The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

91_ท่าอากาศยานรอบที่เเก้เเล้ว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lena212724, 2022-03-07 15:13:58

91_ท่าอากาศยานรอบที่เเก้เเล้ว

91_ท่าอากาศยานรอบที่เเก้เเล้ว

ธุรกจิ ทา่ อากาศยาน

อรรญดา วงษ์มาน กลมุ่ 4 116410104025-4
จลุ ฐิฏา กอเกยี รติไพศาล กลุ่ม 4 116410104029-6
ศิริลกั ษณ์ กระดาษทอง กลมุ่ 4 116410104054-4

รายงานน้ีเป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาวชิ า สารนิเทศและการเขียนรายงานทางวชิ าการ
สาขาอตุ สาหกรรมการบรกิ ารการบนิ คณะศิลปะศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564



ธุรกจิ ทา่ อากาศยาน

อรรญดา วงษ์มาน กลมุ่ 4 116410104025-4
จลุ ฐิฏา กอเกยี รติไพศาล กลุ่ม 4 116410104029-6
ศิริลกั ษณ์ กระดาษทอง กลมุ่ 4 116410104054-4

รายงานน้ีเป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาวชิ า สารนิเทศและการเขียนรายงานทางวชิ าการ
สาขาอตุ สาหกรรมการบรกิ ารการบิน คณะศลิ ปะศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564


คำนำ

รายงานฉบบั น้จี ดั ทำข้ึนเพ่อื ปฏิบตั กิ ารเขยี นรายงานการค้นคว้าที่ถูกต้องอย่างเปน็ ระบบ
อันเปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษารายวชิ า 01-200-001 สารริเทศและการเขียนรายงานทางวชิ าการ
ซงึ่ จะนำไปใชใ้ นการทำรายงานคน้ คว้ารายวชิ าอนื่ ต่อไป การทีค่ ณะผู้จัดทำเลอื กทำเรอื่ ง “ธุรกจิ ทา่
อากาศยาน” ซง่ึ เป็นเนือ้ หาที่อธบิ ายใหเ้ ข้าใจถึงธรุ กิจทา่ อากาศยาน ซ่งึ มีความสอดคลอ้ งกบั
วชิ าการบิน โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหผ้ อู้ ่านไดเ้ ขา้ ใจเกยี่ วกับธรุ กิจท่าอกาศยานได้ถูกตอ้ ง และ
ผูอ้ ่านสามารถนำเอาความรู้น้ีไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์แกต่ นเองและผอู้ ่นื ไดอ้ กี ดว้ ย ดังนั้นจงึ มคี วาม
จำเป็นอยา่ งมากทจ่ี ะตอ้ งนำเสนอความรคู้ วามเขา้ ใจทถ่ี ูกต้องเกยี่ วกับธรุ กจิ ท่าอากาศยาน

รายงานเล่มนก้ี ล่าวถึงเนอื้ หาเกี่ยวกับเนือ้ หาของท่าอากาศยาน ซ่งึ มที ้งั ความหมาย ประวัติ
ความเปน็ มาของทา่ อากาศยาน องคป์ ระกอบของท่าอากาศยาน และอ่ืนๆ โดยรายงานเล่มน้ี
เหมาะสำหรบั ผ้ทู ต่ี ้องการรบั รคู้ วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั ธรุ กจิ ท่าอากาศยานที่ถกู ตอ้ ง

ขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สมประจบ ที่กรุณาใหค้ วามรแู้ ละคำแนะนำโดย
ตลอด และขอขอบคณุ เจา้ ของเว็บไซตท์ ใ่ี หค้ วามสะดวกในการค้นหาขอ้ มูล ที่ผเู้ ขยี นใช้อา้ งอิงทกุ
ท่าน หากมขี ้อบกพรอ่ งประการใด ผเู้ ขยี นขอนอ้ มรบั ไวเ้ พอื่ ปรบั ปรงุ ตอ่ ไป

อรรญดา วงษม์ าน
จุลฐฏิ า กอเกยี รตไิ พศาล
ศริ ลิ ักษณ์ กระดาษทอง

2 มนี าคม 2565



สารบัญ

หน้า

คำนำ............................................................................................................................................... ก

สารบญั ภาพประกอบ...................................................................................................................... จ

บทท่ี

1 บทนำ............................................................................................................................. 1

1.1 ความหมายของท่าอากาศยาน……………………………………………………………...…... 1
1.1.1 ความหมายของท่าอากาศยานตามกรมการบินพลเรอื น…………..…………... 1
1.1.2 ความหมายของท่าอากาศยานตามพระราชบัญญัติศุลกากร…….......….….. 2
1.1.3 ความหมายของท่าอากาศยานตามพระราชบัญญตั ิการเดินอากาศ….…….. 2
1.1.4 ความหมายของทา่ อากาศยานตามอนุสัญญาการบินพลเรอื นระหวา่ งประเทศ 2

1.2 ความเปน็ มา......................................................................................................... 3
1.3 วิวฒั นาการของท่าอากาศยาน……………………………………………………………......... 4
2 ประเภทและวตั ถปุ ระสงคข์ องทา่ อากาศยาน………………………………....…………………….. 5

2.1 ประเภทท่าอากาศยาน......................................................................................... 5

2.2.1 ท่าอากาศยานระหวา่ งประเทศ………………………………………………………… 5

2.2.2 ท่าอากาศยานภายในประเทศ................................................................... 5

2.2.2.1 ภาคเหนอื .................................................................................... 6



สารบญั (ต่อ) 6

2.2.2.2 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ……………………………………………….......... 6

2.2.2.3 ภาคใต้............................................................................................ 6
7
2.2 วัตถุประสงค์ของทา่ อากาศยาน..............................................................................
3 องค์ประกอบของท่าอากาศยาน....................................................................................... 7

3.1 เขตการบนิ ............................................................................................................. 7

3.3.1 ทางวิง่ (Runway)....................................................................................... 7

3.3.1.1 ไฟขอบทางวง่ิ (Runway Edge Lights)....................................... 7

3.3.1.2 ไฟบอกจุดเร่ิมตน้ ของทางวิง่ (Threshold Lights)....................... 7

3.3.1.3 ไฟบอกจดุ สน้ิ สดุ ของทางวิ่ง (Runway End Light)...................... 7

3.3.1.4 ไฟนำร่องเข้าสู่สนามบิน (Approach Light Beacons)................ 8

3.3.2 ทางขับ (Taxiway)...................................................................................... 8
8
3.3.3 ลานจอดอากาศยาน (Apron)..................................................................... 8
3.3.3.1 Frontal System.......................................................................... 8
3.3.3.2 Open Apron System................................................................ 8
3.3.3.3 Finger System............................................................................ 9
3.3.3.4 Satellite System........................................................................ 9

3.2 เขตนอกการบิน...................................................................................................... 9
3.2.1 Simple Concept......................................................................................

