The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 2 พาเรียนรู้สู่วัฏจักรบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hall.za1, 2021-04-08 05:39:02

ชุดที่ 2 พาเรียนรู้สู่วัฏจักรบัว

ชุดที่ 2 พาเรียนรู้สู่วัฏจักรบัว

คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชีวติ สำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษา
ป�ท่ี 5 พัฒนาขึ้นโดยยึดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระที่ 1
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่องใกล้ตัวบัวน่ารู้ ประกอบด้วยคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ บทบาทครู บทบาทนักเรียน จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป�นสื่อประกอบการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปท� ี่ 5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชีวติ สำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษา
ป�ที่ 5 ประกอบด้วยเนื้อหา จากคำขวัญของจังหวัดปทุมธานี ถิ่นบัวหลวง เป�นกิจกรรมที่เน้นผู้เรียน
เป�นสำคัญ นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้ด้วยตนเอง เน้นกระบวนการทำงานกลุ่ม ผู้เรียนได้
ฝ�กความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ซึ่งเป�นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยแบ่งเน้ือหา ชุดกิจกรรม
การเรียนร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทักษะชวี ติ 7 ชุดดงั นี้

ชดุ ที่ 1 หลากหลายสายพันธุ์ฉนั ชอื่ บวั
ชุดท่ี 2 พาเรียนรูส้ ู่วัฏจักรบวั
ชุดที่ 3 ประโยชนม์ ากมายเรยี นได้จากบัว
ชุดท่ี 4 ของกินหลากชนิดผลติ จากบัว
ชุดท่ี 5 คุณค่านา่ คดิ สิ่งประดษิ ฐ์จากบวั
ชดุ ที่ 6 สรรสร้างบัวนอ้ ยลอยน้ำได้
ชดุ ที่ 7 สนุกสนานเบิกบานเรื่องบัว
ผู้จัดทำหวังเป�นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชีวิต
สำหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปท� ี่ 5 จำนวน 7 ชดุ เร่อื งใกล้ตวั บัวนา่ รู้ สามารถช่วยให้นกั เรียนเข้าใจ
เนื้อหาได้ง่ายและชัดเจนขึ้น มีทักษะชีวิต เป�นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ
นวัตกรรมทางการศึกษาตอ่ ไป

มง่ิ ขวัญ โพระดก



สารบญั

เรอื่ ง หน้า

คำนำ ก
สารบญั ข
คู่มอื การใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต ค
คำชี้แจง 1
บทบาทครู 5
บทบาทนักเรียน 6
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 8
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชวี ิต
10
ชดุ ท่ี 2 พาเรยี นรสู้ ่วู ัฏจกั รบวั 16
18
ใบความรู้ 20
ใบกิจกรรม 21
แบบทดสอบหลังเรยี น 31
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
บรรณานกุ รม



ค่มู อื การใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชวี ิต

คู่มือการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต
เป�นเอกสารช้ีแจง รปู แบบของชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ใี ช้ รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะในการ
ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ซ่ึงมีสว่ นประกอบดังน้ี

1. องคป์ ระกอบของเนือ้ หา
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชวี ิต

ชุดที่ 2 พาเรียนรู้ส่วู ฏั จกั รบวั ตามคำขวญั ของจงั หวัดปทมุ ธานี และตรงตามเนอ้ื หาใน
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปท� ี่ 5 เร่ืองใกลต้ วั บวั นา่ รู้

2. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต
ชดุ ท่ี 2 พาเรยี นรู้สู่วฏั จักรบวั ประกอบด้วย
คู่มือการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต
คำช้แี จงในชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชวี ิต
ขนั้ ตอนการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชีวิต
บทบาทครู
บทบาทนกั เรียน



3. สง่ิ ท่คี รูต้องเตรียม
ครูต้องเตรยี มส่ืออุปกรณ์ สถานที่ ให้ครบตามขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรม

การเรียนรู้ ดังนี้
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต
ชดุ ที่ 2 พาเรยี นรสู้ วู่ ฏั จกั รบวั
ใบความรู้
ใบกจิ กรรม
แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

4. การจดั รปู แบบการเรยี น
การใชก้ ิจกรรมการเรียนรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชีวติ

โดยใช้กจิ กรรมกลุม่ โดยใหน้ กั เรยี นเขา้ กลุ่มจำนวน 4 กลุม่ แบบคละนักเรียนโดย
แต่ละกลุ่มจะมที ้ังนกั เรยี นชายและนกั เรียนหญิง เมอ่ื ทำกจิ กรรมเรยี บร้อยแลว้
ให้นักเรียนแยกนั่งเดีย่ วเพอื่ ทำแบบทดสอบ

5. การประเมินผลการเรยี นรู้
- ประเมนิ ผลดา้ นความรู้ จากแบบทดสอบ
- แบบประเมนิ การทำกิจกรรม



คำช้แี จงในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์ บรู ณาการทักษะชีวิต ง
เรือ่ งใกล้ตวั บวั น่ารู้

ก่อนนำชุดการเรยี นรู้ไปใช้ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้

1. ศกึ ษาค่มู ือการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละปฏิบตั ิ
ตามขน้ั ตอนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามลำดับ

2. ศึกษาแผนการจดั การเรียนรู้ และปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
ตามแผนการจัดการเรยี นรู้

3. ศึกษาเน้ือหา วธิ ีการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ของชุดกิจกรรมการเรียนรูบ้ รู ณาการทักษะชวี ิต

4. จัดเตรียมแหล่งเรียนรู้ สอื่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ต่างๆใหพ้ ร้อม
ในการใช้งานได้

5. ศึกษาวธิ ีการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

1

องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
วชิ าวิทยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชีวิต

1. คำชแ้ี จงสำหรบั ครู
2. บทบาทครูผู้สอน
3. บทบาทนกั เรยี น
4. สาระสำคญั จดุ ประสงค์
5. ใบความรู้ ใบกิจกรรมแนวตอบ
6. แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน
7. แบบประเมินผล

2

คำช้แี จงสำหรบั ครู

ข้อปฏบิ ตั ใิ นการใชช้ ุดกจิ กรรม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชีวิต สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาป�ท่ี 5 ชุดที่ 2 พาเรียนรู้สู่วัฏจักรบัว มีจุดมุ่งหมาย เพื่อช่วยให้การดำเนินกิจกรรมการ
เรียนรบู้ รรลุวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรูแ้ ละมปี ระสิทธภิ าพ ครูผสู้ อนควรดำเนนิ การดังนี้
1.ขน้ั เตรียมการสอน

1.1 ศึกษาคำชี้แจงในการใชช้ ดุ กจิ กรรมใหเ้ ขา้ ใจก่อนอยา่ งละเอียดรอบคอบ
1.2 ศึกษาสาระสำคญั และจุดประสงค์การเรยี นรทู้ จ่ี ะสอนและข้นั ตอนตา่ งๆใน
แผนการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ ข้าใจชดั เจนเสยี กอ่ น
1.3 ตรวจดอู ปุ กรณต์ ่างๆในชดุ กจิ กรรมว่ามีครบตามท่รี ะบไุ ว้หรอื ไม่ และอยใู่ น
สภาพใช้งานได้หรอื ไม่
1.4 จัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ทจี่ ะใช้ให้เป�นไปตามลำดับการใช้ก่อน-หลงั

3

2. ขน้ั สอน
2.1 ดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามกระบวนการเรยี นการสอน

ชดุ ที่ 2 พาเรยี นร้สู วู่ ฏั จักรบวั
2.2 ขณะที่นักเรียนทำกิจกรรมครูคอยให้ความช่วยเหลือแนะนำกระตุ้นให้นักเรียน

ทำกิจกรรมอย่างกระตือรือร้นและตอบข้อสงสัยต่างๆระหว่างเรียนพร้อมทั้งสังเกตและ
ประเมินพฤติกรรมการทำงานของนักเรียน

2.3 ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบ
หลังเรียน เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนครูให้นักเรียนร่วมตรวจสอบและ
เก็บอปุ กรณ์ให้เรยี บรอ้ ยเพอื่ สะดวกในการใชค้ รง้ั ตอ่ ไป

4

บทบาทของครผู ้สู อน

1. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 2 พาเรียนรู้สู่วัฏจักรบัว ให้เข้าใจก่อนที่จะ
นำไปใช้

2. ครูอธิบายชี้แจงเกี่ยวกับการศึกษาและปฏิบัติตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 2
พาเรียนรสู้ ่วู ัฏจกั รบัว

3. ครูดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ทีก่ ำหนดไว้
4. ครกู ำกับตดิ ตามการฝ�กปฏิบัตกิ ิจกรรมและใหค้ ำปรึกษาแนะนำนกั เรยี น
5. ครูทดสอบนักเรยี นโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรยี น
เมอื่ จบข้ันตอนในแผนการจัดการเรยี นรู้แต่ละชุดเพ่อื วัดความร้คู วามเข้าใจของนกั เรียน

5

บทบาทนกั เรียน

1. รบั ทราบจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรจู้ ากครูผ้สู อนเพื่อใหท้ ราบว่าเมอื่ จบกจิ กรรมการ
เรียนรู้แล้วนักเรยี นสามารถเรยี นรูอ้ ะไรได้บ้าง

2. เม่ือแบง่ กลมุ่ เรียบร้อยแล้วใหแ้ ต่ละกลุ่มเลือก หวั หน้ากลุ่ม รองหวั หนา้ กล่มุ
ปฏิคม และเลขานุการกลุม่ โดยแบ่งหน้าทีใ่ นการทำงานโดยทุกคนต้องมีสว่ นรว่ ม

3. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพ่ือวัดความรคู้ วามเขา้ ใจอกี ครั้งหนึ่ง
4. ตั้งใจศึกษาใบความรแู้ ละปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามข้ันตอนหรอื คำชแ้ี จงของแต่ละ
กิจกรรมอยา่ งจริงจัง ระมดั ระวัง ไมเ่ ล่นขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ตรงตอ่ เวลา และไมเ่ สียงดัง
รบกวนผอู้ ่นื
5. จดั เก็บอปุ กรณ์ใหเ้ รียบรอ้ ยทุกครงั้ หลงั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสร็จ หากวสั ดอุ ุปกรณ์
ชำรดุ เสียหายตอ้ งแจง้ ครผู ูส้ อนทราบทันที
6. ทำแบบทดสอบหลังเรยี นเพือ่ วัดความรู้ความเข้าใจอกี ครั้งหนึง่

6

สาระสำคัญ

คำขวัญจังหวัดปทมุ ธานสี ู่การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ถ่ินบวั หลวง ตอน รจู้ กั ชวี ิตฉันช่ือบวั
บัว เปน� พชื น้ำลม้ ลุก ลกั ษณะลำต้นมที ั้งที่เป�นเหงา้ ไหล หรอื หัว ใบเป�นใบเดยี่ วเจรญิ ข้ึน
จากลำตน้ โดยมีกา้ นใบส่งข้นึ มาเจรญิ ทใี่ ต้นำ้ ผิวน้ำหรือเหนอื น้ำ รปู ร่างของใบส่วนใหญร่ ูปร่างกลม
มีหลายแบบ บางชนดิ มกี า้ นใบบวั
บวั เป�นราชินีแห่งไมน้ ำ้ จดั เปน� พนั ธ์ไุ ม้นำ้ ท่ีถือเป�นสญั ลกั ษณข์ องคณุ งามความดี บัวหลวง
ชอบข้นึ ในนำ้ จืดออกดอกตลอดป� ชอบน้ำสะอาด อยใู่ นนำ้ ลกึ พอสมควร ถ่นิ กำเนดิ ของบวั อยู่ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ จะเรม่ิ บานตั้งแต่ตอนเชา้ กา้ นดอกยาวมีหนามเหมือนกา้ นใบ ชดู อกเหนือนำ้ และ
ชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ สีขาวอมเขียวหรือสีเทาชมพู ร่วงง่าย กลีบดอกจำนวนมาก
เรียงซ้อนหลายชน้ั เกสรตวั ผมู้ ีจำนวนหลายสี
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. สามารถอธิบายวฏั จักรชวี ติ บวั ได้

