The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบฝึกหัดคำกริยาพร้อมเฉลย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bumbim SN, 2023-02-15 07:22:38

คำกริยา

แบบฝึกหัดคำกริยาพร้อมเฉลย

Keywords: คำกริยา

คำ กริยา เรียบเรียงโดย นางสาวศศิรินันท์ ศรีนนท์


หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียน รู้ จัดทำ ขึ้นเพื่อให้ศึกษาหาความรู้เรื่องชนิดของคำ หมวดคำ กริยา ซึ่งคำ กริยาเป็นคำ บ่งบอกการกระทำ ที่เราดำ รงชีวิตอยู่ใน ชีวิตประจำ วัน ไม่ว่าเราจะกระทำ การใดก็ล้วนเป็นกริยาทั้งสิ้น ผู้จัดทำ จึงได้เล็งเห็นความสำ คัญเรื่องชนิดของคำ หมวดคำ กริยา เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการนำ เสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศศิรินันท์ ศรีนนท์ ผู้จัดทำ คำ นำ


สารบัญ ความหมายของคำ กริยา ชนิดของคำ กริยา แบบฝึกหัด เฉลยแบบฝึกหัด เอกสารอ้างอิง หน้า 1 12 1-5 6-8 9-11 ประวัติผู้เขียน 13


คำ กริยา ความหมายของคำ กริยา คํากริยา คือ คําที่แสดงอาการของคํานามหรือสรรพนาม เพื่อให้ รู้ว่าคํานามหรือสรรพนามนั้นทําอะไร หรือเป็นอย่างไร ชนิดของคำ กริยา 1. อกรรมกริยา คือ คํากริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับข้างท้ายก็ได้ความ สมบูรณ์ ตัวอย่างเช่น -นักเรียนนั่งบนพื้น -ช่วงนี้ฝนตกทุกวัน นอกจากนี้ในภาษาไทยยังมีคําวิเศษณ์บางคําที่สามารถใช้เป็นคํา อกรรมกริยาได้ เช่น เขาหล่อ เธอสวย น้องผอม เป็นต้น คําว่า หล่อ สวย ผอม เป็นคําอกรรมกริยา 1


คำ กริยา ชนิดของคำ กริยา 2. สกรรมกริยา คือ คํากริยาที่ต้องมีกรรมมารับข้างท้ายจึงจะได้ ความสมบูรณ์ ตัวอย่างเช่น -ฉันกินข้าว -แม่ตี ม่ ลู ตี ลู ก นอกจากนี้คํากริยาบางคําสามารถเป็นได้ท้ังอกรรมกริยาและสกรรมกริยา เช่น หน้าต่างบานนั้นเปิด (เป็นอกรรมกริยา) เขาเปิดหน้าต่าง (เป็นสกรรมกริยา) 2


คำ กริยา ข้อสังเกตประการหนึ่งคือ วิกตรรถกริยามีลักษณะคล้ายคํากรรม กริยา เนื่องจากมี คํานามหรือสรรพนามมาต่อท้าย เพียงแต่นามหรือ สรรพนามน้ันไม่ได้ทําหน้าท่ีเป็นกรรมดังเช่น สกรรมกริยา แต่ทํา หน้าท่ีขยายหรือเป็นสีวนเติมเต็ม ดังนั้นวิธีการสังเกตว่ากริยาตัวใด เป็นวิกตรรถกริยา หรือสกรรมกริยา คือวิกตรรถกริยาจะไม่สามารถ ปรากฏหลังคําว่า “ถูก” ได้อย่างสกรรมกริยา ตัวอย่างเช่น แม่ของฉันเป็นครู ---> *ครูถููกเป็น หน้าตาของเขาคล้ายพ่อ ---> *พ่อถูกคล้าย ชนิดของคำ กริยา 3. วิกตรรถกริยา คือ คํากริยาท่ีต้องอาศัยคํานามหรือสรรพนามมา ช่วยขยาย จึงจะได้ค ด้ วามสมบูรณ์ ได้แก่ เป็น อยู่ คือ เหมือน คล้าย มี เป็นต้น ตัวอย่างเช่น 3


คำ กริยา ชนิดของคำ กริยา 4. กริยานุเคราะห์ คือ คํากริยาที่ทําหน้าท่ีช่วยกริยาหลักในประโยค ให้ได้ความครบตามระเบียบของกริยาได้แก่ 4.1 มาลา หมายถึง ระเบียบของกริยาที่แสดงออกมาเป็นความ หมายต่าง ๆ เช่น เน้ือความคาดคะเน เน้ือความบังคับ เน้ือความ อ้อนวอน เป็นต้น ตัวอย่างเช่น น้องคงไปโรงเรียน น้องต้องไปโรงเรียน 4


