ค ู ่ มอ ื การดา เน ิ นการทางวน ิั ย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ของข ้ าราชการคร ู และบ ุ คลากรทางการศก ึ ษา (ฉบับย่อ) 1
ค ู ่ มอ ื การดา เน ิ นการทางวน ิั ย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ของข ้ าราชการคร ู และบ ุ คลากรทางการศก ึ ษา (ฉบับย่อ) 2
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3 ที่ปรึกษา เลขาธิการ ก.ค.ศ. (รองศาสตราจารย์ประวิต เอราวรรณ์ รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. (นางจีรนันท์ เพ่งพินิจ) ที่ปรึกษาส านักงาน ก.ค.ศ. (นายสามารถ ข่าวดี) ที่ปรึกษาส านักงาน ก.ค.ศ. (นางปราณี ศิวารมณ์) ผู้เรียบเรียง นิติกรช านาญการพิเศษรักษาการในต าแหน่งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านกฎหมาย (นางสาวนันทิพัฒนน์ บุญทวี) เจ้าของ ส านักงาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ ปีที่จัดพิมพ์ ธันวาคม 2566
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4 ค าน า คู่มือการด าเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับย่อ) ส านักงาน ก.ค.ศ. จัดท าขึ้นแบบไม่ใช้ ภาษาที่เป็นทางการ เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการด าเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ท าความเข้าใจขั้นตอนต่าง ๆ โดยง่าย เช่น หน้าที่ของผู้สั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบสวน สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน ขั้นตอนในการอุทธรณ์และการร้องทุกข์ โดยจัดท าควบคู่กับคู่มือการด าเนินการทาง วินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งเป็นฉบับที่มีรายละเอียดในการด าเนินการ ส านักงาน ก.ค.ศ. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้คงเป็นประโยชน์แก่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารวมทั้งผู้ที่สนใจเกี่ยวกับคู่มือการ ด าเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา (ฉบับย่อ) ส านักงาน ก.ค.ศ. ธันวาคม 2566
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นิยามศัพท์ ก.ค.ศ หมายถึง คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หมายถึง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หมายถึง อ.ก.ค.ศ. ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อ.ก.ค.ศ. ส านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา อ.ก.ค.ศ. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ หรือ อ.ก.ค.ศ. ส านักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ผู้บังคับบัญชา หมายถึง ผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 5 ผู้บังคับบัญชาผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย ได้แก่ 1. ผู้อ านวยการสถานศึกษา หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่าซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้กระท าผิดวินัย 2. ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือต าแหน่ง และบุคลากรทางการศึกษาผู้กระท าผิดวินัย ที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เทียบเท่า ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครู 3. ศึกษาธิการจังหวัด ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ในส านักงานศึกษาธิการจังหวัดผู้กระท าผิดวินัย 4. นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ปลัดกระทรวง เลขาธิการ อธิบดี หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่า หรืออธิการบดี หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่า ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาผู้กระท าผิดวินัย
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นิยามศัพท์ (ต่อ) ผู้มีอ านาจตามมาตรา 53 หมายถึง ผู้มีอ านาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง สส. หมายถึง กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ. 2550 อธ. หมายถึง กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ พ.ศ. 2550 รท. หมายถึง กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาร้องทุกข์ พ.ศ. 2551 ระเบียบ หมายถึงระเบียบ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการรายงานเกี่ยวกับการด าเนินการ ทางวินัยและการออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2566 6
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การด าเนินการทางวินัย เป็นหลักการส าคัญของ การบริหารงานบุคคลภาครัฐ ที่ผู้บังคับบัญชาหรือ องค์กรผู้มีอ านาจจะต้องด าเนินการให้เป็นไป ตามบทบัญญัติของกฎหมาย ซึ่งมีขั้นตอนการ ปฏิบัติที่ชัดเจน โดยกฎหมายได้ก าหนดล าดับ ขั้นตอนการด าเนินการไว้ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 (หมวด 7) การด าเนินการทางวินัย มาตรา 98... 7
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จุดมุ่งหมายของการด าเนินการทางวินัย เพื่อให้การลงโทษข้าราชการเป็นไปโดยถูกต้อง เหมาะสมตามกระบวนการ โดยที่ค าสั่งลงโทษทางวินัย เป็นค าสั่งทางปกครอง ขั้นตอนการด าเนินการ แ ล ะ ก า รใ ช้ ดุ ลพิ นิ จ ก าห น ดโทษ ท า ง วิ นั ย จึงต้องเป็นไปตามหลักความชอบด้วยกฎหมาย 8
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การด าเนินการทางวินัย หมายถึง กระบวนการ และขั้นตอนการด าเนินการในการลงโทษ ข้าราชการ ซึ่งเป็นกระบวนการตามกฎหมายที่ บัญญัติให้เมื่อข้าราชการมีกรณีถูกกล่าวหาว่า กระท าผิดวินัย ได้แก่ 1. การตั้งเรื่องกล่าวหา 2. การสืบสวนหรือการสอบสวน 3. การพิจารณาความผิดและก าหนดโทษ 4. การลงโทษหรืองดโทษ 9
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สอบสวนวินัย 10
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (สส. ข้อ 3) และ (สส. ข้อ 6 ) พิจารณา+สั่งค าคัดค้านกรรมการสอบสวน (สส. ข้อ 8) สั่งขยายระยะเวลาสอบสวน (สส. ข้อ 20 และ ข้อ 21) พ้นจากการเป็นผู้มีอ านาจพิจารณาส านวนการสอบสวน ตามข้อ 40 และ ข้อ 41 + การสั่งส านวนการสอบสวน เมื่อผู้ถูกกล่าวหาคัดค้าน และผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป เห็นว่าค าคัดค้านฟังได้ (ส.ส. ข้อ 9 วรรคสี่) หรือผู้บังคับบัญชา ไม่พิจารณาสั่งการภายใน 15 วัน (สส. ข้อ 9 วรรคห้า) การพ้นจากการเป็นผู้มีอ านาจพิจารณาส านวนการสอบสวน หรือสั่งการตามผลการสอบสวนที่เสร็จสิ้นแล้ว (สส. ข้อ 9วรรคหก) แต่งตั้งกรรมการสอบสวนกรณีสอบสวนแล้วพาดพิงข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผู้อื่น หรือมูลที่กล่าวหาเป็นความผิด วินัยอย่างร้ายแรง หรือเป็นความผิดกรณีอื่น (สส. ข้อ 34) พิจารณาและสั่งส านวนการสอบสวน (ส.ส.ข้อ 40-ข้อ 42) 11
