven ภาคเอกชน
Sector หน่วยงานวจิ ยั เอกชน
กระทรวง SMEs, Startup,
ชุมชน วิสาหกิจชุมชน
Funding Agency
ก.อว.
ห ่นวยป ิฏ ับ ิต/ กระทรวง...
Incubator/
Accelerator กระทรวง...
กระทรวง...
วช.
สวก.
สวรส.
หน่วยจดั การทุน
Area-based
หน่วยจดั การทุนวิจัย
อุตสาหกรรม
หนว่ ยจัดการทุนพั ฒนา
กาํ ลังคนและสถาบนั
สนช.
ศลช.
สถาบนั วจิ ัย/เทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั
รููปที่�่ 2 การบริิหารจััดการในลักั ษณะ Platform Management
84
การติิดตามและประเมิินผลนโยบายและยุุทธศาสตร์์การอุดุ มศึกึ ษา
วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวััตกรรม
ในการติิดตามและประเมิินผล ควรมุ่่�งเน้้นให้้เกิิดผลสััมฤทธิ์์�และเอื้้�อให้้เกิิดความรัับผิิดชอบต่่องาน
(Result-based Accountability) เพื่�อ่ ใช้เ้ ป็็นกลไกการสร้า้ งความไว้้เนื้้�อเชื่�อ่ ใจ (Trust) และสร้า้ งธรรมาภิิบาล
ของการบริหิ ารจััดการ
โดยสามารถวัดั ประสิทิ ธิผิ ลและประสิทิ ธิภิ าพที่เ�่ กิดิ ขึ้้น� ได้้ เพื่�อ่ ให้เ้ กิดิ การเรีียนรู้�และสนับั สนุนุ การตัดั สินิ
ใจอย่า่ งมีีประสิทิ ธิผิ ลในลัักษณะ Double Loop Learning ซึ่�ง่ ไม่ใ่ ช่เ่ พีียงแต่่เป็น็ การติิดตามและประเมิินผลว่่า
สำ�ำ เร็็จตามเป้้าหมายที่�่กำำ�หนดไว้้หรืือไม่่ แต่่ต้้องติิดตามและประเมิินผลให้้สามารถวิิเคราะห์์ย้้อนกลัับไปถึึง
นโยบาย ยุุทธศาสตร์์ และแผนที่�่กำำ�หนดไว้้ เพื่�อ่ จะได้้นำำ�มาปรับั ปรุุงนโยบาย ยุุทธศาสตร์์ และแผนด้้วย
ทั้้�งนี้้� จำำ�เป็็นต้้องอาศััยระบบการเชื่�่อมโยงข้้อมููลที่�่ดีี มีีความครบถ้้วน และสามารถเข้้าถึึงได้้ (Open
Data Access) เพื่�อ่ ให้ส้ ามารถวิิเคราะห์์ผลได้้ทัันเวลา เพื่�อ่ ปรับั ปรุุงการดำำ�เนิินงานอย่า่ งเป็็นระบบ
นโยบายและยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอุดุ มศึกึ ษา วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม พ.ศ. 2563 - 2570 ได้จ้ ัดั ทำ�ำ ขึ้้น�
ให้ม้ ีีความสอดคล้อ้ งกับั ยุทุ ธศาสตร์ช์ าติิ มุ่่�งเน้น้ การพัฒั นานโยบายสำ�ำ หรับั ทุกุ กลุ่่�มทั้้�งเชิงิ พื้้�นที่แ�่ ละระดับั ประเทศ
และอยู่่�บนพื้้�นฐานของข้้อเท็็จจริิงที่�่มีีข้้อมููลสนัับสนุุน (Evidence-based Policy) โดยกำำ�หนดเป้้าหมายหลััก
และทิิศทางเชิงิ ยุุทธศาสตร์์ (Strategic Objectives) รวมถึึงประเด็็นสำ�ำ คััญ (Key Issues) ในการพัฒั นา อววน.
ที่�่ยึึดหลัักเน้้นความต้้องการของผู้้�ใช้้ประโยชน์์เป็็นสำ�ำ คััญ (Demand-driven) ประกอบด้้วย 4 แพลตฟอร์์ม
16 โปรแกรม โดยมีีการกำำ�หนดเป้้าหมายและผลสััมฤทธิ์์�ที่�่สำ�ำ คััญ (Objectives and Key Results: OKRs)
เพื่�่อเป็็นกรอบทิิศทางการพััฒนาการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรมของประเทศ และแปลงลงสู่่�
ระดัับต่่าง ๆ
OKRs เป็็นเครื่�อ่ งมืือในการกำำ�หนดเป้า้ หมายและขับั เคลื่�่อนวิิสัยั ทััศน์์ ยุุทธศาสตร์ไ์ ปสู่่�การปฏิิบัตั ิิ และ
ใช้เ้ ป็น็ แนวทางในการกำำ�กับั ทิศิ ทางของการดำำ�เนินิ งานที่ม�่ ีีเป้า้ หมายร่ว่ มกันั ในทุกุ ภาคส่ว่ นและทุกุ ระดับั ในระบบ
การอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม โดยมีีการตั้้�งเป้า้ หมาย (Objective) และกำำ�หนดตััววััดผลหรืือ
ผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่�่สำ�ำ คััญ (Key Results) เพื่�อ่ ให้บ้ รรลุผุ ลตามเป้า้ หมายและสัมั ฤทธิผิ ลได้้ในทุกุ ระดัับ ดัังนี้้�
1. ระดัับแพลตฟอร์ม์ (Platform) : OKRs มีีเป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่�่สำ�ำ คััญของแพลตฟอร์ม์ เพื่�อ่
เป็น็ แนวทางในการกำำ�หนดการวััดผลสู่่�ระดัับโปรแกรม (Program)
2. ระดัับโปรแกรม (Program) : OKRs มีีเป้้าหมายและผลสััมฤทธิ์์�ที่�่สำ�ำ คััญของโปรแกรมเพื่�่อเป็็น