7

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ชดุ ที่ 2 พาเรียนรู้สวู่ ัฏจักรบัว

คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบเป�นแบบเลอื กตอบ จำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน

2. นกั เรียนเลอื กคำตอบทถี่ ูกทีส่ ดุ แล้วทำเคร่อื งหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

1. ขอใดคอื โครงสรา งของบวั ถกู ตอ งทส่ี ดุ รปู ภาพใชต อบคาํ ถามขอ 7 - 10

ก. กลบี ดอก ไหล เกสร เมลด็

ข. กบี ดอก สาย เกสร เหงา 2

ค. เหงา ไหล ใบ ฝก 3 1
ง. ฝก เหงา กลบี ดอก ราก
2. ขอใดคอื อวยั วะสืบพันธุข องบวั ไดถ ูกตอ ง

ก. Ovule

ข. กานรวม 4 6
ค. กลบี ดอก 5
ง. อบั ละอองเรณู

3. ขอ ใดคือเกสรเพศเมยี 7. หมายเลข 5 คอื สวนใดของบวั
ก. หมายเลข 1 ก. เหงา
ข. หมายเลข 2 ข. ลําตน
ค. หมายเลข 3 ค. กาน
ง. หมายเลข 4 ง. ใบ
4.ขอใดคอื เกสรเพศผู 8. เหตุใดหมายเลข 4 จงึ มคี วามสําคัญกับบัว
ก. หมายเลข 1 ก. สะสมน้าํ ไวบ นผวิ
ข. หมายเลข 3 ข. สืบพนั ธุ
ค. หมายเลข 5 ค. สังเคราะหแสง
ง. หมายเลข 6 ง. ประดับ
5. วัฏจกั รบวั ประกอบดวยอะไรบาง เรียงจากขน้ั แรก 9. หมายเลข 6 คอื สว นใดของบวั
จนถึงขน้ั สดุ ทาย ก. ราก
ก. เมล็ด ลาํ ตน ใบ ดอก ผล ข. เหงา
ข. เมล็ด ลาํ ตน ใบ ผล ค. หนอ
ค. เมลด็ ใบ ลําตน ผล ดอก ง. ไหล
ง. ไมมคี ําตอบทีถ่ กู ตอง 10. หมายเลข 2 คือสวนใดของบวั และมีหนา ทอ่ี ะไร
6. โดยปกตกิ ลบี เล้ียง มีหนา ท่ีอยางไร ก. ดอก, สบื พนั ธุ
ก. เปน สว นประดบั ของดอก ข. กา นบวั , ลําเลียงอาหาร
ข. เปน สวนปอ งกนั อันตราย ค. แกนเกสรตัวเมยี , สืบพนั ธุ
ค. เปนสว นสืบพนั ธุ ง. ฝกบวั , เกบ็ รักษาเมลด็
ง. เปน สว นยดึ เกาะใหด อก

8

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ชดุ ท่ี 2 พาเรยี นรู้สวู่ ัฏจักรบัว

ชือ่ ...................................................................................ชน้ั ........................เลขท่ี................

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

9

เพลงวัฏจกั รบวั

แตง่ โดย ครมู ง่ิ ขวัญ โพระดก
ทำนองเพลง ซุปเปอรว์ าเลนไทน์
ลลั ลัล่ ลา ลลั ลัล ลลั่ ลา มา ม้า มา มาร้องเพลงรจู้ กั บวั กนั
บัวหลวงค่ะ บัวสายคะ่ พวกเรามา มารูจ้ ักวฏั จกั รบวั
เมลด็ บัวคะ่ เหง้าบวั ค่ะ สองอยา่ งน้ี มไี วเ้ พอ่ื ขยายพนั ธุ์
ดอกบวั ค่ะ เกสรบวั คะ่ สกี ลบี บัวไว้ลอ่ แมลงเพอื่ ผสมพนั ธุ์
ใบบัวค่ะ ใบออ่ นคะ่ ใชห้ ่อของกิน และเปน� ที่ซ่อนของปลา
สายบัวคะ่ ไหลบวั คะ่ ตม้ ผดั แกงสม้ ทำขนมกอ็ รอ่ ยดี
เมล็ดบัว ภายในมีดีบวั
ดบี ัว คอื ต้นออ่ นของบวั
เกิดเปน� บัวต้นใหม่ ออกใบดอกผลทนั ใจ
ผสมเกสรได้ในดอกเดยี วกนั เรียกบัวดอกสมบรู ณเ์ พศ
ทีส่ งั เกตมเี นือ้ เมล็ดสดุ มนั สามารถขยายพนั ธ์ุ
จากรากเหงา้ น้นั ไหลไปโตทันใจ
หากบัวอยทู่ ่ีใด น้ำจะใสเหน็ ปลาตาโต
ลัล ล่ลั ลา ลลั ลัล ลล่ั ลา มา ม้า มา มารู้จกั วัฏจักรบัว

10

11

ดอก
ใบ

วัฏจกั รชวี ิตบัว ผล

ลาํ ตน้ เมล็ด

12

โครงสร้างบัวสกลุ ปทุมชาติ (Nelumbo)
บวั ในวงศป์ ทมุ ชาติ (Nelumbonaceae) กลมุ่ ทีม่ ีถน่ิ กำเนดิ ทางเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เรยี กวา่ ปทมุ ชาติ
เขตร้อน คนไทยเรยี กว่า บวั หลวง (lotus) นยิ มนาํ มาตัดดอกบูชาพระ เมล็ด และเหงา้ (รากบวั ) นาํ มาประกอบ
อาหารได้ สามารถปลกู ได้ในระดบั นำ้ ต้งั แต่ 1-2 เซนตเิ มตร ไปจนถงึ 2-3 เมตร
ลักษณะทางกายภาพ