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข ้ อควรร ู ้ เมอ ื่ต ้ องออกคา ส่ังแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวนวินัย ระบุในคา ส่ังว่าเป็ นการแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรงหรืออยางร้ายแรง ่ (สส. ข้อ 3 วรรคหนึ่ง) กรรมการสอบสวนต้องมีอย่างน้อย 3 คน : ประธานกรรมการ และกรรมการ 2 คน และให้กรรมการเป็ นเลขานุการ 1 คน ถ้าจา เป็ นจะตัง้ผู้ช่วยเลขานุการกไ็ ด้ แต่ทงั้หมดต้องเป็ นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือเป็ นข้าราชการฝ่ ายพลเรือน (สส. ข้อ 3 วรรคหนึ่ง) ถ้าแต่งตัง้กรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ต้องไม่ลืมว่า ประธานกรรมการ ต้องมีต าแหน่ง/มีวิทยฐานะไม่ต่า กว่าผู้ถูกกล่าวหา หรือเทยีบได้ไม่ต่า กว่าผู้ถูกกล่าวหา นอกจากนี้กรรมการสอบสวนจะต้องมีผู้ดา รงตา แหน่งนิตกริ หรือผู้ได้รับปริญญาทางกฎหมายหรือผู้ได้รับการฝึกอบรม ตามหลักสูตรการดา เนินการทางวินัยตามที่ก.ค.ศ. ก าหนดหรือรับรอง หรือผู้มีประสบการณด์ ้านการดา เนินการทางวินัยอย่างน้อยหนึ่งคน (สส. ข้อ 3วรรคสอง) ถ้าแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวนไม่ถูกต้องตาม ข้อ 3 การสอบสวนเสียไปทัง้หมด ต้องตัง้กรรมการใหม่ให้ถูกต้อง (สส. ข้อ 43) (ก.ค.ศ. เทียบ ต าแหน่งไว้ใน หนังสือ ส านักงาน ก.ค.ศ. ด่วนทสีุ่ด ที่ศธ 0206.9/ว 5 ลงวันที่ 20กุมภาพันธ์ 2555) 12
ข้อควรรู้เกี่ยวกับคัดค้านกรรมการสอบสวน • ผู้ถูกกล่าวหา - มีเหตุคัดค้าน ตามข้อ 8 - ยื่นหนังสือค้านต่อผู้สั่งแต่ตั้ง คณะกรรมการสอบสวน/ ส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ ภายใน 7 วันท าการ นับแต่วันรับทราบค าสั่งแต่งตั้ง กรรมการสอบสวน /นับแต่วันที่ทราบ สาเหตุแห่งการคัดค้าน • กรรมการสอบสวน - คณะกรรมการหยุดท าการสอบสวนไว้ก่อน - กรรมการที่ถูกคัดค้านพ้นจากการท าหน้าที่ กรรมการสอบสวนเมื่อผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการ สอบสวนเห็นว่าค าคัดค้านมีเหตุผล/ผู้สั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบสวนไม่พิจารณาสั่งการภาย 15 วันท าการ คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา • ประธานกรรมการสอบสวน - น ำส ำเนำหนังสือคัดค้ำนรวมไว้ ในส ำนวนกำรสอบสวน - กรณีที่มีกำรคัดค้ำนกรรมกำรสอบสวน เมื่อได้รับรวมส ำเนำค ำคัดค้ำน และวันที่ • ผู้ส่ังแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวน - ส่งส าเนาหนังสือคัดค้าน+ระบุวันได้รับ หนังสือให้ประธานกรรมการสอบสวน - พิจารณา+ส่ังเรื่องคัดค้านภายใน 15 วันท า การ แจ้งผลการพจิารณาใหผู้้ถูกกล่าวหา ทราบและส่งเรื่องใหป้ระธานกรรมการ - กรณีเหน ็ ว่าคา คัดค้านรับฟังได้ใหส้่ังผู้คัดค้าน พ้นจากการเป็ นกรรมการสอบสวน +ต้องตัง้กรรมการสอบสวนนใหม่แทน - กรณีเห็นว่าการคัดค้านไม่มีเห็นผล ใหส้่ังยกการคัดค้าน การส่ังเป็ นทสุดี่ - ถ้าไม่พจิารณาส่ังการภาย 15 วันท าการ จะมีผลทา ใหก้รรมการสอบสวนทถีู่กคัดค้าน พ้นจากการเป็ นกรรมการสอบสวน และต้องตัง้กรรมการสอบสวน กำรพ้นจำกหน้ำที่ ไม่ท ำให้กำรสอบสวนที่ ด ำเนินกำรไปแล้วเสียไป (สส. ข้อ 8) 13
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวนถูกต้องตามข้อ 3 หรือไม่ (สส. ข้อ 43) การประชุมของคณะกรรมการสอบสวน มีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่ครบหรือไม่ (สส. ข้อ 44 (1)) การสอบปากค าพยานบุคคล (สส. ข้อ 44 (2)) คณะกรรมการสอบสวนมีการเรียกผู้ถูกกล่าวหา มารับทราบข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา หรือส่งบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกกล่าวหา หรือไม่ มีหนังสือขอให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง หรือนัดมาให้ถ้อยค าหรือน าสืบ แก้ข้อกล่าวหาตามข้อ 24 หรือไม่ (สส. ข้อ 45 วรรคหนึ่ง) สอบสวนแตกต่างจากที่แจ้งข้อกล่าวหาหรือไม่ (สส. ข้อ 45 วรรคสอง) ตรวจสอบกรณีอื่น ๆ (สส. ข้อ 46) เมอ ื่ตรวจแล ้ วพบว่าดา เน ิ นการ ไม่ถ ู กต ้ อง การสอบสวนเส ี ยไป หรือไม่ และต้องด าเนินการ อย่างไร 14
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การด าเนินการ ผล การแก้ไข หมายเหตุ การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ไม่ถูกต้องตามข้อ 3 การสอบสวนเสียไปทั้งหมด ต้องแต่งตั้ง คณะกรรมการ สอบสวนใหม่ (สส. ข้อ 43) กรรมการสอบสวนมาประชุมไม่ครบ ตามที่ก าหนดไว้ในข้อ 17 วรรคหนึ่ง การสอบสวนเสียไปเฉพาะ กรณีที่กรรมการมาประชุมไม่ครบ สั่งให้ไปด าเนินการ กรณีที่ไม่ถูกต้องใหม่ (สส.ข้อ 44(1)) การสอบปากค าบุคคลด าเนินการไม่ถูกต้อง ตามที่ก าหนดไว้ในข้อ 11 ข้อ 27ข้อ 28วรรคสอง ข้อ 29ข้อ 30วรรคหนึ่ง หรือข้อ 32วรรคหนึ่ง การสอบสวนเสียไปเฉพาะ การสอบปากค าบุคคลนั้น สั่งให้ไปด าเนินการ กรณีที่ไม่ถูกต้องใหม่ (สส. ข้อ 44(2)) ไม่มีการเรียกผู้ถูกกล่าวหามารับทราบข้อกล่าวหา และสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา / ไม่ส่งบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ที่สนับสนุนข้อกล่าวหาทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ไปให้ผู้ถูกกล่าวหา /ไม่มีหนังสือขอให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง หรือนัดมาให้ถ้อยค าหรือน าสืบแก้ข้อกล่าวหาตามข้อ 24 สั่งให้คณะกรรมการ สอบสวนด าเนินการ ให้ถูกต้องโดยเร็ว และต้องให้โอกาส ผู้ถูกกล่าวหาที่จะชี้แจง ให้ถ้อยค าและน าสืบ แก้ข้อกล่าวหาตามที่ ก าหนดไว้ในข้อ 24ด้วย (สส. ข้อ 45 วรรคหนึ่ง) สอบสวนแตกต่างจากที่แจ้งข้อกล่าวหา ผู้ถูกกล่าวไม่หลงข้อต่อสู้ และไม่เสียความเป้นธรรม สามารถใช้พิจารณา และสั่งลงโทษได้ (สส. ข้อ 45 วรรคสอง) กรณีอื่น ๆ ถ้าท าให้เสียความเป็นธรรม สั่งให้ไปด าเนินการ แก้ไข หรือด าเนินการ ให้ถูกต้องโดยเร็ว (สส. ข้อ 46) ถ้าไม่ท าให้เสียความเป็นธรรม สั่งให้ไปด าเนินการ แก้ไข หรือด าเนินการ ให้ถูกต้องหรือไม่ก็ได้ เมื่อผู้ส่ังแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวนตรวจสา นวนการสอบสวนแล้ว เหน ็ ว่ามีการดา เนินการสอบสวนทไี่ม่ถูกต้อง จะต้องดา เนินการดังนี้ 15