แนวทางในการกำำ�หนดการวััดผลสู่่�ระดัับโปรแกรมย่อ่ ย (Sub-program)
3. ระดัับโปรแกรมย่อ่ ย (Sub-program) : OKRs มีีเป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่�่สำ�ำ คััญของแผนงาน/
โครงการสำ�ำ คััญเพื่�อ่ เป็็นแนวทางในการกำำ�หนดการวััดผลสู่่�ระดัับการปฏิิบัตั ิิงาน
85
การใช้้ OKRs ให้้เกิิดประสิิทธิิภาพมากที่�่สุุด ควรมีีการวััดผลและติิดตามความคืืบหน้้าเป็็นระยะ
โดยแปลงแผนระยะยาวออกเป็น็ ช่ว่ งเวลาที่�่เหมาะสม เช่น่ แผนราย 3 ปีี แผนรายปีี ราย 6 เดืือน และรายไตรมาส
เป็็นต้้น เพื่�่อให้้ผู้้�ที่�่มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียและบุุคลากรที่�่เกี่�่ยวข้้องสามารถวััดผลลััพธ์์ที่�่เกิิดขึ้้�นได้้ตามกรอบเวลา
ที่�่ชััดเจนและทัันต่่อความเปลี่�่ยนแปลงทั้้�งภายในและภายนอก มีีความยืืดหยุ่่�นและสามารถปรัับเปลี่�่ยนได้้
ทัันเวลาด้้วยข้้อมููลที่�่สามารถวิิเคราะห์์ได้้อย่่างชััดเจน เพื่�่อให้้บรรลุุเป้้าหมายที่�่ท้้าทายได้้ สำ�ำ หรัับการติิดตาม
และประเมิินผลจากระดัับแพลตฟอร์์มลงไปสู่่�ระดัับโปรแกรมและโปรแกรมย่่อยนั้้�น จะดำำ�เนิินการผ่่านกลไก
คณะกรรมการ (Platform’s Steering Committee) โดย PMU จะเป็็นผู้้�บริหิ ารและจััดการงบประมาณ โดยมีี
OKRs ที่�่กำำ�หนดไว้้ในแต่่ละโปรแกรม
86
87
บทที่่� 3
แผนด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์์
วิจิ ัยั และนวััตกรรม
พ.ศ. 2563 - 2565
88
แผนด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม (แผนด้า้ น ววน.) เป็น็ แผนระยะปานกลาง จัดั ทำ�ำ ขึ้้น� เพื่�อ่ เป็น็
กรอบและแนวทางในทางการพัฒั นาวิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรมของประเทศ และการจััดสรรงบประมาณ
ให้้แก่่หน่ว่ ยงานในระบบวิิจััยและนวััตกรรมในลัักษณะต่่อเนื่�่องหลายปีี (Multi-year)
เพื่�อ่ ให้ก้ ารจัดั ทำ�ำ แผนด้า้ น ววน. พ.ศ. 2563 - 2565 สอดคล้อ้ งกับั นโยบายและยุทุ ธศาสตร์ก์ ารอุดุ มศึกึ ษา
วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ. 2563 - 2570 และทัันกัับกระบวนการปรัับงบประมาณ สำ�ำ นัักงาน
คณะกรรมการส่ง่ เสริมิ วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม และสำ�ำ นักั งานสภานโยบายการอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์
วิิจััยและนวััตกรรมแห่ง่ ชาติิ จึึงได้้ร่ว่ มกัันจััดทำำ�แผนด้้าน ววน. โดยกำำ�หนดเป้า้ หมาย ตััวชี้้�วััด ความสำ�ำ เร็จ็ และ
โปรแกรมย่อ่ ยที่�่สอดคล้้องกัันกัับ 4 แพลตฟอร์ม์ และ 16 โปรแกรม
ภายใต้้นโยบายและยุุทธศาสตร์ก์ ารอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ. 2563 - 2570
โดยสามารถปรัับปรุุงเปลี่�่ยนแปลงได้้ในอนาคตเพื่�่อให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์ที่�่เปลี่�่ยนไปและนโยบายของ
ประเทศให้้เกิิดประสิิทธิิผลสููงสุุด ทั้้�งนี้้� ได้้เปิิดโอกาสให้้ผู้้�แทนหน่่วยงานภาครััฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
ทั้้�งในส่ว่ นกลางและส่ว่ นภูมู ิภิ าคมีีส่ว่ นร่ว่ มในการจััดทำ�ำ แผนด้้าน ววน. รวมทั้้�งได้้รับั ข้อ้ คิิดเห็น็ จากผู้้�ทรงคุณุ วุุฒิิ
17 สาขา เมื่�่อวัันที่�่ 18 กรกฎาคม 2562
1 เป้า้ หมาย ตััวชี้้�วััดความสำ�ำ เร็จ็ และโปรแกรมย่่อย
1. สร้้างและจััดการองค์์ความรู้�และนวััตกรรมเพื่�่อเพิ่่�มขีีดความสามารถการแข่่งขัันของประเทศใน
แต่่ละแขนงและพื้้�นที่�่
2. สร้า้ งและจััดการองค์ค์ วามรู้�และนวัตั กรรมเพื่�อ่ ยกระดับั คุณุ ภาพชีีวิติ ของประชาชนในแต่ล่ ะพื้้�นที่�่
ในแต่่ละมิติ ิิ อาทิิ เศรษฐกิิจ สังั คม สุขุ ภาพ และสิ่่ง� แวดล้้อม
3. พัฒั นากำำ�ลัังคนและองค์์ความรู้�ของระบบวิิทยาศาสตร์์ การวิิจััยและนวััตกรรม (ววน.)