คำ กริยา 4.2 กาล หมายถึง ระเบียบของกริยาที่ใช้ต่างกันตามกาลต่าง ๆ เช่น อดีต ปัจจุบัน อนาคต เป็นต้น ตัวอย่างเช่น เธอได้อ่านหนังสือ เธออ่านหนังสือแล้ว เธอกําลังอ่านหนังสือ 4.3 วาจก หมายถึง ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นการก อะไร เช่น เป็น ผู้กระทา ผู้ถูกกระทา ผู้รับใช้ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น แม่ให้น้องกวาดบ้าน น้องถูกแม่ตี ชนิดของคำ กริยา 5


แบบฝึกหัด 1.นั่นเป็นเครื่องซักผ้าใหม่ของแม่ เป็น = 2.ฉันไม่ช ม่ อบทำ การบ้านยาก ๆ ชอบ = 3.นักเรียนท้งหมดที่นั่ ที่ นั่ งอยู่ใยู่ ต้ต้นไม้ใหญ่ นั่ง = อยู่ = 4.เขาหลับในห้องเรียนเสมอ หลับ = จงตอบคำ ถามว่าคำ กริยาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำ กริยาชนิดใด 6


แบบฝึกหัด 5.คุณจะพบใครครับ จะ = พบ = 6.ไม่เธอก็ผ ก็มต้องซื้อหนังสือที่มี ที่ ร มี าคาถูก ก็ = ต้อง = ซื้อ = มี = 7.แม่ทำ ม่ ทำงานหนักเพื่อความสุขของลูกทุกคน ทำ งาน = จงตอบคำ ถามว่าคำ กริยาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำ กริยาชนิดใด 7


จงตอบคำ ถามว่าคำ กริยาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำ กริยาชนิดใด 8.บ้านหลังนี้ไม่มี ม่ ค มี นอยู่แล้ว มี = 9.ผู้หญิงสวยที่ยื ที่ ยื นอยู่ใกล้ประตูเ ตู คยเป็นแฟนฉัน ยืน = เคย = เป็น = 10.สมชายซึ่งเป็นพ่อของสมศรีกำ รีกำลังขับรถด้วยความระมัดระวัง เป็น = กำ ลัง = 8 แบบฝึกหัด


เฉลยแบบฝึกหัด 1.นั่นเป็นเครื่องซักผ้าใหม่ของแม่ เป็น = วิกตรรถกริยา 2.ฉันไม่ช ม่ อบทำ การบ้านยาก ๆ ชอบ = สกรรมกริยา 3.นักเรียนท้งหมดที่นั่ ที่ นั่ งอยู่ใยู่ ต้ต้นไม้ใหญ่ นั่ง = อกรรมกริยา อยู่ = กริยานุเคราะห์ 4.เขาหลับในห้องเรียนเสมอ หลับ = อกรรมกริยา 9


5.คุณจะพบใครครับ จะ = กริยานุเคราะห์ พบ = สกรรมกริยา 6.ไม่เธอก็ผ ก็มต้องซื้อหนังสือที่มี ที่ ร มี าคาถูก ก็ = กริยานุเคราะห์ ต้อง = กริยานุเคราะห์ ซื้อ = สกรรมกริยา มี = วิกรรถกริยา 7.แม่ทำ ม่ ทำงานหนักเพื่อความสุขของลูกทุกคน ทำ = สกรรมกริยา 10 เฉลยแบบฝึกหัด


8.บ้านหลังนี้ไม่มี ม่ ค มี นอยู่แล้ว มี = วิกรรตถกริยา อยู่ = วิกรรตถกริยา แล้ว = วิกรรตถกริยา 9.ผู้หญิงสวยที่ยื ที่ ยื นอยู่ใกล้ประตูเ ตู คยเป็นแฟนฉัน ยืน = อกรรมกริยา เคย = กริยานุเคราะห์ เป็น = วิกรรตถกริยา 10.สมชายซึ่งเป็นพ่อของสมศรีกำ รีกำลังขับรถด้วยความระมัดระวัง เป็น = วิกรรตถกริยา กำ ลัง = กริยานุเคราะห์ ขับ = สกรรมกริยา 11 เฉลยแบบฝึกหัด


อ้างอิง 12 กาญจนา นาคสกุล กุ และคณะ. (2545). บรรทัดฐานภาษาไทยเล่ม 1: ระบบเสีย สี งภาษาไทย อักษรไทย การอ่านคำ และการเขีย ขี นสะกดคํา. กรุงเทพฯ: สถาบัน บั ภาษาไทย. โศรยา วิมลสถิตพงษ์. (2558). หลักภาษาสำ หรับ รั ครูภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ม ณ์ หาวิทยาลัย. 12


ประวัติผู้เขียน ชื่อ-นามสกุล : ศศิรินันท์ ศรีนนท์ วัน เดือน ปีเกิด : 1 สิงหาคม 2545 อายุ : 20 ปี เพศ : หญิง รหัสนักศึกษา 64040101116 สาขาวิชา : ภาษาไทย คณะ : ครุศาสตร์ สถานศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ช่องทางติดต่อ Bumbim Sasirinun Sasinun Srinon 0636307990 13


คำ กริยา


Click to View FlipBook Version