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ความเห็นของคณะกรรมการสอบสวน ผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน หมายเหตุ การพิจารณาด าเนินการ ระยะเวลาด าเนินการ ถูกกล่าวหาไม่ได้กระท าผิด/ /ไม่มีเหตุที่จะให้ออกจากราชการ ตามมาตรา 112 /สมควรยุติเรื่อง/ กระท าผิดไม่ถึงขั้นวินัยอย่างร้ายแรง พิจารณาสั่งการ ตามที่เห็นสมควรโดยเร็ว ต้องไม่เกิน 60 วัน นับแต่วันได้รับ ส านวนการสอบสวน (สส. ข้อ 40 (1) ผู้ถูกกล่าวหากระท าผิดที่ยังไม่ถึงขั้น เป็นการกระท าผิดวินัยอย่างร้ายแรง ผู้ถูกกล่าวหาหย่อนความสามารถใน อันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ บกพร่องในหน้าที่ราชการ หรือประพฤติตนไม่เหมาะสม กับหน้าที่ราชการ ตามมาตรา 111 หากเห็นว่ามีเหตุ ตามที่คณะกรรมการสอบสวน มีความเห็นมา ให้ด าเนินการ ตามมาตรา 111 (สส.ข้อ 40 (2)) คณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง เห็นว่าถูกกล่าวหากระท าผิดวินัย อย่างร้ายแรงสมควรลงโทษปลดออก หรือไล่ออก ส่งเรื่องให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา /อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ ก.ค.ศ. พิจารณา ไม่เกิน 60 วัน นับแต่วันได้รับ ส านวนการสอบสวน เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา/ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี พิจารณามีมติแล้ว และให้ผู้มีอ านาจ สั่งการตามมติ ภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่มีมติดังกล่าว (สส. ข้อ 40(3)) คณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่าง ร้ายแรงเห็นว่ากรณีมีเหตุอันควร สงสัยอย่างยิ่งว่าผู้นั้นได้กระท าผิด วินัยอย่างร้ายแรง แต่การสอบสวน ไม่ได้ความแน่ชัดพอที่จะสั่งให้ลงโทษ วินัยอย่างร้ายแรง ถ้าให้รับราชการ ต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ เมื่อผู้ส่ังแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวนตรวจสา นวนการสอบสวนแล้ว ใหด้า เนินการดังนี้ 16
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน สอบสวนตามกฎ แสวงหาความจริง ดูแลใหเกิด ้ ความยุติธรรม รวบรวมประวัตแิละความประพฤตขิองผู้ถูกกล่าวหา จัดท าบันทึกประจ าวัน (สส. ข้อ 14) รวบรวมพยานหลักฐานที่เห็นว่าจ าเป็น เพื่อที่จะพิสูจน์ให้เห็นความผิด หรือความบริสุทธิ์ของผู้ถูกกล่าวหา แจ้งสิทธิและหน้าที่ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ (สส.ข้อ 15) (สส. ข้อ 16) • สิทธิคัดค้านกรรมการสอบสวน • สิทธิคัดค้านผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน • สิทธิที่ให้ผู้ถูกกล่าวหามีโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ และมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน • สิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จ าเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้งหรือชี้แจง หรือป้องกันสิทธิของตนได้ • สิทธิที่จะน าพยานหลักฐานมาเองหรือจะอ้างพยานหลักฐานแล้ว ขอให้คณะกรรมการสอบสวนเรียกพยานหลักฐานนั้นมาก็ได้ • สิทธิที่จะน าทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเข้ามาร่วมฟังการสอบสวนก็ได้ แต่จะให้ถ้อยค าหรือตอบค าถามแทนผู้ถูกกล่าวหา หรือเสนอความเห็นใด แก่คณะกรรมการสอบสวนไม่ได้ ประชุมวางแนวทางการสอบสวน (สส. ข้อ 18) (สส. ข้อ 19) ถ้าเห็นว่าตนมีเหตุที่อาจถูกคัดค้านตามข้อ 8ให้รายงานผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน 17
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 1. กรรมการต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (เว้นแต่ข้อ 24 และข้อ 38 ต้องไม่น้อยกว่าสามคนและไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง) การประชุมของคณะกรรมการสอบสวน 2. ต้องมีประธานกรรมการอยู่ร่วมประชุมด้วย แต่ในกรณีจ าเป็นที่ประธานกรรมการไม่สามารถเข้าประชุมได้ ให้กรรมการสอบสวนที่มาประชุมเลือกกรรมการสอบสวนคนหนึ่งท าหน้าที่แทน 3. การนัดประชุมต้องท าเป็นหนังสือและแจ้งให้กรรมการสอบสวนทุกคนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวันท าการ เว้นแต่กรรมการจะทราบการนัดในที่ประชุมแล้ว หรือมีเหตุจ าเป็นเร่งด่วน ซึ่งประธานกรรมการจะนัดประชุมเป็นอย่างอื่นได้ 4. การลงมติให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานกรรมการในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด 5. ต้องมีรายงานการประชุมเป็นหนังสือ ถ้ามีความเห็นแย้ง ให้บันทึกความเห็นแย้งพร้อมทั้งเหตุผลไว้ในรายงานการประชุม (สส. ข้อ 17) 18
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การด าเนินการ ระยะเวลา หมายเหตุ ประชุมคณะกรรมการสอบสวนเพื่อ พิจารณาวางแนวทางการสอบสวน (สส. ข้อ 20 (1)) แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาตามข้อ 23 ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ 15 วัน นับแต่วันที่ประธานกรรมการ ได้รับทราบค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องที่กล่าวหา ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้ด าเนินการ ตามข้อ 20 (1) แล้วเสร็จ (สส. ข้อ 20 (2)) แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ตามข้อ 24 ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ด าเนินการ ตาม ข้อ (2) แล้วเสร็จ (สส. ข้อ 20 (3)) รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้ด าเนินการ ตามข้อ 20 (3) แล้วเสร็จ (สส. ข้อ 20 (4)) ประชุมพิจารณาลงมติ และท ารายงานการสอบสวนเสนอ ต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้ด าเนินการ ตาม ข้อ 20 (4) แล้วเสร็จ (สส. ข้อ 20 (5)) กรณีไม่สามารถด าเนินการตามระยะเวลาดังกล่าวได้ ให้ประธานกรรมการรายงานเหตุ ที่ท าให้ไม่แล้วเสร็จเพื่อขอขยายระยะเวลาการสอบสวน ต่อผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน ผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนสั่งขยายได้ตามความจ าเป็น ครั้งละไม่เกิน 60 วัน (สส. ข้อ 20 วรรคสอง) คณะกรรมการสอบสวนด าเนินการสอบสวนไม่แล้วเสร็จภายใน 240 วัน ให้ประธานกรรมการรายงานเหตุให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อรายงานให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี เพื่อมีมติให้เร่งรัดการสอบสวนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ก าหนด ตามเหตุผลและความจ าเป็น (สส. ข้อ 20 วรรคสาม) การสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง 19
