The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 5 คุณค่าน่าคิดสิ่งประดิษฐ์จากบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hall.za1, 2021-04-08 05:44:01

ชุดที่ 5 คุณค่าน่าคิดสิ่งประดิษฐ์จากบัว

ชุดที่ 5 คุณค่าน่าคิดสิ่งประดิษฐ์จากบัว

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชีวิต สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา
ป�ท่ี 5 พัฒนาขึ้นโดยยึดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระท่ี 1
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่องใกล้ตัวบัวน่ารู้ ประกอบด้วยคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ บทบาทครู บทบาทนักเรียน จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป�นสื่อประกอบการเรียนการสอน
เพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวิต ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาป�ที่ 5

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตรบ์ ูรณาการทักษะชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ป�ท่ี 5 ประกอบด้วยเนื้อหา จากคำขวัญของจังหวัดปทุมธานี ถิ่นบัวหลวง เป�นกิจกรรมที่เน้นผู้เรียน
เป�นสำคัญ นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้ด้วยตนเอง เน้นกระบวนการทำงานกลุ่ม ผู้เรียนได้
ฝ�กความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ซึ่งเป�นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยแบ่งเนื้อหา ชุดกิจกรรม
การเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชีวติ 7 ชุดดังน้ี

ชดุ ที่ 1 หลากหลายสายพันธุฉ์ นั ชอื่ บวั
ชุดท่ี 2 พาเรียนรสู้ วู่ ัฏจกั รบวั
ชุดที่ 3 ประโยชนม์ ากมายเรยี นได้จากบวั
ชุดที่ 4 ของกนิ หลากชนดิ ผลิตจากบวั
ชุดที่ 5 คณุ คา่ นา่ คดิ สิง่ ประดิษฐ์จากบวั
ชุดที่ 6 สรรสร้างบัวนอ้ ยลอยน้ำได้
ชดุ ท่ี 7 สนุกสนานเบกิ บานเร่อื งบวั
ผู้จัดทำหวังเป�นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชีวิต
สำหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท� ี่ 5 จำนวน 7 ชุด เรื่องใกล้ตัวบัวน่ารู้ สามารถช่วยให้นักเรยี นเขา้ ใจ
เนื้อหาได้ง่ายและชัดเจนขึ้น มีทักษะชีวิต เป�นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ
นวัตกรรมทางการศึกษาต่อไป

มง่ิ ขวัญ โพระดก



สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข
คมู่ ือการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทักษะชวี ิต ค
คำชแี้ จง 1
บทบาทครู 5
บทบาทนกั เรียน 6
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 8
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชวี ติ
10
ชดุ ท่ี 5 คุณค่านา่ คิดสง่ิ ประดิษฐจ์ ากบวั 16
18
ใบความรู้ 20
ใบกิจกรรม 21
แบบทดสอบหลงั เรยี น 30
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
บรรณานกุ รม



ค่มู อื การใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชีวิต

ค่มู อื การใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชวี ิต
เป�นเอกสารชี้แจง รปู แบบของชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ใี ช้ รวมทงั้ ข้อเสนอแนะในการ
ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ซง่ึ มสี ว่ นประกอบดงั น้ี

1. องค์ประกอบของเน้ือหา
ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต ชุดท่ี 5

คณุ คา่ น่าคิดสิ่งประดษิ ฐ์จากบัว ตามคำขวญั ของจังหวัดปทุมธานี และตรงตามเน้ือหาใน
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาป�ที่ 5 เรื่องใกลต้ วั บวั นา่ รู้

2. ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ บรู ณาการทักษะชวี ติ
ชุดที่ 5 คุณคา่ นา่ คิดสงิ่ ประดษิ ฐ์จากบัว ประกอบดว้ ย
คูม่ อื การใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชวี ิต
คำชี้แจงในชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต
ขนั้ ตอนการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์ บรู ณาการทักษะชีวิต
บทบาทครู
บทบาทนักเรียน



3. สิ่งที่ครูตอ้ งเตรียม
ครูตอ้ งเตรียมสื่ออปุ กรณ์ สถานท่ี ใหค้ รบตามขนั้ ตอนการจดั กิจกรรม

การเรยี นรู้ ดังน้ี
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชวี ติ
ชุดที่ 5 คณุ ค่านา่ คิดสิ่งประดิษฐ์จากบวั
ใบความรู้
ใบกิจกรรม
แบบทดสอบหลงั เรียน
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

4. การจดั รูปแบบการเรียน
การใช้กจิ กรรมการเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ บรู ณาการทกั ษะชวี ิต

โดยใช้กิจกรรมกลมุ่ โดยให้นักเรยี นเขา้ กลมุ่ จำนวน 4 กล่มุ แบบคละนักเรียนโดย
แต่ละกล่มุ จะมที ้งั นกั เรียนชายและนกั เรียนหญิง เมอ่ื ทำกิจกรรมเรยี บร้อยแลว้
ใหน้ ักเรียนแยกนง่ั เดี่ยวเพอื่ ทำแบบทดสอบ

5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
- ประเมินผลด้านความรู้ จากแบบทดสอบ
- แบบประเมนิ การทำกจิ กรรม



คำช้แี จงในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชวี ิต
เรือ่ งใกลต้ วั บัวน่ารู้

ก่อนนำชุดการเรยี นรไู้ ปใช้ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. ศกึ ษาค่มู ือการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิ

ตามขน้ั ตอนในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ตามลำดับ

2. ศึกษาแผนการจดั การเรียนรู้ และปฏิบัตกิ จิ กรรม
ตามแผนการจัดการเรยี นรู้

3. ศึกษาเน้ือหา วธิ ีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ของชุดกิจกรรมการเรยี นรู้บรู ณาการทักษะชวี ติ