แผนด้้าน ววน. จััดทำำ�ขึ้้�นให้ม้ ีีความสอดคล้้องกัับนโยบายและยุุทธศาสตร์ก์ ารอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์
วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ. 2563 - 2570 ซึ่�ง่ จะขับั เคลื่�่อนการดำำ�เนิินงานในลัักษณะแพลตฟอร์ม์ การดำำ�เนินิ งาน
เชิงิ ยุทุ ธศาสตร์ท์ ั้้�งสิ้้น� 4 แพลตฟอร์ม์ ซึ่ง�่ ประกอบด้ว้ ยโปรแกรมภายใต้้ 16 โปรแกรม แต่ล่ ะโปรแกรมประกอบด้ว้ ย
โปรแกรมย่อ่ ยซึ่ง�่ จะระบุแุ นวทางการดำำ�เนินิ งานที่จ�่ ะส่ง่ ผลให้เ้ ป้า้ หมายและผลสัมั ฤทธิ์์ท� ี่ส�่ ำ�ำ คัญั ซึ่ง�่ ระบุใุ นนโยบาย
และยุุทธศาสตร์ก์ ารอุุดมศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม พ.ศ. 2563 - 2570 ประสบผลสำ�ำ เร็จ็
89
ตารางที่่� 3 ตััวชี้้�วััดความสำำ�เร็็จของนโยบายและยุุทธศาสตร์์ อววน. ที่่�สำ�ำ คัญั
ความสำำ�เร็จ็ ด้า้ น ตััวชี้้�วััดสำ�ำ คัญั พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2565
การจััดอัันดับั โดยสภาเศรษฐกิิจโลกและ 36 1 ใน 30
สถาบันั การจัดั การนานาชาติิ (2560)
การยกระดับั สัดั ส่่วนค่่าใช้้จ่่ายการลงทุุนวิิจััยและพัฒั นา 1% 1.5%
ความสามารถ นวัตั กรรมต่่อ GDP (2560) (2565)
การแข่ง่ ขััน
สััดส่่วนการลงทุุน R&D ของภาคเอกชน: ภาครัฐั 70:30
สััดส่่วนผลงานวิิจัยั และเทคโนโลยีีพร้้อมใช้้ที่่ถ� ููก ไม่่น้้อยกว่่า
นำ�ำ ไปใช้้ในการสร้้างมููลค่่าเชิงิ พาณิิชย์ใ์ ห้้กัับ 30%
ภาคการผลิติ และบริกิ าร เทีียบกัับผลงานทั้้�งหมด
รายได้้เกษตรกรที่ร่� ่่วมโครงการ (บาท/ครัวั เรืือน/ปี)ี 100,000 150,000
(จากปััจจุุบััน 74,483 บาท/ครััวเรืือน/ปี)ี 2,000
10,000
การลดความเหลื่�่อมล้ำ�ำ� ชุุมชนนวัตั กรรม ไม่่น้้อยกว่่า
ในสังั คม 1 เท่่าตััว
นวััตกรรมทางสังั คมและนวััตกรรมที่�่ผลิติ ได้้เอง
ภายในประเทศเพิ่่ม� ขึ้้น�
สัดั ส่่วนบุุคลากรด้้าน R&D ต่่อประชากร 25:10,000
การพัฒั นากำำ�ลังั คน สััดส่่วนการลงทุุน R&D ในอุุตสาหกรรมยุุทธศาสตร์์ 55:25:20
และองค์์ความรู้�้ และเป้า้ หมายของประเทศ: งานวิจิ ััยพื้้น� ฐานเพื่่อ�
สร้้าง/สะสมองค์์ความรู้้:� ระบบโครงสร้้างพื้้น� ฐาน
บุุคลากร และระบบมาตรฐาน
90
สำ�ำ หรับั ปีีงบประมาณ 2563 มีีตััวอย่า่ งของโปรแกรมย่อ่ ยภายใต้้แต่่ละโปรแกรม ดัังนี้้�
โปรแกรมที่�่ 1
สร้้างระบบผลิติ และพัั ฒนากำ�ำ ลัังคนให้้มีีคุณุ ภาพ
ตัวั อย่่างแผนงาน
การขยายผลหลัั กสููตรอุุ ดมศึึกษาและอาชีีวศึึกษาที่่�เชื่่� อมโยงสถาบัันการศึึกษาและภาค
อุุตสาหกรรมแบบบููรณาการการเรียี นรู้้�กัับการทำำ�งาน (Work-integrated Learning: WiL) ผ่่อนคลาย
ข้้อจำำ�กััดด้้านมาตรฐานหลัักสููตรการศึึกษาเพื่� ่อให้้สามารถระดมทรััพยากรบุุคคลและโครงสร้้างพื้้� นฐานจาก
สถานประกอบการมาช่่วยจััดการศึึกษาได้้ดีียิ่่�งขึ้้�น สนัับสนุุนงบประมาณเพิ่่�มเติิมให้้หน่่วยงานที่�่เกี่�่ยวข้้องเพื่�่อ
ขยายผล
หลัักสููตรแบบ WiL จััดตั้้�งหน่่วยงานที่�่ทำำ�หน้้าที่�่รัับผิิดชอบการจััดการเรีียนรู้�แบบ WiL ในวงกว้้าง
สนัับสนุุนให้้สถาบัันอุุดมศึึกษาร่่วมพััฒนาทัักษะให้้กัับครููอาชีีวศึึกษา สร้้างเครืือข่่ายระหว่่างโรงเรีียนระดัับ
การศึึกษาขั้้�นพื้้�นฐานที่�่เป็น็ ตััวป้้อนนัักเรีียนให้ก้ ัับสถาบันั อุุดมศึึกษาหรืือวิิทยาลััยอาชีีวศึึกษา เป็น็ ต้้น
การใช้้ประโยชน์์ผู้้�มีศี ักั ยภาพสููง (Talent Utilization) เช่่น ผลัักดัันโปรแกรมที่�่ใช้้ประโยชน์์
บุคุ ลากรที่ม�่ ีีศักั ยภาพจากสถาบันั การศึกึ ษาหรืือสถาบันั วิจิ ัยั ไปใช้เ้ พิ่่ม� ขีีดความสามารถให้ก้ ับั ภาคเศรษฐกิจิ สังั คม
และชุุมชน สนัับสนุุนทุุนวิิจััยระดัับหลัังปริิญญาเอกหรืือปริิญญาโทเพื่�่อทำำ�งานวิิจััยร่่วมกัับภาคอุุตสาหกรรม