ลาํ ต้น (stolon, rhizome)
เจรญิ เตบิ โตขนานใตผ้ วิ ดนิ ใตน้ ำ้ ลำตน้ ออ่ นมลี กั ษณะเป�นกา้ นอ่อนสีขาวขุ่น เรยี กว่า ไหล (stolon)
ลำตน้ แกจ่ ะมีขนาดใหญ่ข้นึ และแขง็ สคี รีมหรอื นำ้ ตาลออ่ น เรียกวา่ เหงา้ ท่ีเจรญิ เติบโตในแนวนอน (rhizome)
แตเ่ วลานํามาประกอบ อาหารนิยม เรียกวา่ รากบวั
กา้ นใบ (petiole)
เปลือกแขง็ มีต่มุ หนามเลก็ ๆ (spiny) ส่งแผน่ ใบชูสูงแผ่เหนอื ผิวน้ำเมอื่ ต้น สมบูรณเ์ ตม็ ที่
ใบบวั (leaf blade)
รูปทรงกลม (orbicular) ลกั ษณะฐานใบ (senus) หรอื โคนใบปด� (peltate) โคนและปลายใบเว้าเข้า
(connate-perfoliate) ใบออ่ นใตน้ ้ำจะหอ่ ตัว จนสง่ ใบพน้ นำ้ ประมาณ 1 สปั ดาห์ จงึ คลี่แผ่ หน้าใบไม่จับน้ำ
ใบมีขนาด เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางตงั้ แต่ 5-10 เซนติเมตร ไปจนถงึ 30-40 เซนตเิ มตร ตามขนาดของต้นและพันธ์ุ
กา้ นดอก (peduncle)
เปลอื กแข็งมตี ่มุ หนามเลก็ ๆ สง่ ใหด้ อกชสู ูงเหนอื ผวิ น้ำ
ดอกบวั (flower)
ดอกเดย่ี ว ทรงดอกมีท้งั ทรงแหลมและปอ้ ม กลีบดอกมีท้ังซอ้ นและไม่ซอ้ น ขนาดเล็ก หรือใหญ่ ตามแต่
พันธุ์ เร่มิ บานตอนรุ่งสาง
กลบี เลยี้ ง (sepal)
ท่วั ไปมี 4-6 กลบี ขนาดเล็กกว่ากลบี ดอกชัดเจน

13

กลีบดอก (petal)
รปู ทรง เดยี วกับทรงดอก กลีบจำนวนมาก สี ขาว หรอื ชมพู หรือ แดง หากกลีบดอกเปน� สเี หลือง มัก
เป�น ปทุมชาตเิ ขตอบอนุ่ -หนาว
เกสรเพศผู้ (Stamen)
ประกอบด้วยก้านชูอับละอองเกสรทรงฝ�กยาวสีเหลือง ภายในมีละอองเกสร สีเหลือง ตรงปลายมี
ระยางคเ์ ปน� สง่ิ เล็กสขี าวข่นุ มที ง้ั ลกั ษณะปกติ และลักษณะ ท่ีเปน� มันคล้ายกลีบ
ผล (fruit)
คือ เมล็ดบัว (seed) ที่มีเปลือกหุ้ม เกิดอยู่ในฝ�กบัว (torus) เมล็ดมีขนาดใหญ่ภายในเมลด็ มีต้นอ่อน
(embryo) ทน่ี ิยมเรียกวา่ ดบี ัว สว่ นน้ีมรี สขมเป�นส่วนประกอบเคร่อื งยาสมนุ ไพร

14

เมล็ดบวั ต้นอ่อน (ดบี วั ) ใบบวั

ลำต้นแก่ (เหง้าบวั /รากบวั ) ลำตน้ (ไหลบวั /หลดบวั /หนอ่ บวั ลำตน้ (สายบวั )

ดอกบวั ดอกบัวหลวง ดอกบัวสาย

เกสรเพศเมยี
เกสรเพศผู้

ฝักบัว
15

กจิ กรรมที่ 1

คำชี้แจง ให้นักเรียนอธบิ ายวฏั จกั รบวั พร้อมระบายสี

ชอ่ื กลุ่ม...............................................

1…………………………………………………………………………………….. หัวหนา้ กล่มุ
2…………………………………………………………………………………….. รองหวั หน้ากลุ่ม
3…………………………………………………………………………………….. สมาชิกกลมุ่
4…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลุ่ม
5…………………………………………………………………………………….. เลขานุการกลุ่ม

16

กิจกรรมที่ 2
คำชแี้ จง ให้นักเรียนออกแบบเกมวฏั จกั รบัว จากอุปกรณท์ ก่ี ำหนดให้

ช่อื กลุ่ม...............................................