4. จัดเตรียมแหล่งเรยี นรู้ สอ่ื วัสดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆให้พร้อม
ในการใช้งานได้

5. ศึกษาวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

1

องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
วชิ าวิทยาศาสตร์ บูรณาการทกั ษะชีวิต

1. คำชแ้ี จงสำหรบั ครู
2. บทบาทครูผู้สอน
3. บทบาทนกั เรยี น
4. สาระสำคญั จดุ ประสงค์
5. ใบความรู้ ใบกิจกรรมแนวตอบ
6. แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน
7. แบบประเมินผล

2

คำช้แี จงสำหรับครู

ข้อปฏบิ ตั ใิ นการใชช้ ดุ กจิ กรรม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ บูรณาการทักษะชีวิต สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาป�ท่ี 5 ชุดที่ 3 ประโยชน์มากมายเรียนได้จากบัว มีจุดมุ่งหมาย เพื่อช่วยให้การดำเนิน
กิจกรรมการเรียนรู้บรรลุวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้และมปี ระสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดำเนนิ การดงั น้ี
1.ข้ันเตรยี มการสอน

1.1 ศึกษาคำช้ีแจงในการใช้ชุดกิจกรรมให้เข้าใจกอ่ นอยา่ งละเอียดรอบคอบ
1.2 ศึกษาสาระสำคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่จะสอนและขั้นตอนต่างๆใน
แผนการจัดการเรยี นรใู้ หเ้ ขา้ ใจชัดเจนเสียกอ่ น
1.3 ตรวจดูอุปกรณ์ต่างๆในชุดกิจกรรมว่ามีครบตามที่ระบุไว้หรือไม่ และอยู่ใน
สภาพใช้งานไดห้ รอื ไม่
1.4 จัดเตรยี มวัสดอุ ุปกรณท์ จี่ ะใช้ใหเ้ ป�นไปตามลำดบั การใช้กอ่ น-หลัง

3

2. ขั้นสอน
2.1 ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามกระบวนการเรียนการสอน

ชดุ ท่ี 5 คุณค่าน่าคดิ ส่ิงประดษิ ฐ์จากบัว
2.2 ขณะที่นักเรียนทำกิจกรรมครูคอยให้ความช่วยเหลือแนะนำกระตุ้นให้นักเรียน

ทำกิจกรรมอย่างกระตือรือร้นและตอบข้อสงสัยต่างๆระหว่างเรียนพร้อมทั้งสังเกตและ
ประเมนิ พฤตกิ รรมการทำงานของนกั เรยี น

2.3 ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบ
หลังเรียน เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนครูให้นักเรียนร่วมตรวจสอบและ
เกบ็ อปุ กรณ์ให้เรยี บรอ้ ยเพื่อสะดวกในการใช้ครง้ั ต่อไป

4

บทบาทของครูผ้สู อน

1. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 5 คุณค่าน่าคิดสิ่งประดิษฐ์จากบัว ให้เข้าใจ
กอ่ นท่จี ะนำไปใช้

2. ครูอธิบายชี้แจงเกี่ยวกับการศึกษาและปฏิบัติตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 5
คณุ คา่ น่าคดิ ส่ิงประดิษฐจ์ ากบัว

3. ครดู ำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ก่ี ำหนดไว้
4. ครูกำกบั ติดตามการฝก� ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและให้คำปรกึ ษาแนะนำนกั เรียน
5. ครูทดสอบนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน เมื่อ
จบขั้นตอนในแผนการจดั การเรียนรแู้ ต่ละชดุ เพอ่ื วดั ความร้คู วามเข้าใจของนักเรียน

5

บทบาทนกั เรยี น

1. รบั ทราบจดุ ประสงค์การเรยี นร้จู ากครผู ้สู อนเพอ่ื ใหท้ ราบว่าเมอื่ จบกจิ กรรมการ
เรียนรแู้ ลว้ นักเรียนสามารถเรยี นรู้อะไรไดบ้ า้ ง

2. เม่อื แบ่งกลุ่มเรียบร้อยแลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มเลือก หัวหนา้ กลุม่ รองหวั หนา้ กลมุ่
ปฏิคม และเลขานกุ ารกลมุ่ โดยแบ่งหน้าทีใ่ นการทำงานโดยทุกคนต้องมสี ว่ นรว่ ม

3. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพอื่ วัดความรู้ความเขา้ ใจอกี คร้งั หน่งึ
4. ต้ังใจศึกษาใบความรแู้ ละปฏบิ ัติกิจกรรมตามขั้นตอนหรอื คำช้ีแจงของแตล่ ะ
กจิ กรรมอยา่ งจรงิ จัง ระมดั ระวัง ไม่เลน่ ขณะปฏบิ ัติกิจกรรมตรงตอ่ เวลาและไมเ่ สียงดงั
รบกวนผอู้ ืน่
5. จดั เกบ็ อุปกรณ์ใหเ้ รยี บร้อยทกุ ครง้ั หลังปฏิบัตกิ จิ กรรมเสร็จ หากวสั ดอุ ุปกรณ์
ชำรุดเสียหายตอ้ งแจง้ ครผู ู้สอนทราบทันที
6. ทำแบบทดสอบหลังเรยี นเพอ่ื วดั ความรู้ความเข้าใจอีกครง้ั หนง่ึ

6

สาระสำคัญ

ดอกบวั สดอบแหง้ โดยใช้ซลิ กิ า้ ทรายดูดความช้ืนออกจากดอกเพื่อใหด้ อกไม้คงความสวยงาม
ได้นานด้วยกรรมวิธีที่ไม่ทำลายธรรมชาติ สามารถนำไปประดับตกแต่ง ตั้งโชว์เพื่อความสวยงามหรือมอบให้
เปน� ของขวัญให้กับคนที่เรารักหรอื ญาตผิ ู้ใหญ่ สามารถสร้างรายได้อีกดว้ ย