3.2.2 Transporter Concept.............................................................................



สารบญั (ต่อ)

3.2.3 Lincar Concept............................................................................................ 9
3.2.4 Finger Concept............................................................................................ 9
3.2.5 Satellite........................................................................................................ 9
3.2.6 Hybrid Concept.......................................................................................... 9
4 องค์กรที่เก่ียวขอ้ งกับทา่ อากาศยาน.................................................................................... 10

4.1 องคก์ รภายในประเทศ.............................................................................................. 10

4.1.1 กระทรวงคมนาคม......................................................................................... 10

4.1.2 คณะกรรมการการบนิ พลเรอื น...................................................................... 10

4.1.3 กรมการบินพาณชิ ย์ เปน็ ส่วนราชการ........................................................... 11

4.1.4 การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย.............................................................. 11

4.1.5 บริษทั วทิ ยุการบนิ แห่งประเทศไทย จำกดั .................................................... 12

4.1.6 บรษิ ัทการบนิ ไทย จำกัด (มหาชน)............................................................... 12

4.2 องค์กรระหว่างประเทศ........................................................................................... 12

4.2.1 องคก์ ารการบนิ พลเรือนระหว่างประเทศ..................................................... 12

4.2.2 สมาคมทา่ อากาศยานระหว่างประเทศแหง่ อาเซยี น..................................... 13

4.2.3 สภาสมาคมทา่ อากาศยานระหว่างประเทศ.................................................. 13

4.2.4 สมาคมผู้ประกอบการขนส่งทางอากาศระหวา่ งประเทศ.............................. 13

5 สรุป................................................................................................................................... 15

บรรณานุกรม...................................................................................................................................... 16



สารบญั ภาพประกอบ

ภาพท่ี หนา้
1 บรษิ ัท การทา่ อากาศยานไทย จำกัด(มหาชน)............................................................................. 3
2 ลำดบั วิวัฒนาการของทา่ อากาศยาน......................................................................... 4
3 ไฟทางวิง่ ตา่ งๆบนทางวง่ิ .................................................................................................... 7
4 ไฟบอกทางขับ (Taxi Edge Lights)................................................................................... 8
5 ส่วนประกอบของท่าอากาศยานหลัก......................................................................... 8
6 รปู แบบของอาคารผูโ้ ดยสารท้ัง 6 แบบ..................................................................... 9
7 กระทรวงคมนาคม................................................................................................. 10
8 คณะกรรมการการบินพลเรอื น................................................................................. 11
9 การทา่ อากาศยานแห่งประเทศไทย.................................................................................... 11
10 องคก์ ารการบนิ พลเรือนระหวา่ งประเทศ................................................................. 12
11 สภาสมาคมทา่ อากาศยานระหว่างประเทศ.............................................................. 13
12 สมาคมผู้ประกอบการขนส่งทางอากาศระหวา่ งประเทศ............................................ 14

1

บทที่ 1
บทนำ

ทา่ อากาศยาน หรือ สนามบนิ คือ สถานทีส่ ำหรบั จอดอากาศยาน เพื่อขนส่งผ้โู ดยสาร ขนสง่
สินคา้ ซอ่ มแซม บำรงุ รักษา และแวะพกั โดยทา่ อากาศยาน แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทหลกั ๆ คอื ทา่
อากาศยานพาณิชย์ และท่าอากาศยานทางการทหาร ซ่งึ ทา่ อากาศยานเป็นส่วนหน่งึ หรือเป็นองค์ประกอบ
ของอตุ สาหกรรมการบิน ซง่ึ อตุ สาหกรรมการบินประกอบดว้ ยธุรกิจทสี่ ำคญั ดังนี้ (วิกพิ เี ดยี สารานุกรม
เสรี,2564:ออนไลน)์

อตุ สาหกรรมการบิน

ธรุ กิจสายการบิน ธุรกจิ เครือ่ งบิน ธุรกจิ ทา่ อากาศยาน ธุรกจิ บรกิ าร หนว่ ยงานท่ี
เครอ่ื งชว่ ยใน เก่ยี วข้องกบั
การเดนิ อากาศ อุตสาหกรรม
การบิน

1.1 ความหมายของทา่ อากาศยาน
1.1.1 ความหมายของทา่ อากาศยานตามกรมการบนิ พลเรือน หมายถึง สถานทบ่ี นพนื้ ดิน หรอื บน

พ้ืนนำ้ ที่ใชเ้ ปน็ ทข่ี ึ้นและลงของเครอ่ื งบนิ เพอื่ รบั สง่ ผโู้ ดยสาร สมั ภาระสินค้า ไปรษณียภณั ฑ์ ฯลฯ และใน
ท่าอากาศยาน จะมีอาคาร และอปุ กรณอ์ ำนวยความสะดวก ท่จี ะให้บริการแก่เครื่องบิน ผโู้ ดยสาร การ
ขนส่งสัมภาระ ไปรษณียภัณฑ์ หรอื อาจกล่าวได้อีกคำนยิ ามหน่งึ ว่า ท่าอากาศยาน คือ สถานที่ ซ่งึ เปน็ จุด
เช่อื มตอ่ ระหวา่ งการขนส่งทางอากาศ และภาคพืน้ ดิน คนทว่ั ไปมักเรยี กท่าอากาศยานวา่ สนามบนิ ซ่ึงคำ
ทง้ั สองคำนี้ มีความหมายเหมอื นกัน ตา่ งกันที่คำว่า "ท่าอากาศยาน"ได้มกี ารระบใุ ช้ในพระราชบญั ญัติ
ศุลกากร ฉบบั ที่ ๘ พ.ศ.๒๔๘๐ ส่วนคำว่า "สนามบิน" เปน็ คำที่กำหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั กิ าร

2

เดินอากาศ สำหรบั ภาษาองั กฤษที่ใช้เรยี กท่าอากาศยาน โดยทวั่ ไปใชค้ ำวา่ AIRPORT แตท่ างด้านวิชาการ
ของการขนสง่ ทางอากาศ จะใช้คำวา่

AERODROME เนอ่ื งจากประเทศไทยมีสภาพที่ต้งั ทางภูมศิ าสตร์ทเ่ี หมาะสมในการเปน็ ชุม
ทางการบิน ประกอบกบั มสี ถานทที่ ่องเท่ยี ว ที่สวยงาม เปน็ ทีน่ ยิ มของคนทวั่ โลก นอกจากนยี้ งั เป็น
ประเทศ ทมี่ ีนโยบายเศรษฐกิจเสรี