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การด าเนินการ ระยะเวลา หมายเหตุ ประชุมคณะกรรมการสอบสวนเพื่อ พิจารณาวางแนวทางการสอบสวน รวมระยะเวลา ทุกขั้นตอน 90 วัน ขั้นตอนด าเนินการ น าข้อ 20 มาใช้โดยอนุโลม แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา ตามข้อ 23 ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องที่กล่าวหา แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ตามข้อ 24 ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง ประชุมพิจารณาลงมติ และท ารายงานการสอบสวนเสนอ ต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน กรณีไม่สามารถด าเนินการตามระยะเวลา 90 วัน ให้ประธานกรรมการรายงานเหตุ ที่ท าให้ไม่แล้วเสร็จเพื่อขอขยายระยะเวลาการสอบสวน ต่อผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน ผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนสั่งขยายได้ตามความจ าเป็นแต่ไม่เกิน 30 วัน และเร่งรัดการสอบสวนให้แล้วเสร็จต่อไป (สส. ข้อ 21 วรรคสอง) การสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรง คณะกรรมการสอบสวนต้องด าเนินการสอบสวนให้ แล้วเสร็จภายใน 90 วัน (ข้อ 21 วรรคหนึ่ง) (สส. ข้อ 21วรรคหนึ่ง) 20
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การด าเนินการแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรมมการสอบสวน (สว. 2) พิจารณาเรื่องที่กล่าวหาและวางแนวทางการสอบสวน (สส. ข้อ 23วรรคหนึ่ง) เรียกผู้ถูกกล่าวหามาเพื่อแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา + แจ้งสิทธิต่าง ๆ ของผู้ถูกกล่าวหา (สส. ข้อ 23วรรคหนึ่ง) การแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แจ้ง สว. 2) เฉพาะพฤติการณ์เท่าที่ปรากฏ ตามเรื่องที่กล่าวหาและตามพยานหลักฐาน ไม่ต้องแจ้งกรณีและมาตราความผิด (ท า สว. 2 เพื่อมอบให้ผู้ถูกกล่าวหาหนึ่งฉบับ และเก็บไว้ในส านวนการ สอบสวนหนึ่งฉบับ) (สส. ข้อ 23วรรคสอง) ถามผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระท าการตามที่ถูกกล่าวหาหรือไม่ อย่างไร (สส. ข้อ 23วรรคสาม) กรณีผู้ถูกกล่าวหารับสารภาพ ตามข้อกล่าวหา ให้แจ้งว่าเป็นความผิดวินัยกรณีใด (สส. ข้อ 23วรรคสี่) ถ้าผู้ถูกกล่าวหายืนยันรับสารภาพ - บันทึกถ้อยค ารับสารภาพ+เหตุผลในการรับสารภาพ+สาเหตุแห่ง การกระท าไว้ - จะไม่สอบสวน หรือจะสอบสวนต่อก็ได้ - ด าเนินการตามข้อ 38 และข้อ 39 กรณีผู้ถูกกล่าวหามิได้ให้ถ้อยค ารับสารภาพ หรือรับสารภาพบางส่วน ด าเนินการสอบสวนเพื่อรวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ ข้อกล่าวหา+ด าเนินการตามข้อ ๒๔ (สส. ข้อ 23วรรคห้า) ผู้ถูกกล่าวหามา แต่ไม่ยอมลงลายมือ ชื่อรับทราบข้อกล่าวหา หรือไม่มา รับทราบข้อกล่าวหา ส่ง สว. 2 2 ฉบับ + หนังสือสอบถามว่ากระท าผิดหรือไม่ ทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ ณ ที่อยู่ของผู้ถูกกล่าวหา (สส. ข้อ 23 วรรคหก) * ถ้าผู้ถูกล่าวหาไม่ส่ง สว. 2 ที่ลงลายมือชื่อ และวัน เดือน ปีที่ รับทราบส่งกลับคืน เมื่อล่วงพ้น 15 วันนับแต่วันที่ได้ด าเนินการดังกล่าว ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้ทราบข้อกล่าวหาแล้ว และให้คณะกรรมการ สอบสวนด าเนินการตามวรรคห้าต่อไป 21
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา สว. 3 - เรียกผู้ถูกกล่าวหามาเพื่อแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (สว. 3) - ท า สว. 3 จ านวน 2 ฉบับ เก็บในส านวน 1 ฉบับ มอบให้ผู้ถูกกล่าวหา 1 ฉบับ +ให้ผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อ และวัน เดือน ปีที่รับทราบไว้เป็นหลักฐาน (สส. ข้อ 24วรรคสอง และวรรคสาม) ถามผู้ถูกกล่าวหาว่า จะยื่นค าชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา เป็นหนังสือหรือไม่ กรณีผู้ถูกกล่าวหาผู้ถูกกล่าวหาประสงค์จะยื่นค าชี้แจง ต้องให้โอกาสยื่นค าชี้แจง อย่างช้าไม่เกินสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับทราบข้อกล่าวหาและสรุป พยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา (สส. ข้อ 24วรรคสี่) กรณีกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์จะยื่นค าชี้แจงเป็นหนังสือ ต้องด าเนินการ เพื่อให้ผู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยค า และน าสืบแก้ข้อกล่าวหาโดยเร็ว -ผู้ถูกกล่าวหามา แต่ไม่ยอมลงลายมือชื่อ รับทราบข้อกล่าวหา และสรุปพยานหลักฐาน ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา หรือ -ไม่มารับทราบข้อกล่าวหา และสรุปพยานหลักฐานที่ สนับสนุนข้อกล่าวหา ส่ง สว. 3 2 ฉบับ + หนังสือหนังสือขอให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง นัดมาให้ถ้อยค า และน าสืบแก้ข้อกล่าวหา ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ ณ ที่อยู่ของผู้ถูกกล่าวหา (สส. ข้อ 24วรรคสี่) ถ้าพ้น 15 วัน นับแต่ได้ด าเนินการดังกล่าว ผู้ถูกล่าวหาไม่ส่ง สว. 3 ที่ลงลายมือชื่อ และวัน เดือน ปีที่รับทราบส่งกลับคืน หรือไม่ได้รับค าชี้แจง จากผู้ถูกกล่าวหา หรือผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยค าตามนัดให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหา ได้ทราบข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาแล้ว กรณีนี้ จะสอบสวนต่อไปหรือไม่ก็ได้ จะสอบสวนต่อไปหรือไม่ก็ได้ + ด าเนินการตามข้อ 38 และข้อ 39 ต่อไป (ประชุมเพื่อท ารายงานการสอบสวน+ ท ารายงานการสอบสวน (สว.6) + เสนอส านวนการสอบสวนต่อผู้สั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน) ผู้ถูกกล่าวหามาขอให้ถ้อยค า ยื่นค าชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา หรือขอน าสืบ แก้ข้อกล่าวหาก่อนที่คณะกรรมการสอบสวน จะเสนอส านวนการสอบสวนตามข้อ 39 (เสนอส านวนการสอบวน ต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน) โดยมีเหตุผลอันสมควร ให้คณะกรรมการสอบสวนให้โอกาส แก่ผู้ถูกกล่าวหาตามที่ผู้ถูกกล่าวหาร้องขอ ไม่ต้องแจ้ง สว. 3 หากคณะกรรมการสอบสวน ตามข้อ 23 (ด าเนินการเกี่ยวกับการแจ้ง สว. 2) + ประชุมแล้วเห็นว่า พยานหลักฐานยังฟังไม่ได้ว่าผู้ถูกกล่าวหากระท าการตามที่ถูกกล่าวหา กรณีนี้ ให้มีความเห็นยุติเรื่อง + ด าเนินการตามข้อ 38 และข้อ 39 โดยอนุโลม (ประชุมเพื่อท ารายงานการสอบสวน+ท ารายงานการสอบสวน (สว. 6) +เสนอส านวนการสอบสวนต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน) (สส. ข้อ 24 วรรคหนึ่ง) 22