เพื่�อ่ สร้า้ งงานด้้านการวิิจััยให้แ้ ก่่บัณั ฑิิตระดัับปริญิ ญาเอกหรืือโทที่�่มีีศักั ยภาพสูงู
การดึงึ ดููดผู้้�มีศี ักั ยภาพสููงจากต่า่ งประเทศ (Brain Circulation) ส่ง่ เสริมิ การนำ�ำ บุคุ ลากรชาวไทย
ที่�่มีีศัักยภาพสููงจากต่่างประเทศเข้้ามาทำำ�งานในประเทศไทย (Reverse Brain Drain) ในสาขาที่�่ขาดแคลน
ปรับั ปรุุงมาตรการต่า่ ง ๆ ที่เ�่ กี่ย�่ วข้อ้ งเพื่�อ่ ดึงึ ดูดู คนต่า่ งชาติเิ ข้า้ มาเป็น็ บุคุ ลากรทักั ษะในประเทศไทย เช่น่ ปรับั ปรุุง
เงื่�่อนไขวีีซ่า่ นัักศึึกษาต่่างชาติิให้ส้ ามารถทำำ�งานระหว่่างเรีียน และหางานทำำ�หลัังสำ�ำ เร็จ็ การศึึกษาได้้ เป็น็ ต้้น
รวมถึึงชัักจููงมหาวิิทยาลััยระดัับโลกเข้้ามาตั้้�งในประเทศไทย และสร้้างเส้้นทางอาชีีพของนัักวิิจััยให้้
จููงใจคนรุ่�นใหม่โ่ ดยการปรับั เกณฑ์์รายได้้หรืือสวััสดิิการในสถาบันั วิิจััย
การส่ง่ เสริมิ การเคลื่่�อนย้า้ ยบุคุ ลากรระหว่า่ งภาคส่ว่ นต่า่ ง ๆ ภายในประเทศ (Talent Mobility)
ปรับั ระเบีียบเคลื่�่อนย้า้ ยบุุคลากรสถาบันั อุุดมศึกึ ษาไปปฏิิบัตั ิิงานในสถาบันั วิิจััยหรืือภาคเอกชน ปรับั ปรุุงกลไก
และแรงจููงใจที่�่เกี่�่ยวข้้อง เช่่น ระบบภาระงาน จััดทำำ�ขั้้�นตอนที่�่ชััดเจนในการขอตำำ�แหน่่งทางวิิชาการโดยใช้้
ผลงานจากภาคอุุตสาหกรรม ผลัักดัันระบบศาสตราจารย์์ร่่วมระหว่่างสถาบััน (Co-affiliation) จััดตั้้�ง
ห้อ้ งปฏิิบัตั ิิการร่ว่ ม (Joint College) หรืือวิิทยาลััยร่ว่ ม (Joint Lab)
91
โปรแกรมที่�่ 2
การพัั ฒนากำ�ำ ลัังคนระดัับสููงรองรัับ EEC และระบบเศรษฐกิจิ สัังคม
ของประเทศ
ตัวั อย่่างแผนงาน
การพััฒนาระบบข้้อมููลและแผนความต้้องการบััณฑิิตของพื้้�นที่่� EEC โดยเป็็นระบบข้้อมููลที่�่
สามารถรายงานข้อ้ มูลู ความต้้องการกำำ�ลังั ของพื้้�นที่�่ได้้อย่า่ งทัันสถานการณ์์ สามารถจำำ�แนกข้อ้ มูลู ความต้้องการ
กำำ�ลัังคนในมิติ ิิต่่าง ๆ ได้้ เช่น่ กลุ่่�มอุุตสาหกรรม อาชีีพ สาขาความเชี่�ย่ วชาญ และทัักษะ เป็น็ ต้้น เพื่�อ่ ให้้จำำ�นวน
และคุณุ ภาพกำำ�ลัังคนที่�่ผลิิตได้้สอดคล้้องกัับความต้้องการของอุุตสาหกรรมในพื้้�นที่�่
การพััฒนาความสามารถด้้านเทคโนโลยีใี ห้้แก่่สถานประกอบการโดยใช้้โจทย์์ร่ว่ ม (Training
Consortium หรืือ R&D Consortium) โดยให้ส้ ถานประกอบการร่ว่ มกันั กำำ�หนดโจทย์ค์ วามต้้องการพัฒั นาทัักษะ
และความรู้�แก่่บุุคลากร เพื่�อ่ ให้ก้ ารพัฒั นาบุุคลากรในภาคอุุตสาหกรรมใช้ท้ รัพั ยากรอย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพ และ
สร้้างความร่่วมมืืออัันเข้้มแข็็งให้้กัับสถานประกอบการที่�่อยู่่�ในกลุ่่�มอุุตสาหกรรมเดีียวกัันหรืือมีีลัักษณะกิิจการ
คล้้ายคลึึงกััน จััดทำำ�มาตรการทางการเงิินหรืือสิิทธิิประโยชน์์ทางภาษีีหรืือที่�่ไม่่ใช่่ภาษีี เพื่�่อสนัับสนุุน
สถานประกอบการที่�่พัฒั นาบุุคลากรหรืือทำำ�วิิจััยแบบ Consortium กำำ�หนดให้ม้ ีีหน่ว่ ยงานรับั ผิิดชอบประสาน
กลุ่่�มอุุตสาหกรรมให้เ้ กิิดการพัฒั นาบุุคลากรและการวิิจััยแบบ Consortium
การส่่งเสริมิ การพััฒนากำำ�ลัังคนหรือื การวิิจััยร่ว่ มระหว่่างสถานศึกึ ษากัับสถานประกอบการ
ในพื้้�นที่่� EEC โดยใช้้กลไกต่่าง ๆ เช่น่ หลัักสููตรแบบ WiL กลไก Talent Mobility และการทำำ�วิิจััยระดัับหลััง
ปริญิ ญาเอกหรืือปริญิ ญาโทที่�่มีีโจทย์ว์ ิิจััยมาจากสถานประกอบการในพื้้�นที่�่ EEC
การใช้น้ วััตกรรมทางการศึกึ ษาแบบ Sandbox เพื่�อ่ พัฒั นาหลัักสูตู รในสถาบันั การศึกึ ษารููปแบบ
ใหม่ท่ ี่�่ทัันสมัยั และสอดคล้้องกัับความต้้องการของอุุตสาหกรรมในพื้้�นที่�่ EEC โดยขอยกเว้้นมาตรฐานการศึกึ ษา
บางประการ
92
โปรแกรมที่�่ 3
ส่ง่ เสริิมการเรีียนรู้ต้� ลอดชีีวิิตและพัั ฒนาทัักษะเพื่่� ออนาคต