ทำใหม้ ีผูม้ าลงทุนทำกจิ การตา่ งๆ หลายดา้ น ท่าอากาศยาน จงึ เปน็ สถานท่ี ทมี่ บี ทบาทสำคัญ เพราะทา่
อากาศยานจะทำหนา้ ทีเ่ สมอื นเป็นสะพานเชือ่ มระหวา่ งประเทศ เพอ่ื การแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกจิ
วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ดังนนั้ ในปจั จบุ นั จึงมที า่ อากาศยาน ซ่ึงใช้สนับสนุนกจิ การพาณิชย์อยทู่ ุกภาค
ของประเทศไทย ซงึ่ ท่าอากาศยานแต่ละแห่ง จะมคี วามสำคญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ เศรษฐกิจในภูมิภาค หรอื ใน
จงั หวดั ทที่ ่าอากาศยานน้ันๆ ต้ังอยู่ (กรมการบนิ พลเรอื น,2553:ออนไลน์)

1.1.2 ความหมายของทา่ อากาศยานตามพระราชบญั ญัติศุลกากร ท่าอากาศยาน หมายถงึ
สถานทบ่ี นพ้ืนดนิ หรือบนพ้ืนน้ำทใ่ี ชเ้ ป็นท่ีขน้ึ ลงของอากาศยานเพอื่ รับสง่ ผ้โู ดยสาร สมั ภาระ สินค้า และ
ไปรษณยี ภัณฑ์ ซึ่งในทา่ อากาศยานจะมีอาคารและอปุ กรณ์อำนวยความสะดวกทจ่ี ะใหบ้ รกิ ารแกเ่ ครื่องบิน
ผูโ้ ดยสาร (พระราชบัญญตั ิศุลกากร,2560:ออนไลน)์

1.1.3 ความหมายของทา่ อากาศยานตามพระราชบญั ญัติการเดนิ อากาศ พ.ศ. 2497 ทา่ อากาศ
ยาน หมายถงึ พ้นื ทท่ี ี่กำหนดไวใ้ นพื้นดินหรอื นำ้ สำหรบั ใช้ทงั้ หมดหรือแคเ่ พียง บางส่วนเพอ่ื การข้นึ ลงหรอื
เคล่อื นไหวของอากาศยาน รวมตลอดถงึ อาคาร สง่ิ ติดตง้ั และ บริภณั ฑ์ซ่งึ อย่ภู ายในสนามบินนนั้
(พระราชบญั ญตั ิการเดนิ อากาศ,2497:ออนไลน์)

1.1.4 ความหมายของท่าอากาศยานตามอนสุ ญั ญาการบินพลเรอื นระหวา่ งประเทศ ทา่ อากาศ
ยาน หมายถงึ พ้ืนทท่ี ี่อยบู่ นผวิ ดินและผิวน้ำ รวมตลอดถึงอาคารสงิ่ ติดต้งั และอุปกรณ์ สำหรับใช้ส่วนใด
ส่วนหน่งึ หรอื ทัง้ หมด เพ่ือการข้ึนลงของเครื่องบิน (อนสุ ญั ญาการบนิ พลเรือนระหวา่ งประเทศ,2552:
ออนไลน)์

3

1.2 ความเป็นมา
การบนิ ของประเทศไทยเรม่ิ ต้นเม่ือปี 2454 โดยระหว่างวนั ท่ี 2-8 กุมภาพนั ธ์ 2454 นกั บินชาว

เบลเยยี่ มช่อื ฟนั เดน บอรน์ (Van den Born) ได้นำเครอ่ื งบนิ ออร์วลิ ล์ ไรท์ (Orville Wright) มาบิน
แสดงเป็นครง้ั แรกในประเทศไทยท่สี นามมา้ ราชกรฑี าสโมสร ปทมุ วนั

หลังจากนัน้ ประเทศไทยกไ็ ด้มพี ัฒนาการด้านการบิน เช่น การสง่ นายทหารไปศึกษาดา้ นการบิน
ณ ประเทศฝรง่ั เศส ในปี 2454 การสั่งเคร่อื งบนิ ชุดแรกของประเทศไทย ในปี 2456 ทง้ั นี้ กจิ การด้านการ
บนิ ในระยะแรกอยูใ่ นความรับผดิ ชอบของกรมจเรการช่างทหารบก โดยใชส้ นามม้าราชกรฑี าสโมสร เป็น
ส่วนหน่งึ ของสนามบิน และเรียกชื่อว่า สนามบนิ สระปทุม อยา่ งไรก็ตามเนอ่ื งจากในระยะต่อมา สนามบนิ
สระปทุมคับแคบ มที ต่ี ั้งไมเ่ หมาะสม จงึ มกี ารเลอื กพน้ื ท่สี นามบินใหม่ ซ่ึงในท่สี ุดได้เลือกพน้ื ท่ี "ดอนเมือง”
และจึงเป็นสนามบินดอนเมอื ง โดยมีเครอ่ื งบินลงปฐมฤกษ์ เมอ่ื วันที่ 8 มีนาคม 2457 ซึ่งเมื่อวันที่ 27
มีนาคม 2457 ไดม้ กี ารตง้ั กรมการบนิ ทหารบกมาดแู ล ซ่ึงรากฐานมนั่ คงของกจิ การการบนิ ของไทย ได้
เรมิ่ ต้น ณ ทน่ี ่ี
(สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน)์

ภาพท่ี 1 บริษัท การท่าอากาศยานไทย จำกดั (มหาชน) (กรมการบนิ พลเรือน,2553:ออนไลน์)

4

1.3 วิวัฒนาการของทา่ อากาศยาน
การสร้างทา่ อากาศยานไมว่ า่ จะเปน็ ในอดีต หรือปจั จุบัน มีปัจจัยหลักคอื ตอ้ งมีอุปสงค์ และ