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 1.สิทธินา ทนายความหรือทปี่รึกษาของตนเข้าร่วมฟังการสอบสวนได้ 2. จะนา เหตุแหง่การถูกสอบสวนมาเป็ นข้ออ้างในการดา เนินการใด ใหก้ระทบต่อสิทธิของผู้ถูกสอบสวนไม่ได้ * ยกเว้นการถูกส่ังพักราชการ หรือใหอ้อกจากราชการไว้ก่อน 3. สิทธิคัดค้านผู้ส่ังแต่งตัง้คณะกรรมการสอบสวน หรือกรรมการสอบสวน 4. สิทธิขอทราบข้อเท็จจริง /การโต้แย้งและแสดงพยานหลักฐาน/ ขอตรวจดูเอกสารทจี่า เป็ นต้องรู้เพอื่การโตแ้ย้งชีแ้จงหรือป้องกันสิทธิของตน / มีสิทธิการน า/อ้างพยานหลักฐาน + ขอให้คณะกรรมการสอบสวนเรียก พยานหลักฐาน 5. สิทธิทจี่ะได้รับคา แนะนา จากคณะกรรมการสอบสวนเมื่อคา ขอ/คา ชีแ้จง มีข้อบกพร่อง อ่านไม่เข้าใจ หรือผิดหลง 6. มีสิทธิขอตรวจดูต้นฉบับ หรือพยานหลักฐาน + ถ้าต้องการส าเนา มีสิทธิได้รับสา เนาตามทคี่ณะกรรมการฯ เหน ็ สมควร 7. มีสิทธิได้รับการแจ้งข้อกล่าวหาและพยานหลักฐานทสี่นับสนุนข้อกล่าวหา 8. มีสิทธิทจี่ะยนื่คา ชีแ้จงแกข้้อกล่าวหาเป็ นหนังสือภายในเวลา15วัน และให้ ถ้อยคา เพมิ่เตมิรวมทงั้นา สืบแก้ข้อกล่าวหาต่อคณะกรรมการสอบสวน 9. มีสิทธิทจี่ะได้รับการคุ้มครองไม่ใหถู้กขู่เข ็ ญ หลอกลวง ใหค้า ม่ันสัญญา จูงใจ หรือกระท าการโดยมิชอบด้วยประการใด ๆ หรือกระท าให้ท้อใจ หรือใช้กลอุบาย สิทธิของ ผู้ถูกกล่าวหา 10. มีสิทธิทจี่ะกล่าวอ้างมิใหร้ับฟังพยานหลักฐานทไี่ด้มา โดยมิชอบด้วยกฎหมาย 23
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การรายงาน การด าเนินการทางวินัย 24
มีความเห็นแย้ง คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การรายงานการด าเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรง กรณีสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ผอ.สถานศึกษาแต่งตั้งกรรมการ สอบสวนวินัยไม่ร้ายแรง + สั่งงดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือเห็นควรลดเงินเดือน ผอ.เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา/ แต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยไม่ ร้ายแรง + สั่งงดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา สพฐ. เห็น ด้วย เป็น ที่สุด ก.ค.ศ. เลขาธิการ กพฐ. แต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัย ไม่ร้ายแรง + สั่งงดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือน ผู้มีอ ำนำจ ตำมมำตรำ 53/ สั่ง/ปฏิบัติ ตำมมติ ผู้มีอ ำนำจ ตำมมำตรำ 53/ สั่ง/ปฏิบัติ ตำมมติ (ระเบียบ ข้อ 5) (ระเบียบข้อ 7 วรรคสอง) 25
มีความเห็นแย้ง คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การรายงานการด าเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรง กรณีไม่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บังคับบัญชาได้ด าเนินการทาง วินัยแต่งตั้งกรรมการสอบสวน วินัยไม่ร้ายแรง + สั่งงดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือเห็นควรลดเงินเดือน หัวหน้าส่วนราชการ/ แต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยไม่ ร้ายแรง + สั่งงดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือน อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หัวหน้าส่วนราชการ เห็น ด้วย เป็น ที่สุด ก.ค.ศ. ผู้มีอ ำนำจตำม มำตรำ 53/ สั่ง/ ปฏิบัติตำมมติ ผู้มีอ ำนำจตำม มำตรำ 53/ สั่ง/ ปฏิบัติตำมมติ (ระเบียบ ข้อ 6) (ระเบียบข้อ 7 วรรคสอง) 26 กรณีมีการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรง (ไม่ต้องพิจารณารายงานการด าเนินการทางวินัย และให้ถือว่าการพิจารณาอุทธรณ์เป็น การพิจารณารายงานการด าเนินการทางวินัย)
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การรายงานการด าเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง กรณีสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ผู้มีอ านาจตามมาตรา 53 แต่งตั้งกรรมการสอบสวน วินัยอย่างร้ายแรง หรือด าเนินการทางวินัย อย่างร้ายแรง กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง เลขาธิการ กพฐ. แต่งตั้งกรรมการสอบสวน วินัยอย่างร้ายแรง หรือด าเนินการทางวินัย อย่างร้ายแรง กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง คณะกรรมการสอบสวน หรือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนเห็นว่า เป็นความผิดวินัยอย่าง ร้ายแรง คณะกรรมการสอบสวน หรือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนเห็นว่าผิดวินัยไม่ ร้ายแรง ผู้มีอ านาจตามมาตรา ๕๓ ได้ สั่งยุติเรื่องหรืองดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือลดเงินเดือน ก.ค.ศ. ผู้มีอ ำนำจตำมมำตรำ 53/ สั่ง/ปฏิบัติตำมมติ ผู้มีอ ำนำจตำมมำตรำ 53/ สั่ง/ปฏิบัติตำมมติ (ระเบียบ ข้อ 8) 27 กรณีมีการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรง (ไม่ต้องพิจารณารายงานการด าเนินการทางวินัย และให้ถือว่าการพิจารณาอุทธรณ์เป็น การพิจารณารายงานการด าเนินการทางวินัย)
