ั
ั
แผนปฏิบัติการขบเคลื่อนการป้องกน
ั
ควบคุมโรคและภยสุขภาพ
ด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพ
ี
ื
ั
ชวตระดบพ้นท่ (พชอ./พชข.)
ี
ิ
ู
ิ
และระบบสุขภาพปฐมภม
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570)
2 ยทธศาสตรชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
์
ุ
3 แผนแม่บทภายใต้ยทธศาสตรชาติ (ด้านสาธารณสุข)
์
ุ
4 แผนยทธศาสตรชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข
์
ุ
(พ.ศ. 2561 - 2580)
5 แผนปฏบัติการด้านการป้องกันควบคุมโรคและภยสุขภาพ
ิ
ั
ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)
6 แผนยทธศาสตรคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค
์
ุ
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2570)
7
สารบัญเนื้อหา
8
แผนปฏิบัติการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
ั
ั
แผนงานขบเคลื่อนการป้องกนควบคุมโรคและภยสุขภาพ
ั
ั
ื
ิ
ด้วยกลไกการพฒนาคุณภาพชีวตระดับพ้นที่ (พชอ./พชข.)
ู
และระบบสุขภาพปฐมภมิ
ั
ส านกงานคณะกรรมการผทรงคุณวุฒ ิ
ู้
กรมควบคุมโรค
ั
ิ
ื
ความเช่อมโยงกบนโยบายและแผนระดบชาต
ั
่
ระดับกระทรวง ระดับกรม และหนวยงาน
ั
ิ
ั
ความเช่อมโยงกบนโยบายและแผนระดบชาต
ื
่
ระดับกระทรวง ระดับกรม และหนวยงาน
ตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ดี พ.ศ. 2546 ประกาศเมื่อ
ี
วันท่ 9 ตุลาคม 2546 และพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ดี (ฉบับท่ 2)
ี
ี
ี
พ.ศ. 2562 ประกาศเมื่อวันท่ 26 เมษายน 2562 มาตรา 16 ระบุให้ส่วนราชการจัดท าแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ป ี
ี
ู
ี
และแผนปฏิบัติราชการประจ าป ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรปประเทศ แผนพัฒนา
ี
ี
่
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นท่เกี่ยวข้อง กลุมขับเคลื่อน
นโยบาย ส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จึงได้จัดท า (ร่าง) แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันควบคุมโรค
ี
ี
และภัยสุขภาพด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นท่ (พชอ./พชข.) กรมควบคุมโรค ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2566 -
ี
2570) ขึ้น เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนสูการปฏิบัติงาน ให้บรรลุวิสัยทศนท่มุงเนนให้ “ประชาชนได้รบ
่
์
่
ั
้
ั
การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2580” ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของ
ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน อันจะส่งผลต่อเป้าหมายภาพรวมของกระทรวงสาธารณสุข คือ ประชาชนสุขภาพดี
่
่
่
่
่
ี
้
เจ้าหนาท่มีความสุข ระบบสุขภาพยังยืน อันจะนาพาประเทศไปสูความมันคง มังคัง ยังยืน
่
การจัดทาแผนปฏิบติการขับเคลื่อนการป้องกันควบคุมโรคและภยสุขภาพด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพ
ั
ั
ี
ชีวิตระดับพื้นท่ (พชอ./พชข.) ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2566-2570) ด าเนินการโดยค านึงถึงนโยบายและแผนระดับต่าง ๆ
ี
ี
ท่เกี่ยวข้องกับภารกิจและการด าเนนงานของ ส านกงานคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค ดังน้ ี
ั
้
ิ
ิ
นโยบายและแผนระดับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจและการด าเนนงาน
ส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ
(พ.ศ. 2561 - 2580) ชาติ (ด้านสาธารณสุข) 20 ป ด้านสาธารณสุข
ี
(พ.ศ. 2561 - 2580)
แผนปฏิบัติการด้านการ แผนยุทธศาสตร์
ป้องกันควบคุมโรคและ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ภัยสุขภาพของประเทศ กรมควบคุมโรค ระยะ 5 ป ี
ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) (พ.ศ. 2565 - 2570)
1. แผนปฏิบัติการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 เป็นแผนการพัฒนาประเทศที่ก าหนดกรอบและแนวทางการพัฒนา
่
ให้หนวยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้องท าตาม เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ประเทศไทยที่ว่า”ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจ าชาติว่า
“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ โดยที่รัฐธรรมนญ แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65
ู
ก าหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็น
กรอบในการจัดท าแผนต่างๆให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพื่อให้เกิดพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนญแห่ง
ู
ราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนาไปสู่ การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน
ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ุ
3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษย์
4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
่
5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ิ
โดยมีส่วนที่เกี่ยวข้องที่ต้องด าเนนการ ดังน ี้
ยุทธศาสตร์ชาติที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับหนวยงาน ได้แก่
่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดย
คนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ
ั
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลัก
คิด ที่ถูกต้อง มีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ และอนรักษ์ภาษาท้องถิ่น
ุ
ิ
ู
ั
มีนสัยรักการเรียนร้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นกคิด
ื่
ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนดของตนเอง
ั
ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
(1 ) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ ที่ดีของคนไทย
ู
ิ
(2) ผลสัมฤทธ์ทางการศึกษาและการเรียนร้ตลอดชีวิต
(3) การพัฒนา สังคมและครอบครัวไทย โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ุ
ทรัพยากรมนษย์
ุ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษย์ ประกอบด้วย ๗ ประเด็น ได้แก่
ิ
้
ิ
1 . การปรับเปลี่ยนค่านยมและวัฒนธรรม มุ่งเนนให้สถาบันทางสังคมร่วม ปลูกฝังค่านยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงค์
2. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเนนการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัย
้
ู