อปุ ทาน กล่าวคือ ความต้องการของการขนสง่ ทางอากาศ ไมว่ า่ จะเป็นความตอ้ งการทางดา้ นเศรษฐกจิ
หรือทางด้านสงั คม และการเมอื ง เป็นตัวกำหนดที่สำคญั ในการสร้างทา่ อากาศยาน และการจดั
องคป์ ระกอบต่างๆ สำหรับทา่ อากาศยานทกุ แห่ง วิวัฒนาการของท่าอากาศยานจากอดีตถงึ ปจั จุบนั
สามารถจัดลำดับข้ันตอนทีส่ ำคญั โดยสรปุ ได้ดงั น้ี
ข้ันท่ี 1 เรมิ่ จากการมีองคป์ ระกอบ 2 ส่ิง ที่สมั พนั ธ์กนั คอื มีเครอื่ งบนิ และพื้นที่ สำหรบั ใหเ้ คร่อื งบินขนึ้
ลง
ขน้ั ที่ 2 เร่ิมมผี ู้โดยสารเครอ่ื งบนิ เข้ามาเกี่ยวขอ้ งดว้ ย
ข้นั ท่ี 3 เมอื่ มผี โู้ ดยสาร ก็เรม่ิ มสี ิ่งปลูกสร้าง เพ่อื ใช้เปน็ สำนกั งาน และทีพ่ กั รอของผูโ้ ดยสาร
ข้นั ท่ี 4 ส่ิงปลกู สร้าง ซง่ึ เป็นสำนักงานในขน้ั ที่ 3 ส่วนหนึง่ พฒั นาเป็นหอบังคบั การบนิ เพอ่ื ทำหน้าท่ใี ห้
ขอ้ มลู สำหรับการขึ้นลงของเคร่อื งบิน
ขั้นที่ 5 เม่อื กจิ การตา่ งๆ ขยายตัวมากขนึ้ มคี นต้องการเดินทางโดยเคร่ืองบินข้ึนลงมากขึ้น ดงั นัน้ จึงมกี าร
จัดสถานที่สำหรับจอดเครือ่ งบินหลายๆ เคร่อื ง พน้ื ทด่ี ังกล่าวนเ้ี รียกว่า ลานจอดอากาศยาน
ขนั้ ท่ี 6 เปน็ ขน้ั การพฒั นา เม่ือมผี โู้ ดยสารมาข้ึนเครื่องบินมากขน้ึ จงึ ตอ้ งมกี ารจัดช่องทางเขา้ ออก สำหรับ
ผู้โดยสาร ทจี่ ะขึน้ เครอื่ งบิน เรยี กวา่ ทางออกขึน้ เครื่องบิน และทางเข้าจากเคร่อื งบนิ (สารานุกรมไทย
สำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน์)

ภาพท่ี 2 ลำดบั ววิ ฒั นาการของท่าอากาศยาน (สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน)์

5

บทที่ 2

ประเภทและวัตถปุ ระสงค์ของทา่ อากาศยาน

2.1 ประเภทของทา่ อากาศยาน

การจำแนกประเภทของทา่ อากาศยาน อาจจำแนกได้หลายกรณีด้วยกัน เช่น จำแนกตามชนิดของ
อากาศยานทมี่ าขนึ้ ลง เช่น ทา่ อากาศยาน ท่ใี ชส้ ำหรับเปน็ ท่ีขึ้นลงของเฮลิคอปเตอร์ เรียกวา่ สนามบิน
เฮลคิ อปเตอร์ (heliport) หรอื จำแนกตามการดำเนนิ งาน ทา่ อากาศยานบางแหง่ ใชใ้ นกจิ การพาณิชย์ บาง
แห่งใช้ในกจิ การทหาร หรอื บางแห่งเปน็ ทา่ อากาศยาน สำหรับเครอื่ งบินสว่ นบุคคล นอกจากนน้ั ยงั มีการ
จำแนกตามบทบาทหรอื การใหบ้ ริการของทา่ อากาศยานได้แก่ ทา่ อากาศยานระหวา่ งประเทศ
(international airport) และท่าอากาศยานภายในประเทศ (domestic airport)

2.2.1 ท่าอากาศยานระหว่างประเทศ คือ ทา่ อากาศยานที่อนญุ าตให้เป็นจุดเขา้ ออกของ
การขนส่งทางอากาศระหวา่ งประเทศ หรือเป็นทา่ อากาศยาน สำหรับเครอ่ื งบินผู้โดยสาร และสินค้า
ทเี่ ดินทางเขา้ หรอื ออกระหวา่ งประเทศ สง่ิ สำคญั ท่ที า่ อากาศยานระหวา่ งประเทศจะตอ้ งมคี ือ พิธี
การดา้ นศลุ กากร การตรวจคนเข้าเมือง ดา่ นกักกนั โรค ด่านกกั กนั พชื ด่านกักกนั สัตว์ อยใู่ นท่า
อากาศยาน ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีท่าอากาศยานระหว่างประเทศ 7 แหง่ อยูภ่ ายใต้การ
บรหิ ารงานของการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม 4 แหง่ คือ ทา่ อากาศยาน
กรงุ เทพ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ทา่ อากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานภเู กต็ อยภู่ ายใตก้ าร
บรหิ ารงานของกรมการบินพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม 2 แห่ง คอื ทา่ อากาศยานเชียงราย และทา่
อากาศยานอุบลราชธานี ส่วนอีก 1 แห่ง คือ สนามบินอู่ตะเภา กองทพั เรือ เปน็ ผบู้ ริหารงาน

2.2.2 ทา่ อากาศยานภายในประเทศ คือ ทา่ อากาศยาน ทอ่ี นญุ าตใหเ้ ปน็ จดุ เขา้ ออกของ
การจราจรทางอากาศ ภายในประเทศ หรือเป็นทา่ อากาศยาน สำหรบั เครอ่ื งบนิ ผู้โดยสาร สนิ ค้าท่เี ดนิ ทาง
ภายในประเทศเทา่ นัน้ จึงมีขนาดเลก็ กวา่ ทา่ อากาศยานระหว่างประเทศ ปจั จุบนั ประเทศไทย มที ่า
อากาศยานภายในประเทศ ทใ่ี ช้ในกิจการพาณิชย์ 21 แห่ง อยูภ่ ายใตก้ ารบริหารงานของกรมการบนิ

6

พาณชิ ย์ กระทรวงคมนาคม ทา่ อากาศยานภายในประเทศเหลา่ นี้ จะตัง้ อยูใ่ นภาคตา่ งๆ ของประเทศ
ไทย ซ่ึงเป็นการกระจายความเจรญิ สู่ภูมภิ าค คือ

2.2.2.1 ภาคเหนือ มีท่าอากาศยานพษิ ณโุ ลก ท่าอากาศยานลำปาง ท่าอากาศยานน่าน ทา่
อากาศยานแพร่ ทา่ อากาศยานแมฮ่ อ่ งสอน ท่าอากาศยานแม่สอด ท่าอากาศยานตาก

2.2.2.2 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มที า่ อากาศยานอุดรธานี ทา่ อากาศยานขอนแกน่ ทา่ อากาศ
ยานสกลนคร ท่าอากาศยานเลย ทา่ อากาศยานนครพนม ทา่ อากาศยานบุรรี มั ย์ ทา่ อากาศยาน
นครราชสีมา