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การรายงานการด าเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง กรณีสังกัดไม่เขตพื้นที่การศึกษา ผู้มีอ านาจตามมาตรา 53 แต่งตั้งกรรมการสอบสวน วินัยอย่างร้ายแรง หรือด าเนินการทางวินัย อย่างร้ายแรง กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง คณะกรรมการสอบสวน หรือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนเห็นว่า เป็นความผิดวินัยอย่าง ร้ายแรง คณะกรรมการสอบสวน หรือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนเห็นว่าผิดวินัยไม่ ร้ายแรง ผู้มีอ านาจตามมาตรา ๕๓ ได้ สั่งยุติเรื่องหรืองดโทษ หรือลงภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือน อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ก.ค.ศ. กรณีมีการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรง (ไม่ต้องพิจารณารายงานการด าเนินการทางวินัย และให้ถือว่าการพิจารณาอุทธรณ์เป็นการ พิจารณารายงาน) ผู้มีอ ำนำจตำม มำตรำ 53/ สั่ง/ ปฏิบัติตำมมติ ผู้มีอ ำนำจตำม มำตรำ 53/ สั่ง/ปฏิบัติตำม มติ (ระเบียบ ข้อ 9) 28
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การให้ออกจากราชการ กรณีสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ผอ.สถานศึกษาสั่งให้ออกจากราชการ (ตามมาตรา 49, มาตรา56วรรคสอง วรรคสาม และวรรคห้า, มาตรา110(1) (3) และ (6), มาตรา 113 หรือ มาตรา 118) ผอ.เขตพื้นที่การศึกษาได้รับ รายงาน/ ผอ.เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา ด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา (เพื่อทราบ) ก.ค.ศ. (เพื่อทราบ) เลขาธิการ กพฐ. สั่งให้ออกจากราชการ (ตามมาตรา 49, มาตรา56 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคห้า, มาตรา110 (1) (3) และ (6), มาตรา 113 หรือ มาตรา 118 การให้ออกจากราชการ กรณีไม่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง (เพื่อทราบ) ผู้มีอ านาจตามมาตรา 53 สั่งให้ออกจากราชการ (ตามมาตรา 49, มาตรา56 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคห้า, มาตรา110 (1) (3) และ (6), มาตรา 113 หรือ มาตรา 118 (ระเบียบ ข้อ 11) (ระเบียบ ข้อ 10) 29
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การให้ออกจากราชการ มาตรา 110 (4)/มาตรา 111 (โดยผู้มีอ านาจตามมาตรา 53) ผู้อ านาจตามาตรา 53 ด าเนินการ สอบสวน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา /อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ก.ค.ศ. รำยงำนภำยใน 15วันท ำกำร ถ้ำรำยงำนเกิน 15วัน ให้ รำยงำนเหตุที่ไม่ทัน (ระเบียบ ข้อ 12) 30
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรณีนายรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ด าเนินการทางวินัย หรือด าเนินการ ตาม มาตรา 110 (4)/มาตรา 111 นายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ก.ค.ศ. (ระเบียบ ข้อ 13) 31
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การอุทธรณ์ 32
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การอุทธรณ์ “การทผ ีู่ ้ ถ ู กลงโทษทางว ิ น ั ยร ้ องขอใหผ ้ ู ้มีอ านาจ หน ้ าทต ี่ามทก ี่ฎหมายกา หนด ไดย ้ กเร ื่องข ึ น ้ พจ ิ ารณาใหม ่ใหเ ้ป็ นไปในทางทเ ี่ป็ นค ุ ณแก ่ ผ ู ้ ร ้ อง” การอุทธรณ์เป็ นกระบวนการในการบริหารงานบุคคล ในระบบค ุ ณธรรมทส ี่า ค ั ญประการหน ึ่ง ถอ ื เป็ นหล ั กประก ั นความเป็ นธรรมและความม่ั นคง ในอาชพ ี แก่ข ้ าราชการ ทา ให ้ ผ ู ้ บ ั งค ั บบ ั ญชา เพม ิ่ความระม ั ดระว ั งในการพจ ิ ารณาดา เน ิ นการส่ั งลงโทษ หร ื อส่ั งให ้ ออกจากราชการ 33
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อควรรู้เกี่ยวกับการใช้สิทธิอุทธรณ์ อุทธรณ์ได้ส าหรับตนเองเท่านั้น (อธ. ข้อ 4วรรคหนึ่ง) การอุทธรณ์ต้องท าเป็นหนังสือ (อธ. ข้อ 4วรรคสอง) ต้องยื่นอุทธรณ์ภายใน 30วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งค าสั่ง (อธ. ข้อ 3 วรรคหนึ่ง) วันที่ผู้ถูกลงโทษลงลายมือชื่อรับทราบค าสั่งลงโทษทางวินัยเป็นวันที่ได้รับแจ้งค าสั่ง (อธ. ข้อ 3 วรรคสอง) กรณีที่ผู้ถูกลงโทษ ไม่ยอมลงลายมือชื่อ รับทราบค าสั่ง แจ้งค าสั่งลงโทษทางวินัยให้ผู้ถูกลงโทษทราบ + มอบส าเนาค าสั่งลงโทษทางวินัยให้ผู้ถูกลงโทษ (อธ. ข้อ 3วรรคสาม) ท าบันทึก ลงวัน เดือน ปี เวลา และสถานที่ที่แจ้ง ลงลายมือชื่อผู้แจ้ง พร้อมทั้งพยานรู้เห็นไว้เป็นหลักฐาน ถือวันที่แจ้งเป็นวันที่ผู้ถูกลงโทษได้รับแจ้งค าสั่ง ไม่อาจแจ้งให้ผู้ถูก ลงโทษลงลายมือชื่อ รับทราบค าสั่งลงโทษ ทางวินัยได้ แจ้งเป็นหนังสือ (อธ. ข้อ 3วรรคสี่) ส่งส าเนาค าสั่งลงโทษ 2 ฉบับ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ไปให้ผู้ถูกลงโทษ ณ ที่อยู่ของผู้ถูกลงโทษ ซึ่งปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ ล่วงพ้นระยะเวลา 15 วัน นับแต่วันที่ปรากฏ ในใบตอบรับทางไปรษณีย์ลงทะเบียนว่าผู้ถูก ลงโทษได้รับเอกสารหรือมีผู้รับแทนแล้ว ให้ถือว่าผู้ถูกลงโทษได้รับแจ้งค าสั่งแล้ว 34
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หนังสืออุทธรณ์ ใช้ถ้อยค าสุภาพ และมีสาระส าคัญ ดังนี้ ชื่อต าแหน่ง สังกัด ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ส าหรับการติดต่อประสานงาน วันที่ลงลายมือชื่อรับทราบค าสั่งลงโทษ ข้อกฎหมาย ข้อเท็จจริง เหตุผลที่ยกขึ้นเป็นคัดค้าน ว่าค าสั่งลงโทษไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม หรือไม่เป็นธรรม ค าขอแถลงการณ์ด้วยวาจา (ถ้ามี) ค าขอ ความประสงค์ของการอุทธรณ์ ลงลายมือชื่อผู้อุทธรณ์ แนบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ 35
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สิทธิของผู้อุทธรณ์ ขอตรวจหรือคัด รายงานการสอบสวน ของคณะกรรมการสอบสวน หรือของผู้สอบสวน คัดค้านอนุกรรมการ หรือกรรมการ ผู้พิจารณาอุทธรณ์ แถลงการณ์ด้วยวาจา ในชั้นพิจารณา (ถ้าต้องการ) ขอถอนอุทธรณ์ (อธ. ข้อ 11) (อธ. ข้อ 6) (อธ. ข้อ 6) (อธ. ข้อ 5) 36
ช ่ องการยน ื ่ อ ุ ทธรณ์ อุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 1. ยื่นด้วยตนเอง ที่ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. ยื่นผ่านผู้บังคับบัญชา 3. จัดส่งทางไปรษณีย์ อุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. ที่ก.ค.ศ. ตั้ง 1. ยื่นด้วยตนเอง ที่สปศธ/สอศ. /สพฐ. 2. ยื่นผ่านผู้บังคับบัญชา 3.จัดส่งทางไปรษณีย์ อุทธรณ์ต่อ ก.ค.ศ. 1. ยื่นด้วยตนเอง ที่ส านักงาน ก.ค.ศ. 2. ยื่นผ่าน ผู้บังคับบัญชา 3. จัดส่งทางไปรษณีย์ (อธ. ข้อ 9) 37