ตััวอย่า่ งแผนงาน
การยกระดัับระบบฝึกึ อบรมเพื่่�อพััฒนาทัักษะสำ�ำ หรับั บุุคลากรวััยทำำ�งาน (Re-skill/Up-skill)
เช่่น ผลัักดัันระบบธนาคารหน่่วยกิิตในการศึึกษาทุุกระดัับ พััฒนาหลัักสููตรฝึึกอบรมระยะสั้้�นแบบ Micro-
credential หรืือ Nano-degree ให้้การสนัับสนุุนทางการเงิินสำ�ำ หรัับบุุคคลเพื่�่อเพิ่่�มพููนทัักษะ (Life-long
Learning Credit) พัฒั นาและขยายผลระบบ Massive Open Online Courses (MOOCs) จััดทำำ�ระบบสารสนเทศ
เพื่�อ่ บริหิ ารจััดการการพัฒั นาทัักษะรายบุุคคลและฐานข้อ้ มููลกลางที่�่มีีข้อ้ มูลู ด้้านหลัักสูตู รฝึกึ อบรม (Life-long
Learning Account)
การขยายผลกลไกพััฒนาทัักษะด้้านการวิิจััยและนวััตกรรมและทัักษะเพื่่�ออนาคต (Future
Skills) ให้แ้ ก่่เยาวชน เช่น่ ขยายผลห้้องปฏิิบัตั ิิการวิิศวกรรมศาสตร์์ (STEAM Lab) ในโรงเรีียนและวิิทยาลััย
อาชีีวศึกึ ษา สร้า้ งเวทีีให้เ้ ด็ก็ รุ่�นใหม่แ่ สดงออกด้า้ นความคิดิ สร้า้ งสรรค์แ์ ละนวัตั กรรม เช่น่ Youth TedTalk หรืือ
Youth-initiated Policy Pitching ขยายผลกลไกการจััดการเรีียนรู้�โดยใช้ง้ านวิิจััยเป็็นฐาน (Research-based
Learning) ที่�่ใช้โ้ จทย์ว์ ิิจััยจากท้้องถิ่่�น
โปรแกรมที่่� 4
ส่ง่ เสริิมปัญั ญาประดิษิ ฐ์เ์ ป็น็ ฐานขัับเคลื่่อ� นประเทศในอนาคต
ตัวั อย่า่ งแผนงาน
ปััญญาประดิิษฐ์์สำ�ำ หรัับสาธารณชน การฝึึกอบรมระยะสั้้�นหรืือจััดกิิจกรรมเพื่�่อสร้้างให้้เกิิด
กระแสด้้านปััญญาประดิิษฐ์์สำ�ำ หรัับสาธารณะและการสร้้างการรัับรู้�ในสัังคม การสร้้างให้้เกิิดความเข้้าใจการ
ศึกึ ษาพื้้�นฐานด้้านปััญญาประดิิษฐ์์ ให้้กัับเด็็กและเยาวชน การพัฒั นาแรงงานด้้านปัญั ญาประดิิษฐ์์ สร้า้ งให้้เกิิด
กำำ�ลัังคนป้้อนตลาดแรงงานที่�่สามารถทำำ�งานโดยใช้้เทคโนโลยีีปััญญาประดิิษฐ์์และการเรีียนรู้�ของเครื่�่อง (AI/
Machine Learning) ได้้ การสนับั สนุนุ ให้ม้ ีีการเปลี่�่ยนผ่า่ นธุุรกิิจสู่่�ยุุคปััญญาประดิิษฐ์์ การจััดตั้้�งศูนู ย์ก์ ารศึึกษา
และส่ง่ เสริมิ ปัญั ญาประดิิษฐ์์
93
โปรแกรมที่่� 5
ส่ง่ เสริิมการวิจิ ัยั ขั้้น� แนวหน้้า และการวิิจััยพื้้� นฐาน
ที่่�ประเทศไทยมีีศัักยภาพ
ตััวอย่่างแผนงาน
การแพทย์แ์ ละสาธารณสุขุ ขั้้�นแนวหน้้า (Health Frontier) และการวิิจััยพื้้�นฐาน การวิิจััยเพื่�อ่
กำำ�หนดทิิศทางการวิิจััยให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์ และความเชี่�่ยวชาญของประเทศ การวิิจััย Stem Cells,
Biologics, Non-communicable Diseases (เช่น่ Cardiovascular Diseases, Metabolic Syndrome, Bone
and Joint Disease), Infectious Diseases (เช่่น Dengue, HIV), Genetic Diseases (เช่่น Thalassemia),
Immunological Diseases การวิิจััยขั้้�นสูงู อาทิิ Genomics, Regenerative Medicine, Precision Medicine,
Artificial Intelligence, Medical Robotics และ Deep-tech Medical Device และการวิิจััยเพื่�อ่ อนาคต (Future/
Frontier Research) เช่น่ การวิิจััยด้้าน Genomics, Regenerative Medicine, Precision Medicine, Artificial
Intelligence, Medical Robotics และ Deep-tech Medical Device การวิิจััยที่�่เป็น็ Strategic Research Issue
ที่�่สร้้างประเทศที่�่มีีความเข้ม้ แข็ง็ ด้้าน Biomedical Search โดยเฉพาะการสร้้างกลุ่่�มวิิจััยและ Infrastructure
เช่น่ งานวิิจััยด้้าน Non-communicable Disease (เช่น่ Cardiovascular Disease ในแถบอาเซีียน โรคมะเร็ง็
ฯลฯ) โรคติิดเชื้้�อ โดยเฉพาะโรคเขตร้อ้ น, วััสดุศุ าสตร์ท์ างการแพทย์,์ ผลิิตภััณฑ์์เสริมิ อาหาร, Biologics (เช่น่
วััคซีีน, Recombinant Protein, Monoclonal Antibody, Transbody) ตลอดจนสมุนุ ไพรและสารจากธรรมชาติิ