2.2.2.3 ภาคใต้ มีท่าอากาศยานหัวหนิ ทา่ อากาศยานนครศรธี รรมราช ทา่ อากาศยานปตั ตานี ทา่
อากาศยานตรัง ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี ทา่ อากาศยานนราธวิ าส และทา่ อากาศยานระนอง
(สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน์)

2.2 วตั ถุประสงค์ของทา่ อากาศยาน
1.ดำเนนิ งานและควบคมุ กิจการทา่ อากาศยานให้สอดคลอ้ งและทนั ตอ่ วิวัฒนาการ ขององคก์ าร

การบนิ พลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO)
2.ปรับปรุงและพฒั นาท่าอากาศยานตลอดจนการบรกิ ารต่างๆให้เพยี งพอกบั จำนวน ของ

ผูโ้ ดยสารสินค้าทางอากาศและไปรษณยี ภณั ฑท์ างอากาศ
3.วางมาตรการด้านการรกั ษาความปลอดภัยให้มรประสทิ ธิภาพมากทีส่ ดุ ดว้ ยการ กำหนด

มาตรการ
ด้านความปลอดภัยตามมาตรฐานขององค์การการบนิ พบเรอื น ระหวา่ งประเทศ

4. ดำเนนิ การทุกวธิ ที างให้รฐั มรี ายไดเ้ ข้าประเทศมากทสี่ ดุ แต่เสียค่าใชจ้ า่ ยนอ้ ยทีส่ ุด
5.ทําการสง่ เสรมิ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้เปน็ ไปตามนโยบายของรฐั บาล (สารานกุ รมไทย
สำหรับเยาวชนฯ,2540:ออนไลน์)

บทที่ 3

7

องค์ประกอบของท่าอากาศยาน

3.1 เขตการบนิ
เขตการบิน (Airside) หมายถงึ พน้ื ที่ภายในสนามบินใชส้ ำหรับการข้ึนลงและ ขับเคล่ือน รวมถึง

พืน้ ทีบ่ รเิ วณใกล้เคียง ตลอดถึงอาคารหรือส่วนของอาคารทอ่ี อกไปสู่พืน้ ท่นี ้ัน โดยมกี ารควบคมุ เข้าออก
ประกอบดว้ ย (สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน์)

3.3.1 ทางว่งิ (Runway) หมายถงึ พื้นท่สี นามบินท่ีจัดเตรยี มไวส้ ำหรับการขึ้นลง - ของเคร่อื งบิน
โดยเฉพาะ ทส่ี ำคญั ตอ้ งมีผิวเรียบและมคี วามลาดเอียงเหมาะสมกบั การใหเ้ คร่ืองบนิ ขึน้ ลงได้อยา่ งสะดวก
และปลอดภยั ความยาว ของทางว่ิงน้ันขนึ้ อยกู่ ับสภาพทางภมู ิศาสตร์ของท่าอากาศยานและความต้องการ
ใชท้ างวงิ่ ของเคร่ืองบนิ แต่ละแบบ สำหรบั จำนวนของทางว่ิงนัน้ ขึ้นอย่กู บั พ้ืนที่ ทิศทางลมและปริมาณ
การจราจรทางอากาศ ท่าอากาศยาน ใหญ่มกั มีทางว่ิงมากกว่าหน่งึ ทางวิ่ง รวมทัง้ ไฟส่องทางว่ิงดังตอ่ ไปนี้

3.3.1.1 ไฟขอบทางว่งิ (Runway Edge Lights) เป็นไฟสขี าวมองเห็นได้ ทกุ ทิศทาง
3.3.1.2 ไฟบอกจุดเรม่ิ ต้นของทางว่ิง (Threshold Lights) เป็นไฟสเี ขียว มองเห็นไดท้ กุ ทศิ ทาง
3.3.1.3 ไฟบอกจุดสน้ิ สุดของทางวิ่ง (Runway End Light) เปน็ ไฟสีแดง
3.3.1.4 ไฟนำร่องเข้าสสู่ นามบิน (Approach Light Beacons)

ภาพที่ 3 ไฟทางว่งิ ตา่ งๆบนทางว่งิ (สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน์)

8

3.3.2 ทางขับ (Taxiway) หมายถงึ พน้ื ทบี่ นสนามบนิ ทจี่ ดั เตรยี มไว้สำหรบั ให้ เครื่องบิน
ขับเคลือ่ นระหว่างลานจอดอากาศยานกบั ทางวงิ่ มไี ฟสนี ้ำเงิน สามารถมองเหน็ ไดท้ กุ ทศิ ทางเรยี กวา่ ไฟ
ขอบทางขับ (Taxi Edge Lights)

ภาพท่ี 4 ไฟบอกทางขับ (Taxi Edge Lights) (สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ,2540:ออนไลน)์

3.3.3 ลานจอดอากาศยาน (Apron) หมายถึง พ้ืนทที่ จี่ ัดไว้สำหรบั เป็น ทีจ่ อดเครอ่ื งบนิ ซ่งึ ต้องมี
ความกวา้ งและมขี นาดพอใหเ้ ครื่องบินจอด และเข้าออกไดอ้ ยา่ งปลอดภัย ลานจอดอากาศยานอาจอยชู่ ิด
กบั ตัวอาการผ้โู ดยสารหรอื อยู่หา่ งออกไปจากตวั อาคารผูโ้ ดยสารกไ็ ด้ ถา้ ลานจอดอากาศยานทอ่ี ยู่ชดิ กบั ตวั
อาคารจะมีอุปกรณ์ทเี่ รียกวา่ สะพานเทียบเครอื่ งบนิ ย่ืนออกไปจากอาคารผโู้ ดยสาร ส่วนลานอากาศยานท่ี
อยูห่ ่างจากตวั อาคารผู้โดยสารจะต้องมีระบบขนส่งผู้โดยสารระหวา่ งตวั อาคารและเครอื่ งบนิ วธิ ีการจอด
อากาศยาน
มีอยูห่ ลายแบบ แต่ทนี่ ิยมมี 4 ระบบ ดงั นี้

3.3.3.1 Frontal System เป็นการจอดโดยเรยี งเปน็ แถวเดยี ว
3.3.3.2 Open Apron System จอดเหมือน Frontal System แต่ซอ้ นกนั หลายแถว
3.3.3.3 Finger System เปน็ การจอดอากาศยานตามรปู ต่างๆ ซง่ึ นิยมอยู่ 3 ประเภท คือ
Straight, Y-Shape,และ T-Shape
3.3.3.4 Satellite System เปน็ การจอดอากาศยานเป็นกลุ่มบริวารเล็กๆ

ภาพที่ 5 ส่วนประกอบของทา่ อากาศยานหลกั (วกิ พิ ีเดยี สารานกุ รมเสรี,2564:ออนไลน์)