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. สามารถทำดอกบัวสดอบแห้ง และประดิษฐ์เปน� ของตกแต่งได้

7

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชดุ ที่ 5 คณุ คา่ น่าคิดสง่ิ ประดิษฐจ์ ากบวั

คำชแ้ี จง 1. แบบทดสอบเป�นแบบเลอื กตอบ จำนวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน

2. นกั เรียนเลือกคำตอบท่ถี ูกทส่ี ดุ แลว้ ทำเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

1.ในการไลค่ วามชืน้ ออกจากบวั ไดใ้ ช้สารดูดความชนื้ ใน 6.ผลดีของการทำดอกไมอ้ บแหง้ ท่ไี ม่สง่ ผลกระทบต่อ

ข้อใดต่อไปน้ี สภาพแวดล้อมเพราะเหตใุ ด

ก. โมลนิ ่า ก.ยงั มคี นใหค้ วามสนใจน้อยมาก

ข.ซิลิโคลน ข.ไม่ไดท้ ำจำนวนมากจงึ ไม่กระทบ

ค.ซิลิกา้ เจล ค.เปน� การสรา้ งรายไดแ้ ละไมท่ ำลายสุขภาพ

ง.โมนา่ ลิซา่ ง.ไมไ่ ดใ้ ช้สารเคมแี ละสารดดู ความชืน้ นำกลับมาใช้ใหมไ่ ด้

2.ในการทำผลิตภณั ฑ์ดอกไมอ้ บแห้งมพี ัฒนาการมาจาก 7.คณุ ธรรมในขอ้ ใดทนี่ กั เรียนควรนำมาใชใ้ นการทำ

ขอ้ ใด ดอกไมอ้ บแห้งมากทีส่ ุด

ก.ภูมปิ ญ� ญาชาวบา้ นแตโ่ บราณ ก.ความอดทน (ขนั ต)ิ

ข.การถนอมอาหารของชาวสเุ มเรยี น ข.ความกตญั �ู กตเวที

ค.การทำเครื่องยาจนี ในราชวงั หลวง ค.ความขยนั และความอดทน

ง.การรักษาสภาพศพของชาวโรมนั โบราณ ง.ความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต และความมานะ

3.การคดั เลือกดอกบวั ท่จี ะนำมาอบควรปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร 8.กรณที นี่ กั เรยี นและเพอื่ นทำดอกไมอ้ บแหง้ แต่ผลงาน

ก.ใช้ดอกบวั หลวงทัว่ ไป ของเพอื่ นทำไดไ้ ม่ดี นกั เรียนมีวธิ ีปฏบิ ัตติ อ่ เพอื่ นอยา่ งไร

ข.การใช้ดอกบัวทม่ี ีกลบี แขง็ ก.บอกใหเ้ ลิกทำเพราะขาดพรสวรรค์

ค.ควรเลือกดอกบวั ทม่ี คี วามแปลก ข.ให้กำลงั ใจแล้วให้ฝ�กทำใหมจ่ นกว่าจะสำเรจ็

ง.ควรเลือกดอกบวั ท่ีบานได้ 1-2 วนั ค.อยู่เฉยๆไม่ตอ้ งทำอะไรเพราะกลัวเพอื่ นโกรธ

4.ในการทนี่ กั เรียนทำดอกไมอ้ บแหง้ แล้วผลที่ไดอ้ อกมาไม่ ง.แอบไปวิพากษว์ จิ ารณก์ บั เพ่ือนคนอื่นเพอ่ื หยัง่ เสียง

ดีนกั เรียนควรปฏบิ ัติอย่างไร 9.การกระทำในขอ้ ใดเปน� การปฏิบตั ิท่ีดี

ก.นำไปท้ิงทนั ทเี พ่ือไม่ให้ผู้อ่นื เห็น ก.การให้เพอ่ื นทำให้ เพอ่ื ผลงานทด่ี ี

ข.พิจารณาทบทวนถึงสาเหตทุ ีเ่ ปน� เช่นนนั้ ข.จา้ งใหผ้ ู้อ่นื ทำให้ จะไดม้ ีคนอน่ื มาชืน่ ชม

ค.เลกิ ทำทนั ทีเนอ่ื งจากเปน� เรอ่ื งยากสำหรบั เรา ค.การหา้ มไมใ่ ห้เพือ่ นลงไปเก็บดอกบวั ในสระให้

ง.จ้างผู้เชย่ี วชาญมาทำการสอนและปฏิบัตอิ ย่างจริงจงั ง.นำผลงานของเพือ่ นทสี่ วยๆเอามาเป�นของเรา

5.ขอ้ ใดคือผลดีของการทำดอกไม้อบแห้งมากที่สุด 10.ในการทำดอกไม้อบแห้งด้วยสารดดู ความช้ืนแลว้

ก.ประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย สามารถให้วธิ กี ารใดได้อกี

ข.การใช้ดอกไม้พน้ื ถิ่นที่หาได้งา่ ย ก.อบดว้ ยไมโครเวฟ

ค.เปน� การสร้างรายได้ใหค้ รอบครวั ข.การฝง� กลบร่วมกบั การอบดว้ ยไมโครเวฟ

ง.ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ มไม่ได้ใช้สารเคมี ค.ตม้ นำ้ และแชรท์ ้ิงไวก้ อ่ นนำมาอบด้วยไมโครเวฟ

ง.ใชน้ ้ำยาเคมี และทำการอบด้วยไมโครเวฟความร้อนสูง

8

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ชดุ ท่ี 5 คุณค่าน่าคดิ ส่ิงประดิษฐ์จากบัว

ชือ่ ...................................................................................ชัน้ ........................เลขท่.ี ...............