1…………………………………………………………………………………….. หวั หน้ากลุ่ม 17
2…………………………………………………………………………………….. รองหวั หน้ากลุ่ม
3…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลมุ่
4…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลุ่ม
5…………………………………………………………………………………….. เลขานกุ ารกลุ่ม

แบบทดสอบหลังเรียน

ชดุ ที่ 2 พาเรียนรสู้ ู่วัฏจกั รบวั

คำช้ีแจง 1. แบบทดสอบเป�นแบบเลอื กตอบ จำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน

2. นกั เรียนเลอื กคำตอบท่ีถกู ที่สุด แล้วทำเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

รูปภาพใชต อบคําถามขอ 1 - 6 5. ขอ ใดคือเกสรเพศเมยี

ก. หมายเลข 1

2 ข. หมายเลข 2

3 1 ค. หมายเลข 3
ง. หมายเลข 4

6.ขอใดคือเกสรเพศผู

ก. หมายเลข 1

4 ข. หมายเลข 3
6 ค. หมายเลข 5
5 ง. หมายเลข 6

1. หมายเลข 5 คอื สว นใดของบวั 7. ขอ ใดคอื อวยั วะสบื พันธขุ องบวั ไดถ ูกตอ ง
ก. เหงา ก. Ovule
ข. ลําตน ข. กา นรวม
ค. กาน
ง. ใบ ค. กลบี ดอก
2. เหตใุ ดหมายเลข 4 จงึ มคี วามสําคัญกบั บัว
ก. สะสมน้าํ ไวบนผวิ ง. อับละอองเรณู
ข. สืบพนั ธุ 8. ขอใดคอื โครงสรางของบวั ถกู ตอ งที่สดุ
ค. สงั เคราะหแสง ก. กลีบดอก ไหล เกสร เมลด็
ง. ประดบั
3. หมายเลข 6 คอื สวนใดของบวั ข. กบี ดอก สาย เกสร เหงา
ก. ราก
ข. เหงา ค. เหงา ไหล ใบ ฝก
ค. หนอ
ง. ไหล ง. ฝก เหงา กลีบดอก ราก
4. หมายเลข 2 คอื สว นใดของบวั และมหี นา ที่อะไร 9. วัฏจกั รบัวประกอบดวยอะไรบาง เรยี งจากขน้ั แรก
ก. ดอก, สบื พันธุ จนถงึ ขนั้ สดุ ทา ย
ข. กา นบวั , ลําเลยี งอาหาร ก. เมล็ด ลําตน ใบ ดอก ผล
ค. แกนเกสรตัวเมยี , สบื พันธุ
ง. ฝกบวั , เก็บรกั ษาเมลด็ ข. เมล็ด ลาํ ตน ใบ ผล

ค. เมลด็ ใบ ลาํ ตน ผล ดอก

ง. ไมมคี ําตอบทถ่ี กู ตอ ง
10. โดยปกตกิ ลบี เล้ียง มีหนา ทอ่ี ยา งไร
ก. เปน สวนประดบั ของดอก

ข. เปน สวนปอ งกนั อนั ตราย

ค. เปนสวนสืบพันธุ

ง. เปนสวนยดึ เกาะใหด อก

18

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชดุ ท่ี 2 พาเรียนรู้สู่วฏั จักรบัว

ชือ่ ...................................................................................ช้ัน........................เลขที.่ ...............

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

19

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
ชดุ ที่ 2 พาเรียนรู้สวู่ ัฏจักรบวั

ข้อ คำตอบ
1 ค.
2 ก.
3 ก.
4 ข.
5 ก.
6 ข.
7 ก.
8 ค.
9 ง.
10 ง.

20

เเฉฉลลยยแแบบบบททดดสสออบบหหลลงั งั เเรรียยี นน
ชุดที่ ช1ดุ หทลี่ 2ากพหาลเราียยนสารยู้สพู่วัฏันจธกัุ์ฉรันบชัวื่อบัว

ข้อ คำตอบ
1 ก.
2 ค.
3 ง.
4 ง.
5 ก.
6 ข.
7 ก.
8 ค.
9 ก.
10 ข.

21

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้บูรณาการทักษะชีวติ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาป�ท่ี 5

พฤติกรรม/ ระดับคะแนน

การแบง่ ความ การ การ ความมี

ท่ี ช่อื -สกุล หน้าท่ใี น รว่ มมือ แสดง ยอมรบั นำ้ ใจ รวม
15
การ ในการ ความ ฟ�งความ ชว่ ย

ทำงาน ทำงาน คดิ เหน็ คดิ เหน็ เหลอื กนั

กลุ่ม ของผูอ้ ่นื ในกลุ่ม

321321321321321

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน ระดบั 3 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดบั ดี

คะแนน ระดบั 2 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดบั ปานกลาง

คะแนน ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปรับปรงุ

เกณฑ์การประเมิน คะแนนเตม็ 15 คะแนน

คะแนน 11 - 15 หมายถงึ ดี

คะแนน 6 - 10 หมายถงึ ปานกลาง

คะแนน 0 - 5 หมายถึง ปรบั ปรงุ

22

แบบประเมินผลงานการนำเสนอ/อภปิ รายหนา้ ชน้ั เรยี น
ชดุ ท่ี 2 พาเรียนรู้สวู่ ฏั จักรบวั

กลุ่มท.่ี ..............................................

1…………………………………………………………………………………….. หวั หนา้ กลุม่
2…………………………………………………………………………………….. รองหวั หน้ากลมุ่
3…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลมุ่
4…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กล่มุ
5…………………………………………………………………………………….. เลขานุการกลมุ่

คำช้แี จง ให้ทำเครอื่ งหมาย  ในช่องวา่ งทก่ี ำหนดให้

การประเมินตนเอง เพ่อื นประเมนิ เพอ่ื น การประเมินโดยครู
พฤติกรรมบง่ ชี้ พฤติกรรมบ่งช้ี
รายการประเมนิ พฤติกรรมบง่ ชี้
54321 54321
54321

1. มีการวางแผนการทำงาน

2. มคี วามพร้อมในการนำเสนอ

3. ความนา่ สนใจในการนำเสนอ

4. มคี วามคดิ สร้างสรรค์

5. ความถูกตอ้ งของงาน

รวมทง้ั สิ้น

เกณฑก์ ารประเมนิ หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 21 - 25 คะแนน หมายถึง ระดับดี
คะแนน 16 - 20 คะแนน หมายถึง ระดบั พอใช้
หมายถึง ระดับปรับปรุง
คะแนน 11 - 15 คะแนน
คะแนน 0 - 10 คะแนน

การประเมนิ ผลงาน ประเมนิ โดย .............................................ครผู สู้ อน
(นางมิง่ ขวัญ โพระดก)
ประเมินโดยกลุม่ ท.ี่ ................... เพือ่ นประเมนิ เพอ่ื น
.................................................................................