9

3.2 เขตนอกการบิน
คือ พน้ื ท่ี และอาคาร ภายในท่าอากาศยาน หรอื สนามบิน ทไ่ี มไ่ ดอ้ ยู่ในเขตการบิน ซ่ึงเป็นบรเิ วณ

ท่ผี ู้ที่มิได้เดนิ ทางสามารถเขา้ ออกได้ โดยไมม่ ีการควบคมุ องคป์ ระกอบสำคัญในเขตน้ี ไดแ้ ก่ อาคาร
ผโู้ ดยสาร อาคารคลังสินค้า ระบบการจราจรภายในทา่ อากาศยาน ซ่งึ รวมทั้งทีจ่ อดรถ เปน็ ต้น
องคป์ ระกอบเหลา่ น้ี สามารถมองเหน็ ได้อย่างชัดเจน จากภายนอกทา่ อากาศยาน เช่น ถ้าหากเราอยบู่ น
ถนนวิภาวดรี งั สิตช่วงดอนเมือง กจ็ ะเหน็ อาคารผู้โดยสาร ท่าอากาศยานกรุงเทพ ถนนภายในท่าอากาศ
ยาน ลานจอดรถยนต์ แตจ่ ะไม่สามารถเห็นองคป์ ระกอบของเขตการบิน โดยมีองค์ประกอบดงั นี้

3.2.1 Simple Concept เป็นรปู แบบอาคารผโู้ ดยสารขนาดเล็ก ซึง่ มผี ้โู ดยสารจำนวนไมม่ าก
3.2.2 Transporter Concept เปน็ รูปแบบอาตารผูโ้ ดยสารทีจ่ ัดใหเ้ ครือ่ งบนิ จอดทีล่ าAอด
อากาศยานซ่ึงอยู่ห่างจากอาคารผู้โดยสาร และตอ้ งใชร้ ถขนส่งผโู้ ดยสารไปขนึ้ เครื่อง
3.2.3 Lincar Concept รูปแบบอาคารแบบน้จี ะให้เคร่อื งบนิ จอดประชดิ ติดตวั อาคารผโู้ ดยสาร
เป็นแนวเรยี งกันไปและมสี ะพานเทียบเครื่องบินให้บริการ
3.2.4 Finger Concept เป็นรูปแบบอาคารผู้โดยสารทอี่ อกแบบในลกั ษณะทม่ี รี ูปแบบคลา้ ขน้ิว
มอื ย่ืนไปในเขตการบิน
3.2.5 Satellite Concept มอี าคารเทียบเคร่ืองบินอยูใ่ นเขตการบนิ โดยเอกเทศและเครื่องบิน
จอดอยู่รอบๆอาคาร

3.2.6 Hybrid Concept เป็นรูปแบบอาคารผู้โดยสารท่ีนำแนวคิดทกุ ๆแนวมาผสมกันตาม
ลักษณะความจำเปน็ ของทา่ อากาศยานแตล่ ะแหง่ (สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ,2540:ออนไลน์ภาพที่

6 รปู แบบของอาคารผูโ้ ดยสารทงั้ 6 แบบ (สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ, 2540 : ออนไลน์

บทที่ 4
องคก์ รทเ่ี กี่ยวข้องกบั ทา่ อากาศยาน

10

กิจการของทา่ อากาศยานเปน็ กจิ การทีเ่ กี่ยวข้องกบั ความปลอดภัย และความสะดวกของ
ผใู้ ช้บริการ การดำเนินงานจึงตอ้ งมมี าตรฐาน เปน็ ทยี่ อมรับของนานาประเทศ ดงั นั้น จึงตอ้ งมีองค์กรท่ี
คอยกำกบั ดแู ล หรือให้การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ กจิ การของท่าอากาศยาน สำหรับประเทศไทย มีองคก์ รท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับท่าอากาศยาน ท้งั ภายใน และระหว่างประเทศ ประกอบด้วย (สารานกุ รมไทยสำหรับ
เยาวชนฯ, 2540 : ออนไลน์)

4.1 องค์กรภายในประเทศ
4.1.1 กระทรวงคมนาคม เปน็ ส่วนราชการท่ดี แู ลดา้ นการขนสง่ ทางบก ทางนำ้ และทางอากาศ

รวมทงั้ กิจการส่อื สารโทรคมนาคมของประเทศไทย

ภาพที่ 7 กระทรวงคมนาคม (สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ, 2540 : ออนไลน)์
4.1.2 คณะกรรมการการบนิ พลเรอื น เป็นคณะกรรมการ ที่คณะรัฐมนตรีแตง่ ตั้งขน้ึ เพ่ือให้
คำแนะนำดา้ นกจิ การการบินพลเรือนท้งั หมด แกร่ ัฐมนตรวี ่าการกระทรวงคมนาคม ตามมาตรา 15 แหง่
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 โดยมรี ัฐมนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคมเป็นประธาน

11

ภาพที่ 8 คณะกรรมการการบนิ พลเรือน (ไทยรฐั , 2564 : ออนไลน)์
4.1.3 กรมการบนิ พาณิชย์ เป็นสว่ นราชการ สังกดั กระทรวงคมนาคม มีภารกจิ ในการสง่ เสรมิ
และพฒั นากจิ การดา้ นการขนสง่ ทางอากาศ โดยจำแนกงานเปน็ 2 ด้าน คือ งานด้านบริการการขนสง่ ทาง
อากาศ และงานบรหิ ารและควบคุมการขนสง่ ทางอากาศ กรมการบินพาณชิ ย์บรหิ ารงานท่าอากาศยาน
รวม 23 แหง่ สว่ นใหญ่เป็นทา่ อากาศยานภายในประเทศ
4.1.4 การท่าอากาศยานแหง่ ประเทศไทย เปน็ รัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม มีภารกจิ ใน
การประกอบ และส่งเสรมิ กจิ การท่าอากาศยาน รวมทงั้ การดำเนินกจิ การอืน่ ทเี่ กย่ี วกบั หรอื ตอ่ เนือ่ งกับ
การประกอบกิจการท่าอากาศยาน เรมิ่ ดำเนินกิจการ เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 การท่าอากาศ
ยานแหง่ ประเทศไทย มีทา่ อากาศยาน ทร่ี ับผิดชอบอยู่ 4 แห่ง คอื ท่าอากาศยานกรงุ เทพ ทา่ อากาศยาน
เชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และทา่ อากาศยานภูเกต็ ซ่ึงท้งั หมดเปน็ ท่าอากาศยานระหวา่ งประเทศ