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

9

ใบความรู้

การพฒั นาดอกบวั สดอบแห้ง

งานวจิ ยั ของ สภุ า จฬุ คปุ ต์ และคณะ

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี.

คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการอบแห้งดอกบัวสดที่มีความเหมาะสมในงาน
ประดษิ ฐ์ โดยการศกึ ษาทดลองใช้ซิลิกา้ ทราย ซงึ่ เปน� สารดูดความช้นื ฝง� กลบ 2 วธิ ี คอื ฝง� กลบดว้ ยวธิ ธี รรมชาติ
7 วัน 10 วัน 20 วัน และฝ�งกลบร่วมกับการอบในเตาไมโครเวฟความร้อนสูง โดยใช้เวลา 1 นาที 1.5 นาที
และ 2 นาที และทิ้งไว้ 1 วัน 2 วัน และ 3 วัน ตามลำดับ และศึกษาคุณลักษณะที่เหมาะสมของดอกบัวสด
อบแห้ง โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้มีประสบการณ์ด้านดอกไม้สดและดอกไม้ประดิษฐ์จำนวน 10 คนเป�นผู้ประเมิน
คณุ ลกั ษณะของดอกบวั สดอบแหง้ ซึ่งผเู้ ชี่ยวชาญ/ผ้มู ปี ระสบการณด์ ้านดอกไมส้ ดและดอกไม้ประดษิ ฐ์ มีความ
พึงพอใจดอกบัวสดอบแห้ง ที่ฝ�งกลบ ด้วยวิธีธรรมชาติ (Silica sand) เป�นเวลา 7 วัน ในระดับมากที่สุด (
ค่าเฉลี่ย = 4.50 ) และสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อดอกบัวสดอบแห้ง โดยใช้ตัวอย่างดอกบัวสด
อบแห้งร่วมกับแบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 101 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ
วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถ่ี คา่ ร้อยละ และค่าเฉล่ีย การศึกษาครั้งนศ้ี ึกษาเฉพาะบัวกา้ นอ่อน จำนวน 10
ชนิด ที่ปลูกในพิพิธภัณฑ์บัว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงธัญบุรี ด้านข้อมูลพื้นฐานของผู้บริโภค พบว่า
ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป�นหญิง มีอายุระหว่าง 45-54 ป� มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาชีพส่วนใหญ่เป�น
นักเรียน/นกั ศึกษา และรองลงมาคือ รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ มรี ายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ เดือนมากกว่า 20.000 บาท ข้ึน
ไป สำหรบั ความพงึ พอใจของผบู้ ริโภคท่ีมีต่อดอกบวั สดอบแหง้ พบวา่ ผ้บู รโิ ภคมีความพงึ พอใจมากท่ีสุดในเร่ือง
ลักษณะทั่วไปของดอกบัวสดอบแห้ง ส่วนเรื่องสีมีความพึงพอใจในระดับมาก ผลการวิจัยพบว่า ดอกบัวที่
เหมาะสมที่สดุ ในการทำแห้งคือพันธุ์มังคลอบุ ล บัวขาว และไดเรคเตอร์เนื่องจากสีที่ได้จากการทำแหง้ เป�นสที ่ี
คงสภาพใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุดสำหรับรูปทรงของดอกบัวหลังการทำแห้งจะคงรูปเช่นเดิมโดยมีการ
เปลี่ยนแปลงน้อยมากในระยะเวลาหลายเดือน ส่วนเวลาที่ใช้ในการอบแห้งที่เหมาะสมที่สุด คือ อบด้วยวิธี
ธรรมชาติ ฝง� กลบด้วยซิลกิ ้าทรายเปน� เวลา 7 วนั เพราะจะไดด้ อกบวั แหง้ ท่ีเหมาะสมสวยงามท้งั สี รปู ทรง และ
ยงั คงสภาพ ใกลเ้ คียงกบั ธรรมชาติมากทีส่ ุด สว่ นการฝ�งกลบรว่ มกบั ไมโครเวฟ ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมคอื 1 นาที
1 วนั รูปทรง และสจี ะเปลี่ยนเลก็ น้อย และผู้บรโิ ภคจะมีความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ

10

ประวัติความเปน� มา

ผลิตภัณฑ์ดอกไม้อบแห้งนี้ มีพัฒนาการมาจากภูมิป�ญญาจากชาวบา้ นแต่โบราณ เป�นการต่อยอดภูมิ
ป�ญญาไทย เป�นการเก็บรกั ษาสภาพของดอกไม้ ใบไม้ ให้คงอยู่ในสภาพทั้งรูปทรง สี และขนาด ให้เหมอื นจริง
มากที่สุด จึงเลือกวิธีการดูดความชื้นออกจากกลีบดอกและใบ ซึ่งวิธีนี้จะไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพราะว่าสามารถนำสารดดู ความชืน้ กลับมาใช้ได้อีกเรื่อย ๆ ไม่เหมือนกับการทำแห้งโดยใช้สารเคมีตัวอื่นและ
ไม่มีการหมุนเวียนใช้งาน ทำให้เกิดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม

การไลค่ วามชนื้ ออกจากดอกบัว

ในการดูดความชื้นจะใชส้ ารดูดความช้ืนทเี่ รียกว่า ซลิ ิก้าเจล จะทำให้มีพน้ื ผวิ ที่ใช้ในการดูดความชนื้
เปน� จำนวนมาก ประมาณ 800 ตารางเมตรตอ่ นำ้ หนัก 1 กรมั หรอื ประมาณ 35-40% ของนำ้ หนกั ดอกบวั

เทคนคิ การคดั เลือกดอกบวั

การคัดเลือกดอกบัวที่จะนำมาอบนั้น ควรเป�นดอกบัวที่บานได้ 1-2 วัน ถึงจะได้ดอกบัวที่อกออก
มาแล้วจะมีทรงดอกบานสวยงาม กลีบแข็งแรง (ขึ้นอยู่กับพันธุ์บวั ) และเกสรตัวผู้ยังไม่บาน เวลาตัดส่วนใหญ่
จะเป�นช่วงเช้า และไม่ควรตัดมาครั้งละมากๆ อาจจะอบไมท่ นั

ท่มี า : https://www.thailandpostmart.com/

11

ศกึ ษาวิธกี ารทำจาก YouTube

12

13

14

15

กจิ กรรมท่ี 1

คำชี้แจง ให้นกั เรียน วางแผนการทำดอกบัวอบแหง้ และการนำวัสดมุ าจัดแจกนั ตามทไ่ี ดศ้ กึ ษา
ค้นคว้า ตามที่กำหนดให้ เปน� แผนผังมโนทัศน์

ช่ือกลุ่ม...............................................