23

แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

การประเมิน

1. การ 2. การใช้ 3. การบอก 4.บนั ทกึ ผล 5.ความ

ท่ี ช่อื -สกลุ ดำเนนิ การ ทักษะการคดิ รายละเอยี ด อยา่ ง ปลอดภยั รวม
ตามทว่ี างแผน วิเคราะห์และ ของสิง่ ที่ทำ ตรงไปตรงมา ขณะปฏิบตั ิ
1 ทกั ษะการคิด ตามความ กจิ กรรม
2 แกป้ ญ� หา เป�นจริง
3
4 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20
5
6 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
7 หมายถึง ระดับดี
8 หมายถงึ ระดบั พอใช้
9 หมายถงึ ระดบั ปรับปรุง
10
11
12
13
14
15

เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน 16 - 20 คะแนน
คะแนน 11 - 15 คะแนน
คะแนน 6 - 10 คะแนน
คะแนน 1 - 5 คะแนน

24

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

การประเมิน

ท่ี ชือ่ -สกุล 1.ความ 2. ความ 3.ความ 4.ความ 5.ความ รวม
สามารถ สามารถ สามารถ สามารถ
1 สามารถ ในการคดิ ในการ ในการใช้ ในการใช้
2 ในการ แกป้ ญ� หา ทักษะชวี ิต เทคโนโลยี
3 สอ่ื สาร
4
5 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20
6
7 หมายถึง ระดบั ดีมาก
8 หมายถึง ระดบั ดี
9 หมายถงึ ระดบั พอใช้
10 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
11
12
13
14
15

เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน 16 - 20 คะแนน
คะแนน 11 - 15 คะแนน
คะแนน 6 - 10 คะแนน
คะแนน 1 - 5 คะแนน

25

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

พฤติกรรม / ระดบั คะแนน

ที่ ชื่อ-สกุล มีความ ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นใน รวม
รบั ผดิ ชอบ การทำงาน
1
2 3213213 21
3
4 หมายถงึ ระดับดี
5 หมายถึง ระดับปานกลาง
6 หมายถงึ ระดับปรับปรงุ
7
8
9
10
11
12
13
14
15

เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน 7 - 9 คะแนน
คะแนน 4 - 6 คะแนน
คะแนน 0 - 3 คะแนน

26

แบบประเมนิ การคดิ วิเคราะห์ ตดั สนิ ใจ และแก้ป�ญหาอย่างสร้างสรรค์

พฤตกิ รรมทักษะชวี ติ ทีค่ าดหวัง

1.เลอื กรบั 2.ตัดสนิ ใจ 3.แก้ปญ� หา 4.มี 5. มองโลก 6.มที กั ษะใน 7.ประเมิน

ขอ้ มลู ใน ใน จนิ ตนาการ ในแงด่ ี การแสวงหา และสรา้ ง สรปุ
ข่าวสาร สถานการณ์ สถานการณ์ และ ข้อมูลและใช้ ข้อสรปุ

ที่ ช่อื -สกลุ อย่าง ต่างๆท่ีเผชญิ วกิ ฤตได้ ความคิด ข้อมลู ให้เปน� บทเรียนชีวิต
ไตร่ตรอง อย่างมี อยา่ งเปน� สร้างสรรค์ ประโยชน์ ของตนเอง

และร้เู ทา่ ทนั เหตุผลและ ระบบ

สงั คมที่ รอบคอบ

เปลี่ยนแปลง

ผา่ น ไม่ ผา่ น ไม่ ผ่าน ไม่ ผ่าน ไม่ ผา่ น ไม่ ผ่าน ไม่ ผา่ น ไม่ ผา่ น/ไมผ่ า่ น
ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

27

องคป์ ระกอบที่ 2 การคดิ วิเคราะห์ ตัดสนิ ใจและแกป้ ญ� หาอย่างสรา้ งสรรค์

การคิดวิเคราะห์ ตดั สนิ ใจและแก้ป�ญหาไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การแยกแยะข้อมูลข่าวสาร
ป�ญหาและสถานการณร์ อบตวั วิพากษ์วจิ ารณ์และประเมนิ สถานการณ์รอบตัวดว้ ยหลกั เหตผุ ลและขอ้ มูลท่ี
ถกู ตอ้ ง รบั รูป้ �ญหา และสาเหตขุ องป�ญหา หาทางเลอื กและตัดสนิ ใจในการแกป้ ญ� หา ในสถานการณต์ า่ งๆอยา่ ง
สร้างสรรค์

พฤตกิ รรมทกั ษะชวี ติ ทคี่ าดหวัง ตัวชว้ี ัด

1.เลือกรับขอ้ มูลขา่ วสารอย่างไตรต่ รองและรบั รู้ วเิ คราะหป์ ระโยชน์และคณุ ค่าของขอ้ มลู ข่าวสาร

เทา่ ทนั สงั คมทีเ่ ปล่ียนแปลง เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารเพอ่ื สรา้ งภูมคิ วามร้แู ละการ

ตัดสนิ ใจเมอื่ เผชญิ สถานการณร์ อบตวั

2.ตดั สินใจในสถานการณต์ ่างๆท่ีเผชญิ 2.1 ประเมินสถานการณ์ต่างๆทเ่ี ผชญิ ด้วยขอ้ มูลและ

อยา่ งมีเหตุผลรอบคอบ เหตุผลทีถ่ ูกต้อง

2.2 ตดั สินใจในสถานการณต์ า่ งๆที่เผชญิ ดว้ ย

ทางเลือกที่เหมาะสมและไมเ่ กิดผลกระทบ

ต่อตนเองและผ้อู ่นื

3.แกป้ ญ� หาในสถานการณว์ ิกฤตไิ ด้อยา่ งเป�นระบบ 3.1 แก้ป�ญหาเม่ือเผชญิ สถานการณ์วกิ ฤตอิ ยา่ ง