ภาพที่ 9 การทา่ อากาศยานแห่งประเทศไทย (ทา่ อากาศยานไทย, ม.ป.ป. : ออนไลน์)

12

4.1.5 บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกดั เป็นรัฐวสิ าหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม มี
ภารกจิ ในการให้บริการควบคมุ จราจรทางอากาศ บริการสือ่ สารการบิน บริการเครอื่ งชว่ ยการเดนิ อากาศ
และบรกิ ารเกย่ี วเนือ่ งกบั การสื่อสารการบนิ

4.1.6 บรษิ ัทการบนิ ไทย จำกัด (มหาชน) เปน็ รัฐวสิ าหกิจ สงั กัดกระทรวงคมนาคม มีหนา้ ที่
ดำเนินกจิ การดา้ นการบินพาณิชยใ์ นประเทศ และระหว่างประเทศ ในฐานะสายการบนิ แหง่ ชาติ
(สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ, 2540 : ออนไลน์)

4.2 องค์กรระหว่างประเทศ
4.2.1 องคก์ ารการบนิ พลเรือนระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL CIVIL AVIATION

ORGANIZATION-ICAO) เปน็ องค์การชำนญั พเิ ศษสาขาหนงึ่ ขององคก์ ารสหประชาชาติ ก่อตง้ั ขึ้นจาก
ข้อตกลงอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรอื นระหว่างประเทศ ซงึ่ ทำข้นึ ทเี่ มืองชคิ าโก สหรัฐอเมรกิ า มี
สำนักงานใหญ่อยู่ทเ่ี มอื งมอนทรอี อล ประเทศแคนาดา มสี มาชกิ อยู่ประมาณ 160 ประเทศ ภารกิจของ
องค์การการบินพลเรอื นระหว่างประเทศ คอื การกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ และขอ้ เสนอแนะ ท่ี
ควรปฏิบัติต่อการขนส่งทางอากาศ ในเรือ่ งต่างๆ เชน่ ท่าอากาศยาน การควบคมุ การจราจรทางอากาศ
และการเดินอากาศ เปน็ ตน้ ทง้ั น้เี พอื่ ให้กิจการบินพลเรือนระหวา่ งประเทศ มีมาตรฐาน และเป็นระเบียบ
เดียวกันท่วั โลก ซ่งึ จะทำใหเ้ กิดความปลอดภัย และมีการดำเนินงานอย่าง มปี ระสิทธภิ าพ

ภาพท่ี 10 องค์การการบินพลเรอื นระหว่างประเทศ (วกิ ิพเี ดยี สารานกุ รมเสรี, 2565 : ออนไลน์)

13

4.2.2 สมาคมทา่ อากาศยานระหว่างประเทศแห่งอาเซยี น (ASEAN INTERNATIONAL AIRPORT
ASSOCIATION-AAA) คอื สมาคมทม่ี วี ัตถปุ ระสงค์ เพอื่ พฒั นาความรว่ มมือส่วนภูมิภาค ระหวา่ งท่าอากาศ
ยานระหวา่ งประเทศแหง่ อาเซยี น ในเรอื่ งการพฒั นา การปฏบิ ตั ิ และการบริหารทา่ อากาศยาน เพื่อใหก้ าร
บรหิ าร และการปฏิบตั ิงานของท่าอากาศยานในกลุม่ อาเซียน มปี ระสิทธิภาพ และมีกฎเกณฑ์ และวธิ ี
ปฏิบตั ิทีเ่ หมือนกัน สำหรบั ประเทศไทย การทา่ อากาศยานแหง่ ประเทศไทย ไดร้ ว่ มเปน็ สมาชิก เมื่อ พ.ศ.
2523

4.2.3 สภาสมาคมทา่ อากาศยานระหว่างประเทศ (THE AIRPORTS COUNCIL
INTERNATIONAL-ACI) เป็นสภาสมาคม ซ่ึงเกิดจากการรวมตวั ของสภาผูด้ ำเนนิ งานท่าอากาศยาน
ระหว่างประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์คือ สรา้ งแรงสนบั สนุนให้เกดิ ความร่วมมือกนั ทัง้ ภาครัฐบาล และ
เอกชน ในอตุ สาหกรรมการขนส่งทางอากาศ เพือ่ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ ความปลอดภัย และความ
สอดคล้องกบั สภาวะแวดล้อม

ภาพที่ 11 สภาสมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ (วกิ พิ ีเดีย สารานุกรมเสรี, 2022 : ออนไลน์)
4.2.4 สมาคมผู้ประกอบการขนสง่ ทางอากาศระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL AIR

TRANSPORT ASSOCIATION-IATA) คอื สมาคมของสายการบนิ ต่างๆ ทีร่ วมตวั กัน เพอื่ ส่งเสริมใหเ้ กดิ
ความสะดวก และความปลอดภยั ในการบนิ รวมทัง้ เพอ่ื ให้เกิดความร่วมมือกนั ทั้งทางตรง และทางออ้ ม
ทางดา้ นการขนสง่ ทางอากาศของสมาชิก (สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ, 2540 : ออนไลน)์

14

ภาพท่ี 12 สมาคมผู้ประกอบการขนสง่ ทางอากาศระหว่างประเทศ (วกิ พิ เี ดยี สารานุกรมเสรี,
2549 : ออนไลน์)

15

บทท่ี 5

สรปุ

ทา่ อากาศยาน หรอื สนามบนิ ถือเปน็ ชอ่ งทางในการคมนาคมและการขนส่งหลักทมี่ คี วามสำคญั
ย่งิ ในการเดินทางระหวา่ งประเทศทางหนง่ึ ปัจจุบนั ปริมาณการใชส้ นามบนิ มีแนวโนม้ เพ่ิมขึ้นอย่างตอ่ เนื่อง
และเปน็ แบบก้าวกระโดดท้ังในเชงิ จำนวนผู้โดยสาร และการขนสง่ สินคา้ ทางอากาศ ซ่งึ มผี ลทำใหเ้ กิดการ
พัฒนาและเปล่ยี นแปลงทง้ั ในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสิ่งแวดล้อม สำหรบั มมุ มองดา้ นเศรษฐกจิ แล้ว อาจ
กลา่ วได้วา่ สนามบินเป็นชอ่ งทางหลกั ในการสร้างรายได้ให้กบั ประเทศช่องทางหนงึ่ ทม่ี ีความสำคัญ ดังน้ัน
ทุกประเทศจงึ ให้ความสำคัญในการพัฒนาสนามบนิ ของตนเองใหท้ นั สมัยและเพม่ิ ขดี ความสามารถในการ
ใหบ้ ริการเพื่อเพ่มิ การสรา้ งรายไดใ้ ห้กับประเทศจากการใหบ้ รกิ ารภายในสนามบนิ