1…………………………………………………………………………………….. หัวหนา้ กลุ่ม 16
2…………………………………………………………………………………….. รองหัวหนา้ กล่มุ
3…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กล่มุ
4…………………………………………………………………………………….. สมาชิกกลมุ่
5…………………………………………………………………………………….. เลขานกุ ารกลุ่ม

กจิ กรรมที่ 2

คำช้แี จง ให้นักเรยี นวาดภาพผลงานและนำเสนอผลงานการทำดอกบัวอบแหง้ หรือสง่ิ ประดษิ ฐ์
จากสว่ นตา่ งๆของบัวท่ีแห้งแลว้ เป�นของประดบั ตกแต่งบา้ น

ชอื่ กลมุ่ ...............................................

1…………………………………………………………………………………….. หัวหนา้ กลุ่ม 17
2…………………………………………………………………………………….. รองหวั หนา้ กลุม่
3…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลุ่ม
4…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลุม่
5…………………………………………………………………………………….. เลขานกุ ารกลุ่ม

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ชดุ ที่ 5 คุณคา่ น่าคิดสง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากบัว

คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบเป�นแบบเลอื กตอบ จำนวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน

2. นักเรยี นเลอื กคำตอบทีถ่ ูกที่สดุ แล้วทำเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

1.ในการทำผลิตภัณฑ์ดอกไมอ้ บแห้งมีพัฒนาการมาจาก 6.ในการไล่ความช้นื ออกจากบัวได้ใชส้ ารดูดความช้นื ใน

ข้อใด ขอ้ ใดต่อไปนี้

ก.ภมู ิปญ� ญาชาวบ้านแต่โบราณ ก. โมลิน่า

ข.การถนอมอาหารของชาวสเุ มเรยี น ข.ซิลโิ คลน

ค.การทำเครอื่ งยาจีนในราชวังหลวง ค.ซลิ ิก้าเจล

ง.การรกั ษาสภาพศพของชาวโรมนั โบราณ ง.โมนา่ ลิซา่

2.การกระทำในขอ้ ใดเปน� การปฏบิ ตั ิทด่ี ี 7.การคัดเลอื กดอกบัวท่จี ะนำมาอบควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร

ก.การใหเ้ พอ่ื นทำให้ เพ่อื ผลงานทดี่ ี ก.ใชด้ อกบวั หลวงทั่วไป

ข.จา้ งใหผ้ ู้อ่นื ทำให้ จะไดม้ ีคนอนื่ มาช่ืนชม ข.การใช้ดอกบวั ทม่ี กี ลบี แขง็

ค.การหา้ มไม่ให้เพอื่ นลงไปเก็บดอกบวั ในสระให้ ค.ควรเลือกดอกบัวทม่ี ีความแปลก

ง.นำผลงานของเพ่ือนทีส่ วยๆเอามาเป�นของเรา ง.ควรเลอื กดอกบัวที่บานได้ 1-2 วนั

3.ข้อใดคือผลดีของการทำดอกไม้อบแหง้ มากท่สี ุด 8.ในการทำดอกไม้อบแหง้ ด้วยสารดดู ความชื้นแล้ว

ก.ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย สามารถให้วธิ ีการใดไดอ้ กี

ข.การใชด้ อกไม้พนื้ ถิ่นทห่ี าไดง้ า่ ย ก.อบดว้ ยไมโครเวฟ

ค.เปน� การสร้างรายไดใ้ หค้ รอบครวั ข.การฝง� กลบร่วมกับการอบดว้ ยไมโครเวฟ

ง.ไม่ส่งผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ มไม่ไดใ้ ช้สารเคมี ค.ตม้ น้ำและแชร์ทงิ้ ไวก้ อ่ นนำมาอบด้วยไมโครเวฟ

4.กรณีทนี่ กั เรียนและเพ่อื นทำดอกไมอ้ บแหง้ แตผ่ ลงาน ง.ใชน้ ้ำยาเคมี และทำการอบดว้ ยไมโครเวฟความร้อนสงู

ของเพือ่ นทำไดไ้ มด่ ี นกั เรยี นมีวธิ ีปฏบิ ัตติ ่อเพือ่ นอยา่ งไร 9.ในการทนี่ กั เรยี นทำดอกไมอ้ บแหง้ แลว้ ผลท่ไี ดอ้ อกมาไม่

ก.บอกให้เลิกทำเพราะขาดพรสวรรค์ ดนี กั เรยี นควรปฏบิ ัติอย่างไร

ข.ใหก้ ำลังใจแลว้ ใหฝ้ �กทำใหมจ่ นกว่าจะสำเรจ็ ก.นำไปทิ้งทนั ทเี พอื่ ไม่ใหผ้ อู้ ื่นเหน็

ค.อยเู่ ฉยๆไม่ตอ้ งทำอะไรเพราะกลัวเพอื่ นโกรธ ข.พิจารณาทบทวนถึงสาเหตทุ เ่ี ปน� เช่นน้ัน