ซึ่ง�่ รวมถึงึ กัญั ชาและผลิติ ภััณฑ์จ์ ากกัญั ชา โดยสนับั สนุนุ ทั้้�ง Basic Science และ Applied Science ที่�เ่ กี่ย�่ วข้อ้ ง
อาหารเพื่่�ออนาคต (Food for the Future) การวิิจััยเพื่�อ่ หาแหล่่งโปรตีีนทางเลืือกจากพืืช สัตั ว์์
การประเมิินคุุณภาพทางเคมีีประสาทสััมผััส (Chemical Senses) ในระดัับโมเลกุุล (Molecular Sensory)
ด้้านกลิ่่�นรส และประสาทสััมผััสรวม และความสััมพัันธ์์ระหว่่างสมองและทางเดิินอาหาร (Gut-brain Axis)
การออกแบบและพััฒนาผลิิตภััณฑ์์อาหารโดยใช้้นวััตกรรมในระดัับชีีววิิทยาโมเลกุุลและการใช้้โครงสร้้าง
พื้้�นฐานด้้าน OMICs การพัฒั นาศูนู ย์ว์ ิิจััยพื้้�นฐานและเทคโนโลยีีขั้้�นสูงู ของอุุตสาหกรรมอาหาร เช่น่ Molecular
Sensory, OMICs in Food, Novel Food Processing and Smart Technology, Neuroscience-related Food
Sensory Analysis, Chemical Migration of Food Contact Materials เป็น็ ต้้น
พลัังงานแห่ง่ อนาคต (Future Energy) การวิิจััยเพื่�อ่ สร้า้ งความมั่่�นคงด้้านพลัังงาน การพัฒั นา
วััตถุุหมุุนเวีียนภายในประเทศเพื่�อ่ การผลิิตพลัังงานอย่า่ งยั่่�งยืืน การเพิ่่�มจำำ�นวนและศัักยภาพของผู้้�ผลิิตไฟฟ้า้
รายย่อ่ ย การพัฒั นาโครงการพื้้�นฐานเพื่�อ่ รองรับั ผู้้�ผลิิตไฟฟ้า้ รายย่อ่ ย การพัฒั นาแบตเตอรีีให้ส้ ามารถใช้ง้ านได้้
ภายในอาคารหรืือโรงไฟฟ้้าขนาดเล็็ก การพััฒนาแบตเตอรีีรองรัับการใช้้งานรถยนต์์ไฟฟ้้า (EV) การพััฒนา
เทคโนโลยีีพลัังงานสะอาด การบริหิ ารจััดการและกัักเก็็บพลัังงาน
การพัฒั นาอุุปกรณ์แ์ ละเครื่�อ่ งตรวจวััดให้พ้ ร้อ้ มกัับภาคการผลิิต และการใช้พ้ ลัังงานที่�่เปลี่�่ยนแปลงไป
เช่่น Smart Meter และ Smart Device การพััฒนากฎระเบีียบและข้้อบัังคัับ เพื่�่อรองรัับการเปลี่�่ยนแปลง
เทคโนโลยีี โดยเฉพาะกลุ่่�มเทคโนโลยีีเปลี่�่ยนโลก (Disruptive Technology) การพััฒนาเทคโนโลยีีเพื่�่อการ
กัักเก็็บพลัังงานที่�่เหมาะสมกัับบริิบทของประเทศ การวิิจััยเชิิงนโยบายด้้าน Prosumer Blockchain P2P
ด้้านพลัังงานไฟฟ้า้ และการสร้า้ งความเป็็นธรรมด้้านพลัังงาน
94
การวิิจััยพื้้�นฐานด้้านสัังคมศาสตร์์ มนุุษยศาสตร์์ และศิิลปกรรมศาสตร์์ การร่่วมกัันสร้้าง
องค์์ความรู้้�จากทุุนในชุุมชนและท้้องถิ่่�นเพื่� ่อสร้้างองค์์ความรู้ �ใหม่่ที่�่มีีความหลากหลายข้้ามพื้้� นที่�่/วััฒนธรรม/
ภาษาถิ่่�น เกิิดเป็็นนวััตกรรมที่�่มีีความหลากหลายอย่่างสอดรัับกัับสัังคมปััจจุุบััน การศึึกษาทุุนทางสัังคมและ
วััฒนธรรมท้้องถิ่่�นเพื่�อ่ ใช้เ้ ป็น็ กลไกในการพัฒั นา โดยศึกึ ษาในรููปแบบ Basic Research ที่�่ต้้องเข้า้ ใจแก่่นแท้้ของ
ชุุมชน ซึ่�ง่ มีีกระบวนการวิิจััยอย่า่ งมีีส่ว่ นร่ว่ มและได้้รับั การยอมรับั จากชุุมชน งานสร้า้ งสรรค์์ผ่า่ นภาษาถิ่่�นและ
การใช้้ภาษาถิ่่�นเพื่�่อทำำ�ความเข้้าใจทุุนทางวััฒนธรรม การเข้้าถึึง การรัักษา การขยายความทุุนทางวััฒนธรรม
และมรดกทางวััฒนธรรม งานวิิจััยพื้้�นฐานเพื่�อ่ ทำำ�ความเข้า้ ใจแก่่นแท้้ของการแสดงของชุุมชนและท้้องถิ่่�นและ
พัฒั นาคุณุ ภาพชีีวิิต การสร้า้ งความหมายใหม่แ่ ก่่มรดกทางวััฒนธรรมของชุุมชนและท้้องถิ่่�น โดยกระบวนการ
มีีส่่วนร่่วมและยอมรัับของเจ้้าของวััฒนธรรม การใช้้ทุุนทางวััฒนธรรมและมรดกทางวััฒนธรรมเป็็นเครื่�่องมืือ
ในการสร้้างกระบวนการพััฒนาชุุมชน การนำ�ำ ความรู้้�จากสหสาขาวิิชา เช่่น วิิทยาศาสตร์์ วิิศวกรรมศาสตร์์
เศรษฐศาสตร์์ มาประยุุกต์์กัับงานวิิจััยเชิิงสัังคม เพื่�่อให้้เกิิดการเปลี่�่ยนแปลงทางสัังคมอย่่างรอบด้้าน อาทิิ
การทำำ�วิิจััยเชิงิ เศรษฐกิิจฐานราก เช่น่ นวััตกรรมทางสังั คมระดัับชุุมชน หรืือการทำำ�วิิจััยด้้านการพัฒั นาโดยให้้