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อควรรู้ การส่งหนังสืออุทธรณ์ทางบริษัทขนส่ง เอกชน ไม่ใช่เป็นการส่งทางไปรษณีย์ ถือว่าบริษัทขนส่งเอกชนเป็นตัวแทนน ยื่นหนังสืออุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ขอแถลงการณ์ ด้วยวาจา หาก อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา หรือ ก.ค.ศ. พิจารณา เห็นว่าการแถลงการณ์ด้วยวาจาไม่ จ าเป็นแก่การพิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์ จะให้งดการแถลงการณ์ ด้วยวาจาก็ได้ (อธ. ข้อ 13 วรรคสอง) การขอถอนอุทธรณ์ต้องขอ ก่อนที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ ก.ค.ศ. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์เสร็จสิ้น (อธ. ข้อ 11 วรรคหนึ่ง) และ เมื่อได้ถอนอุทธรณ์แล้ว การพิจารณาอุทธรณ์ ให้เป็นอันระงับ (อธ. ข้อ 11 วรรคสอง) การคัดค้านอนุกรรมการ หรือกรรมการผู้ พิจารณาอุทธรณ์ ต้องแสดงข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุแห่งการ คัดค้านไว้ในหนังสืออุทธรณ์ หรือแจ้ง เพิ่มเติมเป็นหนังสือก่อนที่ อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่การศึกษา หรือ ก.ค.ศ. เริ่มพิจารณา อุทธรณ์ (อธ. ข้อ 6 วรรคสอง) กรณีผู้อุทธรณีย้าย/โอน 1. ถ้าผู้อุทธรณ์ย้าย/โอนไปสังกัด สพท. หรือส่วนราชการอื่น ก่อนยื่นอุทธรณืให้ยื่นต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตที่ย้าย/โอนไปสังกัด (อธ. ข้อ 12 วรรคหนึ่ง) 2. กรณียื่นอุทธรณ์ ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขต ต่อมาย้าย/โอนไปสังกัด สพท./ส่วนราชการอื่น ถ้า อ.ก.ค.ศ. เขตสังกัดเดิม ยังมิได้พิจารณาอุทธรณ์ ให้ส่งเรื่องอุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขต ที่ย้าย/โอนไปสังกัด (อธ. ข้อ 12 วรรคสอง) 3. กรณี อ.ก.ค.ศ. เขต มีมติ แต่ผู้บังคับบัญชายังมิได้สั่งหรือปฏิบัติตามมติ แต่ผู้อุทธรณ์ ย้ายย้าย/โอนไปสังกัด สพท./ส่วนราชการอื่น ให้ส่งเรื่องอุทธรณ์และเอกสารหลักฐานที่ เกี่ยวข้องพร้อมทั้งรายงานการประชุมและมติ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาไปให้ ผู้บังคับบัญชาใหม่เป็นผู้สั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามมติ (อธ. ข้อ 12 วรรคสาม) ผู้อุทธรณ์จะมอบหมาย ให้ผู้อื่นอุทธรณ์แทนตนไม่ได้ และบุคคลอื่นจะ อุทธรณ์แทนผู้ถูกลงโทษไม่ได้ (อธ. ข้อ 4 วรรคหนึ่ง) 38
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ค าสั่ง ปลดออก หรือค าสั่งไล่ออก (ข้อ 7 (1)) ค าสั่งภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ของนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน หรือค าสั่งของ ผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งตามมติ ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ี การศึกษา (ข้อ 7 (2)) ค าสั่งภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ของผู้อ านวยการ ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา หรือ ผู้อ านวยการ สถานศึกษา (อธ. 7 (3)) ศาลปกครอง ผู้มีอ านาจตามาตรา 53 สั่ง/ปฏิบัติ ตามติแล้ว จะอุทธรณ์ต่อไม่ได้ (ข้อ 16) เส้นทางการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษทางวินัย ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ข้อยกเว้นถ้ามีมติเพิ่มโทษ เป็นปลดออก/ไล่ออก /ให้ ออกจากราชการ+ผู้มี อ านาจตามมาตรา 53 สั่ง เพิ่มโทษเป็นปลดออกหรือ ไล่ออก ตามข้อ 14 (8) หรือให้ออกจากราชการ ตา ข้อ 14 (9) สามารถใช้ สิทธิอุทธรณ์ หรือร้องทุกข์ ต่อ ก.ค.ศ. ได้อีก (ข้อ 16) 39 ก.ค.ศ. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ค าสั่ง ปลดออก หรือค าสั่งไล่ออก (ข้อ 8 (1)) ศาลปกครอง ผู้มีอ านาจตามาตรา 53 สั่ง/ปฏิบัติ ตามติแล้ว จะอุทธรณ์ต่อไม่ได้ (ข้อ 16) เส้นทางการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษทางวินัย ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ไม่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ข้อยกเว้นถ้ามีมติเพิ่มโทษ เป็นปลดออก/ไล่ออก /ให้ ออกจากราชการ+ผู้มี อ านาจตามมาตรา 53 สั่ง เพิ่มโทษเป็นปลดออกหรือ ไล่ออก ตามข้อ 14 (8) หรือให้ออกจากราชการ ตา ข้อ 14 (9) สามารถใช้ สิทธิอุทธรณ์ หรือร้องทุกข์ ต่อ ก.ค.ศ. ได้อีก (ข้อ 16) 40 ก.ค.ศ.อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ค าสั่งภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ของนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ปลัดกระทรวง หรือค าสั่ง ของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่ง ตามมติของ อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ตั้ง (อธ. ข้อ 8 (2)) ค าสั่งภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือนของปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ เลขาธิการ อธิบดี หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่าอธิการบดี หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่าผู้อ านวยการ สถานศึกษา หรือต าแหน่งที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า (อธ. ข้อ 8 (3))
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การร้องทุกข์ 41
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ร ้ องท ุ กขค ์ า ส่ั งใหอ ้ อกจากราชการ ตอ ้ งร ้องทุกข์ ภายใน 30 ว ั นน ั บแตว ่ ั นไดร ้ั บแจ ้ งคา ส่ั ง และต้องร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ. ส าหรับการพิจารณา ใช้ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการ อุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ (รท. ข้อ 2) แต่ถ้าร้องทุกข์กรณีไม่ได้รับความเป็ นธรรม หร ื อม ี ความค ั บข ้ องใจเน ื่องจากการกระทา ของ ผ ู ้ บ ั งค ั บบ ั ญชาหร ื อการแตง ่ ตง ั ้ คณะกรรมการ สอบสวนทางวินัย ต้องร้องทุกข์ภายใน 30 วัน น ั บแตว ่ ั นทราบเร ื่องอ ั นเป็ นเหต ุ แหง ่ การร ้ องทุกข์ และร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ. หรือ อ.ก.ค.ศ. เขต หรือ อ.ก.ค.ศ. ท ี่ก.ค.ศ. ตง ั ้ แล ้ วแตก ่ รณ ี การพิจารณาใช้กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการร้องทุกข์ และการพิจารณาร้องทุกข์ (รท. ข้อ 5) 42