ง.แอบไปวิพากษว์ จิ ารณก์ ับเพอ่ื นคนอน่ื เพ่อื หยง่ั เสยี ง ค.เลกิ ทำทนั ทีเนือ่ งจากเปน� เร่อื งยากสำหรับเรา

5.ผลดีของการทำดอกไม้อบแหง้ ทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบตอ่ ง.จ้างผู้เชย่ี วชาญมาทำการสอนและปฏิบัตอิ ยา่ งจรงิ จัง

สภาพแวดล้อมเพราะเหตุใด 10.คณุ ธรรมในข้อใดที่นกั เรียนควรนำมาใชใ้ นการทำ

ก.ยงั มคี นใหค้ วามสนใจน้อยมาก ดอกไมอ้ บแหง้ มากที่สุด

ข.ไมไ่ ด้ทำจำนวนมากจงึ ไมก่ ระทบ ก.ความอดทน (ขนั ต)ิ

ค.เปน� การสรา้ งรายได้และไม่ทำลายสุขภาพ ข.ความกตญั �ู กตเวที

ง.ไม่ไดใ้ ชส้ ารเคมแี ละสารดดู ความช้ืนนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ค.ความขยัน และความอดทน

ง.ความซ่อื สตั ย์ สจุ ริต และความมานะ

18

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรียน
ชุดท่ี 5 คุณค่านา่ คิดสิ่งประดษิ ฐ์จากบัว

ช่ือ...................................................................................ช้นั ........................เลขท่.ี ...............

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

19

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ชุดที่ 5 คุณคา่ น่าคิดประดิษฐ์จากบวั

ข้อ คำตอบ
1 ค.
2 ข.
3 ง.
4 ข.
5 ง.
6 ง.
7 ค.
8 ข.
9 ค.
10 ข.

20

เเฉฉลลยยแแบบบบททดดสสออบบหหลลงั ังเเรรยี ยี นน
ชชุดุดทท่ี 1ี่ 5หคลุณากคห่าลนา่ายคสิดาปยรพะนัดธษิ ์ุฉฐนั ์จชากอ่ื บบวัวั

ข้อ คำตอบ
1 ข.
2 ค.
3 ง.
4 ข.
5 ง.
6 ค.
7 ง.
8 ข.
9 ข.
10 ค.

21

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ

การจดั กจิ กรรมการเรียนรูบ้ รู ณาการทักษะชวี ิตในกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาป�ท่ี 5

พฤติกรรม/ ระดับคะแนน

การแบง่ ความ การ การ ความมี

ที่ ชื่อ-สกลุ หน้าท่ใี น รว่ มมือ แสดง ยอมรบั นำ้ ใจ รวม
15
การ ในการ ความ ฟ�งความ ชว่ ย

ทำงาน ทำงาน คิดเห็น คิดเหน็ เหลอื กัน

กลมุ่ ของผู้อ่นื ในกลุ่ม

321321321321321

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดบั ดี

คะแนน ระดับ 2 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดบั ปานกลาง

คะแนน ระดบั 1 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดับ ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนเต็ม 15 คะแนน

คะแนน 11 - 15 หมายถงึ ดี

คะแนน 6 - 10 หมายถงึ ปานกลาง

คะแนน 0 - 5 หมายถึง ปรบั ปรุง

22

แบบประเมินผลงานการนำเสนอ/อภปิ รายหนา้ ชนั้ เรยี น
ชุดที่ 5 คุณคา่ นา่ คิดสงิ่ ประดิษฐจ์ ากบวั

กลุ่มท.ี่ ..............................................

1…………………………………………………………………………………….. หัวหน้ากล่มุ
2…………………………………………………………………………………….. รองหวั หนา้ กลุ่ม
3…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลุ่ม
4…………………………………………………………………………………….. สมาชกิ กลุ่ม
5…………………………………………………………………………………….. เลขานกุ ารกลุ่ม

คำช้แี จง ใหท้ ำเครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งวา่ งทีก่ ำหนดให้

การประเมินตนเอง เพื่อนประเมนิ เพอื่ น การประเมินโดยครู
พฤติกรรมบง่ ชี้ พฤติกรรมบง่ ช้ี
รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบง่ ชี้
54321 54321
54321

1. มีการวางแผนการทำงาน

2. มคี วามพร้อมในการนำเสนอ

3. ความน่าสนใจในการนำเสนอ

4. มีความคิดสร้างสรรค์

5. ความถกู ต้องของงาน

รวมท้ังสิน้

เกณฑก์ ารประเมนิ หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 21 - 25 คะแนน หมายถึง ระดบั ดี
หมายถงึ ระดบั พอใช้
คะแนน 16 - 20 คะแนน หมายถึง ระดบั ปรับปรุง

คะแนน 11 - 15 คะแนน
คะแนน 0 - 10 คะแนน

การประเมนิ ผลงาน ประเมินโดย .............................................ครผู สู้ อน
(นางมง่ิ ขวญั โพระดก)
ประเมนิ โดยกลมุ่ ที.่ ................... เพอื่ นประเมนิ เพอ่ื น
.................................................................................