ประชาชนทั่่�วไปเข้า้ มามีีส่ว่ นร่ว่ ม เป็น็ ต้้น
Open Society สังั คมสันั ติปิ ระชาธรรม ศึกึ ษาช่อ่ งว่า่ งของทักั ษะผู้้�ประกอบการ (Entrepreneurial
Skills) ในประเทศไทย และสร้า้ งองค์์ความรู้�แบบองค์์รวม ด้้านเศรษฐกิิจ สังั คม การเมืือง ศิิลปะและวััฒนธรรม
สร้า้ งดััชนีีสันั ติิประชาธรรม เพื่�อ่ การติิดตามผล
โปรแกรมที่่� 6
พัั ฒนาโครงสร้้างพื้้� นฐานทางการวิจิ ััยที่ส�่ ำ�ำ คััญ
ตัวั อย่า่ งแผนงาน
การจัดั ทำ�ำ แผนพัฒั นาโครงสร้า้ งพื้้�นฐานการวิจิ ัยั ขนาดใหญ่ร่ ะดับั ชาติิ เนื่�อ่ งจากโครงสร้า้ งพื้้�นฐาน
การวิิจััยขนาดใหญ่่ ใช้ง้ บประมาณในการสร้า้ ง ดำำ�เนิินการและบำ�ำ รุุงรักั ษาสูงู จำำ�เป็น็ ต้้องพึ่่�งพางบประมาณของ
รััฐจำ�ำ นวนมาก และเป็็นระยะที่�่ต่่อเนื่�่องตลอดอายุุการใช้้งาน ในบางกรณีีต้้องคำ�ำ นึึงถึึงการรื้้�อถอนด้้วย ดัังนั้้�น
การตััดสิินใจพััฒนาโครงสร้้างพื้้�นฐานการวิิจััยขนาดใหญ่่จึึงต้้องคำ�ำ นึึงถึึงความจำ�ำ เป็็น ลำ�ำ ดัับความสำ�ำ คััญ
การใช้้ประโยชน์์ ความสามารถในการเข้้าถึึงและการบริิหารจััดการให้้ครบทุุกมิิติิ และการลงทุุนควรสััมพัันธ์์
กัับแผนพัฒั นาประเทศ
โครงสร้า้ งพื้้�นฐานการวิิจััยขนาดใหญ่่ด้้านวััฒนธรรม เพื่�่อเก็็บรวบรวมความหลากหลายทาง
วััฒนธรรมและชาติิพันั ธุ์์�ไว้้เป็น็ สมบัตั ิิของชาติิและมนุษุ ยชาติิ เพื่�อ่ เป็น็ แหล่่งค้้นคว้้าและต่่อยอดของนักั วิิชาการ
ไทยและนัักวิิชาการต่่างชาติิ เป็็นทุนุ สำ�ำ หรับั การพัฒั นานวััตกรรม
95
การเก็็บรวบรวมตััวอย่่างทางชีวี วิิทยา เพื่�่อเก็็บรวบรวมตััวอย่่างทางชีีววิิทยา พยาธิวิ ิิทยาและ
ความหลากหลายทางชีีวภาพไว้้เป็็นสมบััติิของชาติิและมนุุษยชาติิ เพื่�่อเป็็นแหล่่งค้้นคว้้าและต่่อยอดของ
นัักวิิชาการไทยและนักั วิิชาการต่่างชาติิ เป็น็ ฐานข้อ้ มููลเพื่�อ่ ปรับั ปรุุงพันั ธุุกรรมและการรับั มืือการเปลี่�่ยนแปลง
สภาพภููมิิอากาศ รวมทั้้�งเป็็นทุนุ ในการพัฒั นานวััตกรรม
โครงสร้า้ งพื้้�นฐานการวิิจััยขนาดใหญ่ด่ ้้านวิิทยาศาสตร์ก์ ายภาพ ความรู้�ใหม่ห่ รืือเทคโนโลยีีใหม่่
เกิิดจากข้อ้ สรุุปของการสำ�ำ รวจธรรมชาติิในย่า่ นที่�่ไม่เ่ คยทำำ�ได้้มาก่่อน ซึ่�ง่ ต้้องการเครื่�อ่ งมืือวิิทยาศาสตร์ช์ ุุดใหม่่
ที่�่มีีพลัังอำำ�นาจเพิ่่�มขึ้้�น การกำำ�หนดวััตถุุประสงค์์และขอบข่่ายความสามารถของโครงสร้้างพื้้�นฐานการวิิจััย
ขนาดใหญ่่ที่�่ต้้องการพััฒนาเป็็นสิ่่�งจำำ�เป็็น เพื่�่อให้้สามารถประเมิินความจำำ�เป็็น ความเป็็นไปได้้ และในการ
ติิดตามความก้้าวหน้า้
โปรแกรมที่�่ 7
โจทย์ท์ ้้าทายด้้านทรัพั ยากร สิ่่ง� แวดล้้อม และการเกษตร
ตัวั อย่่างแผนงาน
การจััดการทรััพยากรน้ำำ�และทะเล การวิิจััยเพื่�่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิิจจากน้ำ�ำ ท่่วมและ
น้ำ�ำ แล้้งลง ร้อ้ ยละ 50 ขยายระบบการให้้บริกิ ารรน้ำำ�ประปาที่�่มีีประสิทิ ธิภิ าพให้ท้ ั่่�วถึึงทุกุ ครัวั เรืือน และบริหิ าร
จััดการให้้สอดคล้้องกัับความต้้องการของการใช้้น้ำ�ำ ทั้้�งภาคครััวเรืือน บริิการ และอุุตสาหกรรม การปรัับปรุุง
และเชื่�่อมโยงระบบการบริิหารจััดการน้ำ�ำ อย่่างมีีเอกภาพและมีีระบบข้้อมููลสนัับสนุุนการตััดสิินใจเชิิงนโยบาย
ที่�่มีีประสิิทธิิภาพ รวดเร็็วและแม่่นยำ�ำ จััดให้้มีี Marine Spatial Planning ของประเทศไทย และจััดทำำ�บััญชีี
เศรษฐกิิจสีีน้ำำ�เงิินและฐานข้อ้ มูลู ด้้านเศรษฐกิิจ สังั คม ผนวกกัับทรัพั ยากรในทะเลลึึกของไทย
การลดมลพิิษทางอากาศ การพััฒนาและปรัับเปลี่�่ยน Business Model เกษตรกรรมเพื่�่อให้้
เกิิดการเปลี่�่ยนการปลููกพืืชให้้มีีความยั่่�งยืืนยิ่่�งขึ้้�น การศึึกษาและวิิจััยเชิิงลึึกเกี่�่ยวกัับสาเหตุุ แหล่่งต้้นกำำ�เนิิด