ดงั น้ัน ประเทศต่าง ๆ ในโลกนี้ จงึ ตระหนักถงึ การพฒั นาสนามบนิ ไมเ่ ฉพาะแตป่ ระเทศทีก่ ำลงั
พฒั นา แตร่ วมถึงประเทศทีพ่ ฒั นาแล้ว ตา่ งมแี ผนในการพัฒนายกระดับสนามบนิ ให้ทนั สมยั เพิ่มจำนวน
สนามบินและขยายขดี ความสามารถในการให้บริการแกผ่ ้โู ดยสารและจำนวนเที่ยวบนิ ความสะดวกสบาย
ภายในสนามบนิ ทที่ ำให้ผโู้ ดยสารที่มาใช้บรกิ ารแลว้ เกิดความประทบั ใจ ทุก ๆ ปีจะมีการจดั อนั ดับการ
ใหบ้ ริการของสนามบนิ ต่าง ๆ ทว่ั โลกจากสถาบันที่มชี ื่อเสียง (ไพบูลย์ หาญวฒั นานกุ ุลง, 2561:
ออนไลน)์

16

บรรณานกุ รม
กรมการบนิ พลเรือน. (2557). “สถติ ิการขนส่งทางอากาศทา่ อากาศยาน,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก:

http://www.aviation.go.th/th/content/349.html. [สืบค้นเมอ่ื 3 มกราคม 2565].
การทา่ อากาศยานแหง่ ประเทศไทย. (2561). “ประวัตกิ รมท่าอากาศยาน,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:

https://www.airports.go.th/th/profile/172.html. [สืบค้นเมอ่ื 31 ธนั วาคม 2564].
การทา่ อากาศยานแหง่ ประเทศไทย. (2561). “ทา่ อากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน,”
[ออนไลน]์ .

เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://www.airports.go.th/th/content/329.html. [สบื ค้นเมื่อ 31 ธนั วาคม
2564].
การทา่ อากาศยานแหง่ ประเทศไทย. (2561). “แผนยุทธศาสตร์กรมทา่ อากาศยาน,” [ออนไลน]์ .
เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.airports.go.th/upload/download/
file_02c40f2827b0ee4357b67.pdf. [สบื ค้นเม่ือ 31 ธันวาคม 2564].
สำนกั งานการบนิ พลเรือนแห่งประเทศไทย. (2553). “อากาศยาน,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก:
https://www.caat.or.th/th/archives/category/aviation-th/aircraft-th. [สืบคน้ เม่ือ 30
ธันวาคม 2564].
สำนกั งานการบนิ พลเรือนแหง่ ประเทศไทย. (2553). “ทา่ อากาศยานไทย,” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
https://www.caat.or.th/wp-. [สบื ค้นเมอื่ 30 ธนั วาคม 2564].
สถาบนั การบนิ พลเรอื น. (พฤษภาคม 2556). “สรุปขอ้ มูลขา่ วสารอุตสาหกรรมการบิน ของไทย:ฉบับ
ย่อประจำเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://www.catc.or.th/2013/ attachments/ file/year2556/0556.pdf. [สืบคน้ เมอื่ 30
ธนั วาคม 2564].

17

มลู นิธโิ ครงการสารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน. (2531). “ท่าอากาศยาน,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.-9-infodetail01.html. [สืบค้นเม่อื
30 ธันวาคม 2564].

มูลนธิ โิ ครงการสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน. (2531). “ววิ ัฒนาการของท่าอากาศยาน,” [ออนไลน์].
เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book-9-
infodetail02.html. [สืบคน้ เมื่อ 30 ธันวาคม 2564].

มูลนธิ ิโครงการสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน. (2531). “องค์ประกอบของทา่ อากาศยาน,”
[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.-9-
infodetail03.html. [สบื คน้ เม่ือ 30 ธนั วาคม 2564].

มูลนธิ โิ ครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2531). “องค์ประกอบในเขตการบิน,” [ออนไลน]์ .
เข้าถึงได้จาก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.-9-
infodetail04.html. [สบื คน้ เมอ่ื 30 ธันวาคม 2564].

มลู นิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน. (2531). “องคป์ ระกอบในเขตนอกการบิน,”
[ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.-9-
infodetail05.html. [สบื ค้นเมื่อ 30 ธนั วาคม 2564].

มลู นธิ ิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2531). “ประเภทของท่าอากาศยาน,” [ออนไลน์].
เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.-9-
infodetail06.html. [สืบค้นเมอ่ื 30 ธันวาคม 2564].

มลู นธิ โิ ครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2531). “องคก์ รที่เกี่ยวข้องกบั ท่าอากาศยาน,”
[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.-9-
infodetail10.html. [สบื ค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2564].

18

บญุ เลศิ จิตตง้ั วัฒนา. (2551). “การจดั การท่าอากาศยาน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
https://regis.dusit.ac.th/images/download/1579851550_3571407%20การจดั การทา่ อากาศ
ยานสำหรับธรุ กิจการบิน%202-2560%20แก้ไข.pdf. [สืบคน้ เม่ือ 4 มกราคม 2565].
วกิ พิ ีเดียสารานุกรมเสรี. (2564). “ทา่ อากาศยาน,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก:

https://th.wikipedia.org/wiki. [สบื ค้นเม่อื 4 มกราคม 2565].
ชเู กียรติ เทมยี ะโก. (2551). “แนวทางการพฒั นาการบริการของท่าอากาศยานแมส่ อด,” [ออนไลน]์ .

เข้าถึงไดจ้ าก: วิทยานพิ นธ์ศิลปศาสตร์- มหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร.
[สบื คน้ เมื่อ 4 มกราคม 2565].
ธีรศกั ดิ์ มูลสาร. (2558). “สนามบนิ ,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/
snambin1111/home. [สืบคน้ เม่อื 29 ธนั วาคม 2564].
ธรี ศักดิ์ มลู สาร. (2558). “ประเภทของท่าอากาศยาน,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/snambin1111/prapheth-khxng-snam-bin-1. [สืบคน้ เมื่อ
29 ธันวาคม 2564].
ธีรศักด์ิ มลู สาร. (2558). “องค์ประกอบของสนามบิน,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก:
https://sites.google.com/site/snambin1111/xngkh-prakxb-khxng-snam-bin-2.
[สบื ค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2564].
บริษทั ทา่ อากาศยานไทย จำกดั (มหาชน). (2553). “วสิ ัยทัศนแ์ ละภารกิจ,” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก:
https://www.airportthai.co.th/th. [สบื คน้ เมอื่ 5 มกราคม 2565].




Click to View FlipBook Version