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เหตุร้องทุกข์ - ไม่ได้รับควำมเป็นธรรม หรือมีควำมคับข้องใจ เนื่องจำกกำรกระท ำของ ผู้บังคับบัญชำ - ถูกแต่งตั้งคณะกรรมกำร สอบสวนทำงวินัย ก่อนร้องทุกข์จะ ปรึกษำหำรือ รับฟังหรือ สอบถำมกับผู้บังคับบัญชำ ก่อนก็ได้ ให้ผู้บังคับบัญชำนั้นให้ โอกำสและรับฟังหรือ สอบถำมเกี่ยวกับปัญหำ ดังกล่ำวเพื่อท ำควำมเข้ำใจ และแก้ปัญหำที่เกิดขึ้นใน ชั้นต้น ร้องทุกข์ ➢ ไม่ได้รับค ำชี้แจง ➢ ได้รับค ำชี้แจงไม่เป็นที่พอใจ ➢ ผู้บังคับบัญชำมิได้ ด ำเนินกำรใด ๆ ➢ ผู้บังคับบัญชำด ำเนินกำร แล้วแต่ไม่เป็นที่พอใจ ไม่ต้องกำรปรึกษำ หรือหำรือ ผู้บังคับบัญชำ (รท. ข้อ 4) 43
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อควรรู้เกี่ยวกับการใช้สิทธิการร้องทุกข์ ร้องทุกข์ได้ส าหรับตนเองเท่านั้น (รท. ข้อ 4 วรรคหนึ่ง) การร้องทุกข์ต้องท าเป็นหนังสือ (รท. ข้อ 5 วรรค สอง) ต้องยื่นร้องทุกข์ภายใน 30วัน นับแต่วันทราบเรื่องอันเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ (รท. ข้อ 5 วรรคหนึ่ง) หนังสือร้องทุกข์ ต้องลงลายมือชื่อ ที่อยู่ +ต าแหน่งของผู้ร้องทุกข์ (รท. ข้อ 5 วรรคสอง) ต้องประกอบด้วยสาระส าคัญที่แสดงข้อเท็จจริง+ เหตุผลให้เห็นว่า ตนไม่ได้รับความเป็นธรรม/มีความคับข้องใจเนื่องจาก การกระท าของผู้บังคับบัญชา หรือการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย ความประสงค์ของการร้องทุกข์ ค าขอแถลงการณ์ (ถ้ามี) แสดงความประสงค์ไว้ในหนังสือร้องทุกข์ (รท. ข้อ 5 วรรคสาม) หรือท าเป็นหนังสือต่างหาก โดยยื่นหรือส่งตรง ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ ก.ค.ศ. ก่อนเริ่มพิจารณาเรื่องร้องทุกข์) สิทธิคัดค้านอนุกรรมการ หรือกรรมการผู้พิจารณาเรื่องร้องทุกข์ ( รท.ข้อ 9) ขอถอนเรื่องร้องทุกข์ (รท. ข้อ10) 44
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ศาลปกครอง เส้นทางการร้องทุกข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา 45 ก.ค.ศ. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา ค าสั่งให้ออกจาก ราชการ* (รท. ข้อ 2) * น าหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด ในกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการอุทธรณ์และ การพิจารณาอุทธรณ์มาใช้บังคับโดย อนุโลม เหตุร้องทุกข์เกิดจาก นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี เลขาธิการ -ค าสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งการตามมติของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา ค าสั่งพักราชการ (รท.ข้อ 7 (1)) เหตุร้องทุกข์เกิดจาก ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ ผู้อ านวยการส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ลงมา (รท.ข้อ 7 (2)) มติเป็นที่สุด (รท. ข้อ 15) ผู้มีอ านาจตามาตรา 53 สั่ง/ปฏิบัติ ตามมติแล้ว (รท. ข้อ 16)
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ศาลปกครอง เส้นทางการร้องทุกข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มิได้สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา 46 ก.ค.ศ. อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ค าสั่งให้ออกจาก ราชการ* (รท. ข้อ 2) * น าหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด ในกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการอุทธรณ์และ การพิจารณาอุทธรณ์มาใช้บังคับโดย อนุโลม เหตุร้องทุกข์เกิดจากปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ เลขาธิการ อธิบดี หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่า อธิการบดี หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่าผู้อ านวยการส านัก ผู้อ านวยการกอง ผู้อ านวยการสถานศึกษา หรือต าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่า (รท.ข้อ 8 (2)) มติเป็นที่สุด (รท. ข้อ 15) ผู้มีอ านาจตามาตรา 53 สั่ง/ปฏิบัติ ตามมติแล้ว (รท. ข้อ 16) เหตุร้องทุกข์เกิดจาก นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง -ค าสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งการตามมติของ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง ค าสั่งพักราชการ (ข้อ 8 (1))
ช่องการยื่นหนังสือร้องทุกข์ ร้องทุกข์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 1. ยื่น/ส่ง ที่ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. ยื่นผ่านผู้บังคับบัญชา /ผู้บังคับบัญชาเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ 3. จัดส่งทางไปรษณีย์ ร้องทุกข์ต่อ อ.ก.ค.ศ. ที่ก.ค.ศ. ตั้ง 1. ยื่นด้วยตนเอง ที่สปศธ/สอศ. /สพฐ. 3.จัดส่งทางไปรษณีย์ ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ. 1. ยื่นด้วยตนเอง ที่ส านักงาน ก.ค.ศ. 2. ยื่นผ่านผู้บังคับบัญชา /ผู้บังคับบัญชาเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ 3. จัดส่งทางไปรษณีย์ 2. ยื่นผ่านผู้บังคับบัญชา /ผู้บังคับบัญชาเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ 47 (รท. ข้อ 6)
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ถามตอบ 48
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การนับระยะเวลาตามกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการ อุทธรณ์และการร้องทุกข์ พ.ศ. 2550 และ ระยะเวลาตาม กฎก.ค.ศ. ว่าด้วยการร้องทุกข์ และการพิจารณาร้องทุกข์ พ.ศ. 2551 นับอย่างไร เวลาเริ่มต้น ให้นับวันถัดจากวันแรกแห่งเวลานั้นเป็นวัน เริ่มนับระยะเวลา ส่วนเวลาสิ้นสุด ถ้าวันสุดท้ายแห่ง ระยะเวลาตรงกับวันหยุดราชการให้นับวันเริ่มเปิดท า การใหม่เป็นวันสุดท้ายแห่งระยะเวลา เช่น ได้รับแจ้ง ค าสั่งลงโทษ วันที่ 1 กันยายน 2566 ระยะเวลาเริ่มต้นที่ เริ่มนับคือ วันที่ 2 กันยายน 2566 ระยะเวลาที่ยื่น อุทธรณ์วันสุดท้ายคือ วันที่ 1 ตุลาคม 2566 49
คู่มือการดา เนินการทางวินัยการอุทธรณ์และการร้องทกุข์ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ถ้าวันสุดท้ายของระยะเวลายื่นอุทธรณ์ตรงกับ วันหยุดวันแรงงานแห่งชาติแรงงาน จะยื่น อุทธรณ์ หรือร้องทุกข์ ในวันถัดไปได้หรือไม่ วันแรงงานแห่งชาติไม่ใช่วันหยุดราชการ ดังนั้น หากระยะเวลาสิ้นสุด วันสุดท้ายตรงกับ วันแรงงานแห่งชาติ ไม่อาจนับวันเปิดท าการ ใหม่เป็นวันสุดท้ายแห่งระยะเวลา 50