23

แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

การประเมิน

1. การ 2. การใช้ 3. การบอก 4.บนั ทกึ ผล 5.ความ

ท่ี ช่อื -สกลุ ดำเนนิ การ ทักษะการคดิ รายละเอยี ด อยา่ ง ปลอดภยั รวม
ตามทว่ี างแผน วิเคราะห์และ ของสิง่ ที่ทำ ตรงไปตรงมา ขณะปฏิบตั ิ
1
2 ทกั ษะการคิด ตามความ กจิ กรรม
3
4 แกป้ ญ� หา เป�นจริง
5
6 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20
7
8 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
9 หมายถึง ระดับดี
10 หมายถงึ ระดบั พอใช้
11 หมายถงึ ระดบั ปรับปรุง
12
13
14
15
เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน 16 - 20 คะแนน
คะแนน 11 - 15 คะแนน
คะแนน 6 - 10 คะแนน
คะแนน 1 - 5 คะแนน

24

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

การประเมิน

ท่ี ชือ่ -สกุล 1.ความ 2. ความ 3.ความ 4.ความ 5.ความ รวม
สามารถ สามารถ สามารถ สามารถ
1 สามารถ ในการคดิ ในการ ในการใช้ ในการใช้
2 ในการ แกป้ ญ� หา ทักษะชวี ิต เทคโนโลยี
3 สอ่ื สาร
4
5 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20
6
7 หมายถึง ระดบั ดีมาก
8 หมายถึง ระดบั ดี
9 หมายถงึ ระดบั พอใช้
10 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
11
12
13
14
15

เกณฑก์ ารประเมนิ
คะแนน 16 - 20 คะแนน
คะแนน 11 - 15 คะแนน
คะแนน 6 - 10 คะแนน
คะแนน 1 - 5 คะแนน

25

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

พฤตกิ รรม / ระดบั คะแนน

ที่ ช่ือ-สกลุ มีความ ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นใน รวม
รบั ผดิ ชอบ การทำงาน
1
2 3213213 21
3
4 หมายถงึ ระดบั ดี
5 หมายถึง ระดับปานกลาง
6 หมายถึง ระดับปรบั ปรงุ
7
8
9
10
11
12
13
14
15

เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน 7 - 9 คะแนน
คะแนน 4 - 6 คะแนน
คะแนน 0 - 3 คะแนน

26

แบบประเมินทักษะชวี ติ ของนักเรยี นจากการเรียนรูโ้ ดยใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์
บูรณาการทกั ษะชีวิต สาหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

พฤตกิ รรมทกั ษะชวี ติ ท่ีคาดหวัง สรปุ ผลการ
ประเมิน

ที่ ช่ือ-สกลุ 1.รู้จัก ัสงเกต ัต้งคาถาม และแสวงหา รวม ผ่าน ไม่
คาตอบ ผา่ น
2.วิเคราะห์ความ ่นาเ ่ืชอถือของ ้ขอ ูมล
่ขาวสารไ ้ดสมเห ุตสมผล
3.ประเ ิมนสถานการ ์ณและนาไป
ประยุกต์ใ ้ชใน ีชวิตประจาวันไ ้ด
4. ีมจินตนาการและ ีมวามสามารถ
ในการ ิคดเ ื่ชอมโยง
5. รู้ ัจกวิพาก ์ษวิจาร ์ณบนพื้นฐานของ
้ขอ ูมลสารสนเทศ ี่ท ูถกต้อง
6.รู้จักวิธีการและ ั้ขนตอนการตัดสินใจ
และแก้ ัปญหา ่ีท ูถกต้อง

321321321321321321

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19

เกณฑ์การประเมนิ หมายถึง ระดบั ดี 27
คะแนน 13 - 18 คะแนน หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน 7 - 12 คะแนน หมายถึง ระดบั ปรับปรงุ
คะแนน 1 - 6 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน

เกณฑ์การ ระดบั คะแนน

ประเมิน 3 2 1

1.รูจ้ กั สงั เกต มที ักษะการสงั เกต และมี มีทกั ษะการสงั เกต และมี มีทักษะการสงั เกต และมี

ตัง้ คาถาม และ แนวทางหาคาตอบโดยการ แนวทางหาคาตอบโดยการ แนวทางหาคาตอบโดยการ

แสวงหาคาตอบ ตั้งคาถามทนี่ าไปสู่คาตอบ ตง้ั คาถามทีน่ าไปส่คู าตอบ ตัง้ คาถามท่ีนาไปสู่คาตอบ

ทเี่ ปน็ แนวทางในการ ทเ่ี ปน็ แนวทางในการ ทเ่ี ป็นแนวทางในการ

แก้ปญั หาในสถานการณ์ แก้ปัญหาในสถานการณ์ แกป้ ญั หาในสถานการณ์

ตา่ งๆ โดยมีพฤตกิ รรมท่ี ตา่ งๆ โดยมพี ฤตกิ รรมท่ี ตา่ งๆ โดยมพี ฤติกรรมท่ี

ปฏบิ ัติชดั เจนและสมา่ เสมอ ปฏบิ ัติชัดเจนบอ่ ยครง้ั ปฏิบตั ิบางครัง้

2.วิเคราะหค์ วาม วิเคราะห์จาแนกแยกแยะ วิเคราะห์จาแนกแยกแยะ วเิ คราะหจ์ าแนกแยกแยะ

นา่ เชื่อถอื ของ ข้อมลู ข่าวสารและ ขอ้ มลู ขา่ วสารและ ข้อมูลข่าวสารและ

ข้อมลู ข่าวสารได้ สถานการณต์ ่างๆรอบตัว สถานการณ์ต่างๆรอบตัว สถานการณ์ต่างๆรอบตวั

สมเหตุสมผล ด้วยเหตุผลท่ีเชื่อถอื ได้ โดย ดว้ ยเหตุผลที่เช่อื ถอื ได้ โดย ดว้ ยเหตผุ ลทีเ่ ชอ่ื ถือได้ โดย

มีพฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ชิ ัดเจน มีพฤติกรรมท่ีปฏิบตั ชิ ัดเจน มีพฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางครงั้

และสมา่ เสมอ บ่อยคร้ัง

3.ประเมิน คาดคะเนความเสย่ี งจาก คาดคะเนความเส่ยี งจาก คาดคะเนความเสี่ยงจาก

สถานการณ์และ สถานการณ์ท่ีเผชิญใน สถานการณ์ท่ีเผชญิ ใน สถานการณ์ทเี่ ผชญิ ใน

นาไปประยุกต์ใช้ ชวี ิตประจาวันอย่างมเี หตผุ ล ชีวิตประจาวันอย่างมเี หตุผล ชวี ติ ประจาวันอย่างมเี หตผุ ล