การเคลื่�่อนที่�่ของมลพิษิ ในพื้้�นที่�่ และการศึกึ ษาประเมินิ ผลกระทบต่่อสาธารณะ (Public Assessment) ทั้้�งด้้าน
สุุขภาพและเศรษฐกิิจ การขัับเคลื่�่อนยุุทธศาสตร์์และบููรณาการการนำ�ำ นโยบายสาธารณะไปปฏิิบััติิอย่่างเป็็น
รููปธรรม
ขยะพลาสติิกในทะเล การบริิหารจััดการขยะและของเสีียโดยชุุมชน ส่่งเสริิมการใช้้เทคโนโลยีี
และนวััตกรรมธรรมชาติิเพื่�่อลดขยะและของเสีีย (นโยบายและการวิิจััย) Waste to Energy (นโยบายและ
การวิิจััย) การลดก๊๊าซเรืือนกระจกและการปรับั ตััวต่่อการเปลี่�่ยนแปลงสภาพภูมู ิิอากาศ การจััดการที่�่ดิิน การใช้้
ประโยชน์ท์ ี่�่ดิินและป่่าไม้้
96
โปรแกรมที่่� 8
สังั คมสููงวัยั
ตััวอย่่างแผนงาน
การจััดระบบบริกิ ารทางสังั คม Social Service Development (การประกัันสังั คม การช่ว่ ยเหลืือ
ทางสังั คม และการเป็น็ หุ้้�นส่ว่ นทางสังั คม) ส่ง่ เสริมิ ระบบการดูแู ลผู้้�สูงู อายุุ พัฒั นา Care-relation ระบบสุขุ ภาพ
รองรับั สังั คมสูงู วัยั และบริกิ ารระบบสุขุ ภาวะ บนฐานของครอบครัวั และชุมุ ชน ตลอดจนการปรับั สภาพแวดล้อ้ ม
ให้้เป็็นมิติ รกัับผู้้�สูงู อายุุ บููรณาการระบบสนับั สนุนุ ทุกุ ภาคส่ว่ นที่�่เกี่�่ยวข้อ้ ง
เตรียี มประชากรทุุกช่่วงวััยให้้เท่่าทัันสัังคมสููงวััย การพััฒนาศัักยภาพประชากรทุุกช่่วงวััยให้้
เท่่าทัันสัังคมสููงวััย เน้้นด้้านความเท่่าทัันสุุขภาวะ (สุุขภาพกาย จิิตใจและสัังคม) Health Literacy: HL
เท่่าทัันเศรษฐกิิจ Financial Literacy: FL และเท่่าทัันสื่�่อ สารสนเทศ และดิิจิิทััล Media Information and
Digital Literacy: MIDL ปลููกฝัังคุุณธรรมจริิยธรรม ค่่านิิยมไทย การพััฒนาระบบและกลไก และแนวทาง
ส่่งเสริิมการพััฒนาคุ้้�มครองและพิิทัักษ์์ประชากรทุุกช่่วงวััย ในกลุ่่�มวััยเด็็กและเยาวชนเน้้นให้้มีีทัักษะการคิิด
วิิเคราะห์์ ให้้เกิิดการบููรณาการภาคีีทุุกภาคส่่วน รััฐ เอกชน NGOs และประชาสัังคม พััฒนากระบวนการครูู
และกระบวนการบุุคลากร เพื่�อ่ เตรีียมประชากรทุกุ ช่ว่ งวััยให้้เท่่าทัันสังั คมสูงู วััย
โปรแกรมที่่� 9
สังั คมคุณุ ภาพและความมั่่น� คง
ตัวั อย่่างแผนงาน
การปรัับดุุลอำำ�นาจในสัังคมให้้ประชาชนมีีสิิทธิ์์�ในการตััดสิินใจทิิศทางการพััฒนามากขึ้้�น
การจััดพื้้�นที่�่ในการพููดคุุย เพื่�่อศึึกษาถึึงสถานการณ์์และทำำ�ความเข้้าใจในความแตกต่่างของคนในสัังคมเพื่�่อ
หาทางแก้้ไขปััญหาร่่วมกัันและเรีียนรู้้�ประสบการณ์์ร่่วมกััน การปรัับสมดุุลอำำ�นาจเพื่�่อให้้นโยบายส่่วนกลาง
สามารถถูกู ปรับั ให้เ้ หมาะสมกับั บริบิ ทในแต่ล่ ะพื้้�นที่โ�่ ดยให้ป้ ระชาชนมีีส่ว่ นร่ว่ มในการออกความเห็น็ และพัฒั นา
การส่ง่ เสริมิ ให้ป้ ระชาชนมีีความสามารถในการแก้้ไขปัญั หาด้้วยการทำำ�วิิจััย หรืือมีีส่ว่ นร่ว่ มในการออกแบบการ
วิิจััยเพื่�่อการพััฒนาพื้้�นที่�่ของตนเอง เช่น่ งานวิิจััยรููปแบบ ABC (Area-base Development Research) และ
CBR (Community-based Research)
การพััฒนาทัักษะและขีีดความสามารถของทรัพั ยากรมนุุษย์์ การสร้้างองค์์ความรู้้�ที่�่สอดรัับ
และสามารถช่ว่ ยแก้้ไขปัญั หาในสถานการณ์ป์ ัจั จุุบันั โดยต้้องปรับั เปลี่�่ยนวััฒนธรรม/เปลี่�่ยนความคิิดของคนที่�่
อาศััยความรู้�ทางมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ เพื่�่อเปลี่�่ยนจากโลกของฉัันมาสู่่�การเป็็นโลกของเรา เพื่�่อให้้
สังั คมมีีความยั่่�งยืืนและยอมรับั ความแตกต่่างหลากหลาย การสร้า้ งสำ�ำ นึกึ รับั ผิดิ ชอบของมนุษุ ย์ท์ ี่�่มีีต่่อธรรมชาติิ
และสิ่่�งแวดล้้อม เพราะผู้้�รัับผลกระทบคืือคนในสัังคมที่�่จะต้้องรัับมืือกัับโลกยุุคโลกาภิิวััตน์์ ภาวะข้้ามแดน