ไตรต่ รองตามขน้ั ตอนหลกั การแกป้ �ญหา

3.2 วเิ คราะห์ผลกระทบและหาทางปอ้ งกันหรอื

แก้ป�ญหาที่เกิดจากพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์

3.3 วางตัวและกำหนดทา่ ทไี ด้เหมาะสมกบั

สถานการณ์

4.มจี นิ ตนาการและความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานและแสดงพฤติกรรมได้เป�นที่

ยอมรับ

5. มองโลกในแงด่ ี 5.1 บอกสง่ิ ทมี่ องเหน็ หรือมุมมองดา้ นดีใน

บรรยากาศหรือสถานการณท์ เี่ ป�นปญ� หาได้

5.2 มคี วามยดื หยุ่นทางความคิด

6.มที กั ษะในการแสวงหาขอ้ มลู และใชข้ อ้ มูลใหเ้ ป�น แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งเรยี นร้ตู า่ งๆด้วยวิธีการทีม่ ี

ประโยชน์ ประสิทธภิ าพและใชป้ ระโยชนก์ ับตนเองและผอู้ ่ืน

7.ประเมนิ และการสร้างขอ้ สรปุ บทเรียนชวี ติ ประเมินและสรุปผลการกระทำ การตดั สนิ ใจและ

ของตนเอง การแกป้ ญ� หาในสถานการณค์ บั ขันจากประสบการณ์

ท่ดี ีของตนเองและผู้อ่ืนเปน� บทเรยี นชวี ิตของตนเอง

ท่มี า : แนวทางการพัฒนาทกั ษะชีวติ บูรณาการการเรยี นการสอน 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้

28

แบบประเมินทักษะชวี ติ ของนักเรยี นจากการเรียนรูโ้ ดยใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์
บูรณาการทกั ษะชีวิต สาหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

พฤตกิ รรมทกั ษะชวี ติ ท่ีคาดหวัง สรปุ ผลการ
ประเมิน

ที่ ช่ือ-สกลุ 1.รู้จัก ัสงเกต ัต้งคาถาม และแสวงหา รวม ผ่าน ไม่
คาตอบ ผา่ น
2.วิเคราะห์ความ ่นาเ ่ืชอถือของ ้ขอ ูมล
่ขาวสารไ ้ดสมเห ุตสมผล
3.ประเ ิมนสถานการ ์ณและนาไป
ประยุกต์ใ ้ชใน ีชวิตประจาวันไ ้ด
4. ีมจินตนาการและ ีมวามสามารถ
ในการ ิคดเ ื่ชอมโยง
5. รู้ ัจกวิพาก ์ษวิจาร ์ณบนพื้นฐานของ
้ขอ ูมลสารสนเทศ ี่ท ูถกต้อง
6.รู้จักวิธีการและ ั้ขนตอนการตัดสินใจ
และแก้ ัปญหา ่ีท ูถกต้อง

321321321321321321

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19

เกณฑ์การประเมนิ หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 13 - 18 คะแนน หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน 7 - 12 คะแนน หมายถึง ระดบั ปรับปรงุ
คะแนน 1 - 6 คะแนน

29

เกณฑ์การให้คะแนน

เกณฑ์การ ระดบั คะแนน

ประเมิน 3 2 1

1.รูจ้ กั สงั เกต มที ักษะการสงั เกต และมี มีทกั ษะการสงั เกต และมี มีทักษะการสงั เกต และมี

ตัง้ คาถาม และ แนวทางหาคาตอบโดยการ แนวทางหาคาตอบโดยการ แนวทางหาคาตอบโดยการ

แสวงหาคาตอบ ตั้งคาถามทนี่ าไปสู่คาตอบ ตง้ั คาถามทีน่ าไปส่คู าตอบ ตัง้ คาถามท่ีนาไปสู่คาตอบ

ทเี่ ปน็ แนวทางในการ ทเ่ี ปน็ แนวทางในการ ทเ่ี ป็นแนวทางในการ

แก้ปญั หาในสถานการณ์ แก้ปัญหาในสถานการณ์ แกป้ ญั หาในสถานการณ์

ตา่ งๆ โดยมีพฤตกิ รรมท่ี ตา่ งๆ โดยมพี ฤตกิ รรมท่ี ตา่ งๆ โดยมพี ฤติกรรมท่ี

ปฏบิ ัติชดั เจนและสมา่ เสมอ ปฏบิ ัติชัดเจนบอ่ ยครง้ั ปฏิบตั ิบางครัง้

2.วิเคราะหค์ วาม วิเคราะห์จาแนกแยกแยะ วิเคราะห์จาแนกแยกแยะ วเิ คราะหจ์ าแนกแยกแยะ

นา่ เชื่อถอื ของ ข้อมลู ข่าวสารและ ขอ้ มลู ขา่ วสารและ ข้อมูลข่าวสารและ

ข้อมลู ข่าวสารได้ สถานการณต์ ่างๆรอบตัว สถานการณ์ต่างๆรอบตัว สถานการณ์ต่างๆรอบตวั

สมเหตุสมผล ด้วยเหตุผลท่ีเชื่อถอื ได้ โดย ดว้ ยเหตุผลที่เช่อื ถอื ได้ โดย ดว้ ยเหตผุ ลทีเ่ ชอ่ื ถือได้ โดย

มีพฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ชิ ัดเจน มีพฤติกรรมท่ีปฏิบตั ชิ ัดเจน มีพฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางครงั้