ในชวี ิตประจาวนั โดยมีพฤติกรรมที่ปฏบิ ัติ โดยมพี ฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิ โดยมพี ฤติกรรมที่ปฏิบัติ

ได้ ชดั เจนและสม่าเสมอ ชดั เจนบ่อยครงั้ บางคร้งั

4.มีจินตนาการ สรา้ งผลงานและแสดงผล สรา้ งผลงานและแสดงผล สรา้ งผลงานและแสดงผล

และมี งานทเ่ี กิดจากการคิด งานทเี่ กดิ จากการคดิ งานทเ่ี กดิ จากการคดิ

ความสามารถ เช่อื มโยงและจนิ ตนาการ เชื่อมโยงและจนิ ตนาการ เชอ่ื มโยงและจนิ ตนาการ

ในการคดิ โดยมพี ฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิ โดยมพี ฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัติ โดยมพี ฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิ

เช่อื มโยง ชดั เจนและสม่าเสมอ ชดั เจนบ่อยคร้ัง บางครงั้

5.รู้จกั วิพากษ์วจิ ารณ์ตามหลักการ วิพากษว์ ิจารณต์ ามหลักการ วพิ ากษ์วิจารณ์ตามหลักการ

วิพากษ์วิจารณ์ เหตผุ ลและใชข้ อ้ มูล เหตผุ ลและใชข้ ้อมลู เหตุผลและใชข้ อ้ มูล

บนพ้นื ฐานของ สารสนเทศท่ีถูกต้อง สารสนเทศท่ีถูกตอ้ ง สารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง

ข้อมลู สารสนเทศ สนบั สนุนโดยมพี ฤติกรรมที่ สนับสนุน โดยมพี ฤตกิ รรม สนบั สนนุ โดยมพี ฤติกรรม

ที่ถกู ต้อง ปฏบิ ัติชัดเจนและสมา่ เสมอ ท่ีปฏิบตั ิชดั เจนบ่อยคร้ัง ทปี่ ฏิบัตบิ างครง้ั

6.ร้จู ักวธิ ีการ วเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหา วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

และข้นั ตอน เลอื กแก้ไขปัญหาไดห้ ลายวิธี เลือกแก้ไขปญั หาไดห้ ลายวิธี เลอื กแก้ไขปญั หาได้หลายวิธี

การตัดสนิ ใจและ และตัดสนิ ใจเลือกแกป้ ญั หา และตดั สินใจเลอื กแก้ปญั หา และตดั สนิ ใจเลอื กแกป้ ัญหา

แกป้ ัญหา ดว้ ยวธิ กี ารทถี่ ูกต้อง ด้วยวิธกี ารที่ถกู ต้อง ดว้ ยวิธกี ารทถี่ ูกต้อง

ที่ถกู ต้อง เหมาะสมและสร้างสรรค์ เหมาะสมและสรา้ งสรรค์ เหมาะสมและสร้างสรรค์

โดยมีพฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติ โดยมพี ฤติกรรมทป่ี ฏิบัติ โดยมพี ฤติกรรมทีป่ ฏิบัติ

ชัดเจนและสมา่ เสมอ ชดั เจนบ่อยคร้งั บางครัง้

28

พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตท่คี าดหวงั ตวั ชี้วดั
1.รูจ้ ักสงั เกต ตง้ั คาถาม และแสวงหาคาตอบ
1.1 ตั้งคาถามทีน่ าไปสู่คาตอบทเี่ ปน็ แนวทางในการ
2.วเิ คราะหค์ วามน่าเช่ือถือของขอ้ มลู ข่าวสาร แก้ปญั หาในสถานการณ์ต่างๆ
ไดส้ มเหตุสมผล
3.ประเมินสถานการณแ์ ละนาไปประยุกต์ใช้ 1.2 มีทักษะการสงั เกต และมีแนวทางหาคาตอบ
ในชวี ิตประจาวนั ได้
4.มจี ินตนาการและมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์จาแนกแยกแยะขอ้ มูลขา่ วสารและ
เช่ือมโยง สถานการณต์ ่างๆรอบตัวด้วยเหตุผลทเี่ ชอื่ ถือได้
5.รจู้ ักวิพากษว์ ิจารณ์บนพนื้ ฐานของข้อมูล
สารสนเทศทีถ่ ูกต้อง คาดคะเนความเสีย่ งจากสถานการณท์ เี่ ผชิญใน
6.รจู้ ักวธิ ีการและขน้ั ตอนการตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หา ชีวิตประจาวันอยา่ งมเี หตผุ ล
ทถี่ กู ต้อง
สรา้ งผลงานและแสดงผลงานทเี่ กิดจากการคิด
เชอื่ มโยงและจินตนาการ

วพิ ากษ์วิจารณ์ตามหลักการเหตผุ ลและใช้ข้อมูล
สารสนเทศท่ีถูกต้องสนบั สนุน

วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา เลือกแกไ้ ขปัญหาได้
หลายวธิ ีและตดั สินใจเลอื กแก้ปัญหาด้วยวธิ ีการท่ี
ถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์

29

บรรณานกุ รม

สวุ ัฒน์ อศั วไชยชาญและคณะ. บวั ไทย. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพป์ ลาตะเพียน, 2553.
กระทรวงศกึ ษาธิการ. แนวทางการพัฒนาทกั ษะชวี ิต บรู ณาการการเรียนการสอน 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560.
วรี ประวตั ิ ตรสี วุ รรณ, ภวพล ศุภนนั ทนานนท์. บวั (Waterlilies & Lotuses). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์
พร้ินตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชิง่ จำกัด, 2561.

30


Click to View FlipBook Version