3. ปฏิรปกระบวนการเรียนร้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ มุ่งเนนผู้เรียนให้มีทักษะการ
้
ู
เรียนร้และมีใจใฝ่เรียนร้ตลอดเวลา
ู
ู
ุ
4. การตระหนกถึงพหุปัญญาของมนษย์ที่หลากหลาย
ั
5. การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
6. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนษย์
ุ
7. การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและ พัฒนาประเทศ
โดยมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแผนงานขับเคลื่อนการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้วยกลไกการพัฒนา
คุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ (พชอ./พชข.) และระบบสุขภาพปฐมภูมิ ในบทบาทของกรมควบคุมโรคได้แก่ประเด็นที่ 2, 5
และ 6 ดังน ี้
ี่
้
ประเด็นท 2. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเนนการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัย
้
ประกอบด้วย (1) ช่วงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย เนนการเตรียมความพร้อม ให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (2) ช่วงวัย
เรียน/วัยร่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินย พัฒนาทักษะการเรียนร้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ 21 (3) ช่วงวัยแรงงาน
ู
ุ
ั
ยกระดับ ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลังในการขับเคลื่อนประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพ
ุ
ทรัพยากรมนษย์
1. แผนปฏิบัติการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
ประเด็นที่ 5. การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญา และสังคม โดย (1)
การสร้างความรอบร้ด้านสุขภาวะ (2) การป้องกันและ ควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ (3) การสร้างสภาพแวดล้อมที่
ู
ุ
เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี (4) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนบสนนการสร้างสุขภาวะที่ดีและ (5) การส่งเสริม
ั
ให้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะที่ดีในทุกพื้นที่
ประเด็นที่ 6. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนษย์โดย (1)
ุ
การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (2) การส่งเสริม บทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร
ุ
ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนษย์ (3) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน
และ (4) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนษย์
ุ
ุ
ยุทธศาสตร์ชาติที่หน่วยงานมีส่วนสนับสนน ได้แก่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มีเป้าหมายการพัฒนาที่ให้ความส าคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม
่
ุ
ชุมชนท้องถิ่นมาร่วมขับเคลือน โดยการสนบสนนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมท าเพือส่วนรวม
่
ั
่
การกระจายอ านาจและความรับผิดชอบไปสูกลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ
สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและท าประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน
และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่
1 . การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
2. การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
3. การเสริมสร้างพลังทางสังคม
่
4. การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึงตนเองและการจัดการตนเอง
โดยมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแผนงานขับเคลื่อนการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้วยกลไกการพัฒนา
คุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ (พชอ./พชข.) และระบบสุขภาพปฐมภูมิ ในบทบาทของกรมควบคุมโรคได้แก่ประเด็นที่ 1 , 3
และ 4 ดังน ี้
ี่
ประเด็นท 1. การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ โดย สร้างหลักประกันทางสังคมที่
ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะ และทุกกลุ่ม และสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ
้
สาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะส่าหรับผู้มีรายได้นอยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ประเด็นที่ 3. การเสริมสร้างพลังทางสังคม โดย (1) สร้างสังคมเข้มแข็งทีแบ่งปัน ไม่ทอดทิ้งกัน และ
่
ั
ุ
มีคุณธรรม โดยสนบสนนการรวมตัวและดึงพลังของภาคส่วนต่าง ๆ และ สนบสนนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ
ั
ุ
ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน
่
ประเด็นที่ 4. การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาการพึงตนเองและการจัดการตนเอง
โดย (1) ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ
เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง และ สร้างการ มีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ
ิ
เพื่อสร้างประชาธปไตยชุมชน และ ร่วมสร้างภูมิคุ้มกัน ทางปัญญาให้กับชุมชน
ี
่
ิ
็
้
ี
ิ
ิ
้
ิ
ยุทธศาสตร์ชาตดานการสร้างการเตบโตบนคุณภาพชวตท่เปนมตรตอส่งแวดลอม
ิ
มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศ
อย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการก าหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วน
ร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการด าเนนการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น
ิ
ทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความส าคัญกับการสร้างสมดุลทังสามด้าน อันจะนาไปสูความ
่
้
ยั่งยืนเพื่อคนร่นต่อไปอย่างแท้จริง
ุ
่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 6 ประเด็น ได้แก่
1 . สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
2. สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
3. สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
้
ิ
4. พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนเวศ มุ่งเนน ความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนอง
ื่
่
่
5. พัฒนาความมันคงน้า พลังงาน และเกษตรทีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
6. ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อก าหนดอนาคตประเทศ