และสมา่ เสมอ บ่อยคร้ัง

3.ประเมิน คาดคะเนความเสย่ี งจาก คาดคะเนความเส่ยี งจาก คาดคะเนความเสี่ยงจาก

สถานการณ์และ สถานการณ์ท่ีเผชิญใน สถานการณ์ท่ีเผชญิ ใน สถานการณ์ทเี่ ผชญิ ใน

นาไปประยุกต์ใช้ ชวี ิตประจาวันอย่างมเี หตผุ ล ชีวิตประจาวันอย่างมเี หตุผล ชวี ติ ประจาวันอย่างมเี หตผุ ล

ในชวี ิตประจาวนั โดยมีพฤติกรรมที่ปฏบิ ัติ โดยมพี ฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิ โดยมพี ฤติกรรมที่ปฏิบัติ

ได้ ชดั เจนและสม่าเสมอ ชดั เจนบ่อยครงั้ บางคร้งั

4.มีจินตนาการ สรา้ งผลงานและแสดงผล สรา้ งผลงานและแสดงผล สรา้ งผลงานและแสดงผล

และมี งานทเ่ี กิดจากการคิด งานทเี่ กดิ จากการคดิ งานทเ่ี กดิ จากการคดิ

ความสามารถ เช่อื มโยงและจนิ ตนาการ เชื่อมโยงและจนิ ตนาการ เชอ่ื มโยงและจนิ ตนาการ

ในการคดิ โดยมพี ฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิ โดยมพี ฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัติ โดยมพี ฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิ

เช่อื มโยง ชดั เจนและสม่าเสมอ ชดั เจนบ่อยคร้ัง บางครงั้

5.รู้จกั วิพากษ์วจิ ารณ์ตามหลักการ วิพากษว์ ิจารณต์ ามหลักการ วพิ ากษ์วิจารณ์ตามหลักการ

วิพากษ์วิจารณ์ เหตผุ ลและใชข้ อ้ มูล เหตผุ ลและใชข้ ้อมลู เหตุผลและใชข้ อ้ มูล

บนพ้นื ฐานของ สารสนเทศท่ีถูกต้อง สารสนเทศท่ีถูกตอ้ ง สารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง

ข้อมลู สารสนเทศ สนบั สนุนโดยมพี ฤติกรรมที่ สนับสนุน โดยมพี ฤตกิ รรม สนบั สนนุ โดยมพี ฤติกรรม

ที่ถกู ต้อง ปฏบิ ัติชัดเจนและสมา่ เสมอ ท่ีปฏิบตั ิชดั เจนบ่อยคร้ัง ทปี่ ฏิบัตบิ างครง้ั

6.ร้จู ักวธิ ีการ วเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหา วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

และข้นั ตอน เลอื กแก้ไขปัญหาไดห้ ลายวิธี เลือกแก้ไขปญั หาไดห้ ลายวิธี เลอื กแก้ไขปญั หาได้หลายวิธี

การตัดสนิ ใจและ และตัดสนิ ใจเลือกแกป้ ญั หา และตดั สินใจเลอื กแก้ปญั หา และตดั สนิ ใจเลอื กแกป้ ัญหา

แกป้ ัญหา ดว้ ยวธิ กี ารทถี่ ูกต้อง ด้วยวิธกี ารที่ถกู ต้อง ดว้ ยวิธกี ารทถี่ ูกต้อง

ที่ถกู ต้อง เหมาะสมและสร้างสรรค์ เหมาะสมและสรา้ งสรรค์ เหมาะสมและสร้างสรรค์

โดยมีพฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติ โดยมพี ฤติกรรมทป่ี ฏิบัติ โดยมพี ฤติกรรมทีป่ ฏิบัติ

ชัดเจนและสมา่ เสมอ ชดั เจนบ่อยคร้งั บางครัง้

29

พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตท่คี าดหวงั ตวั ชี้วดั
1.รูจ้ ักสงั เกต ตง้ั คาถาม และแสวงหาคาตอบ
1.1 ตั้งคาถามทีน่ าไปสู่คาตอบทเี่ ปน็ แนวทางในการ
2.วเิ คราะหค์ วามน่าเช่ือถือของขอ้ มลู ข่าวสาร แก้ปญั หาในสถานการณ์ต่างๆ
ไดส้ มเหตุสมผล
3.ประเมินสถานการณแ์ ละนาไปประยุกต์ใช้ 1.2 มีทักษะการสงั เกต และมีแนวทางหาคาตอบ
ในชวี ิตประจาวนั ได้
4.มจี ินตนาการและมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์จาแนกแยกแยะขอ้ มูลขา่ วสารและ
เช่ือมโยง สถานการณต์ ่างๆรอบตัวด้วยเหตุผลทเี่ ชอื่ ถือได้
5.รจู้ ักวิพากษว์ ิจารณ์บนพนื้ ฐานของข้อมูล
สารสนเทศทีถ่ ูกต้อง คาดคะเนความเสีย่ งจากสถานการณท์ เี่ ผชิญใน
6.รจู้ ักวธิ ีการและขน้ั ตอนการตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หา ชีวิตประจาวันอยา่ งมเี หตผุ ล
ทถี่ กู ต้อง
สรา้ งผลงานและแสดงผลงานทเี่ กิดจากการคิด
เชอื่ มโยงและจินตนาการ

วพิ ากษ์วิจารณ์ตามหลักการเหตผุ ลและใช้ข้อมูล
สารสนเทศท่ีถูกต้องสนบั สนุน

วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา เลือกแกไ้ ขปัญหาได้
หลายวธิ ีและตดั สินใจเลอื กแก้ปัญหาด้วยวธิ ีการท่ี
ถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์

30

บรรณานกุ รม

สุวฒั น์ อศั วไชยชาญและคณะ. บวั ไทย. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพป์ ลาตะเพียน, 2553.
กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการพัฒนาทกั ษะชวี ิต บรู ณาการการเรียนการสอน 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560.
วรี ประวัติ ตรีสวุ รรณ, ภวพล ศุภนนั ทนานนท์. บวั (Waterlilies & Lotuses). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์
พร้ินตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชิง่ จำกัด, 2561.

31


Click to View FlipBook Version