กฎหมายเก่ยี วกบั
คอมพิวเตอร์และลิขสิ ทธ์ิ
จุดประสงการเรยี นรู้
1. สามารถอธบิ ายแนวคดิ ปฏบิ ตั ิในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีถกู กฎหมายได้ (K)
2. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศตามสิทธแิ ละหน้ าทข่ี องตนและไมล่ ะเมดิ สิทธข์ิ องผู้อน่ื (P)
3. ตระหนั กถงึ ความสาคัญของคุณธรรมจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งปลอดภัย (A)
ม า ต ร า 1 พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ นี้ เ รี ย ก ว่ า
“พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิด
เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550”
มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ี ให้ใช้บังคับ
เมื่อพ้นกาหนดสามสิ บวันนั บแต่ วันประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป
มาตรา 3 ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี “ระบบคอมพิวเตอร”์ หมายความว่า อปุ กรณ์หรอื ชดุ อปุ กรณ์ของ
คอมพิวเตอร์ ท่ีเชอ่ื มการทางานเขา้ ดว้ ยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชดุ คาสั่ง หรอื ส่ิงอ่นื ใด และ
แนวทางปฏบิ ตั ิงานให้อปุ กรณ์หรอื ชุดอุปกรณ์ทาหน้ าท่ีประมวลผลขอ้ มูลโดย อตั โนมตั ิ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร”์ หมายความว่า ขอ้ มลู ขอ้ ความ คาสั่ง ชดุ คาสั่ง หรอื ส่ิงอืน่ ใด บรรดาทอ่ี ยใู่ น
ระบบคอมพิวเตอรใ์ นสภาพทรี่ ะบบคอมพิวเตอรอ์ าจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมลู
อเิ ล็กทรอนิ กส์ตามกฎหมายว่าดว้ ยธุรกรรมทาง อิเลก็ ทรอนิ กส์ดว้ ย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ขอ้ มลู เกยี่ วกับการติดตอ่ ส่ือสารของระบบ
คอมพิวเตอร์ ซง่ึ แสดงถึงแหลง่ กาเนิ ด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วนั ที่ ปรมิ าณ ระยะเวลา ชนิ ด
ของบรกิ าร หรอื อื่นๆ ท่เี ก่ียวข้องกบั การติดตอ่ ส่ือสารของระบบคอมพิวเตอรน์ ั้น
“ผู้ให้บรกิ าร” หมายความวา่
(1) ผู้ให้บรกิ ารแก่บคุ คลอน่ื ในการเข้าสู่อินเทอรเ์ น็ ต หรอื ให้สามารถติดต่อถงึ กนั โดยประการอ่นื
โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทัง้ น้ี ไมว่ า่ จะเป็นการให้บรกิ ารในนามของตนเอง หรอื ในนามหรอื เพ่ือ
ประโยชน์ ของบุคคลอื่น
(2) ผู้ให้บรกิ ารเก็บรกั ษาขอ้ มลู คอมพิวเตอรเ์ พ่ือประโยชน์ ของบุคคลอื่น
“ผใู้ ช้บริการ” หมายความวา่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารของผู้ให้บรกิ ารไมว่ ่าต้องเสียคา่ ใชบ้ รกิ ารหรอื ไม่กต็ าม
“พนั กงานเจ้าหน้ าท่ี” หมายความว่า ผู้ซง่ึ รฐั มนตรแี ตง่ ตัง้ ให้ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
“รัฐมนตร”ี หมายความว่า รฐั มนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี
มาตรา 4 ให้รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร รกั ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี
กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วให้ใชบ้ งั คับได้
หมวด 1 หมวด 2
ความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ พนั กงานเจ้าหน้ าท่ี
การใช้งานลขิ สิทธ์ทิ ่เี ป็นธรรม
"ลขิ สิทธ์ิ สิทธแิ ตเ่ พียงผู้เดยี วที่จะกระทาการใดๆ เกยี่ วกบั งานทผี่ สู้ รา้ งสรรคไ์ ดร้ เิ รม่ิ โดย
การใชส้ ติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความวิรยิ อตุ สาหะของตนเองในการสรา้ งสรรค์
ไมล่ อกเลยี นงานผู้อ่ืน โดยงานทสี่ รา้ งสรรค์ตอ้ งเป็นงานตามประเภททกี่ ฎหมายลิขสิทธใ์ิ ห้
ความคุ้มครอง โดยผู้สรา้ งสรรค์จะไดร้ บั ความค้มุ ครองทันทีท่ีสรา้ งสรรค์ โดยไมต่ ้องจด
ทะเบียน" กรมทรพั ย์สินทางปัญญา
ผู้ใดต้องการใชผ้ ลงานที่มีลิขสิ ทธ์ิ (Copyright) ต้องได้รับอนุญาตจาก
เจ้าของผลงาน เพราะกฎหมายให้ความคุ้มครอง แต่ก็มีข้อยกเว้นให้ใชง้ านได้
บางอย่าง โดยไม่ต้องขออนุญาต หรือที่เรียกว่า การใชง้ านลิขสิ ทธ์ิท่ีเป็น
ธรรม (Fair use) เชน่ ใชใ้ นการเรยี นการสอน การรายงานข่าว แต่ทัง้ นี้ ต้อง
ไม่กระทบกบั เจ้าของลขิ สิทธ์ิ โดยมีหลักการในการพิจารณา ดังน้ี
ตวั อยา่ ง
การใช้งานลขิ สิทธ์ทิ ่ีเป็นธรรม
ผูส้ อน ทาซา้ดดั แปลงผลงานเพ่ือประกอบการสอน แจกจ่ายจานวนจากัดเพ่ือประโยชน์
ในการเรยี นการสอน และมีการอ้างองิ เจ้าของลขิ สิทธ์ิ โดยไมแ่ สวงหากาไร
การคดั ลอกคากล่าวหรอื บทความโดยย่อ และมีการอา้ งอิง ในรายการข่าว
การเสนอรายงานหรอื ตชิ มวิจารณ์แนะนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในปรมิ าณท่ีสมควรและ
มีการอา้ งอิง
ตวั อยา่ ง
การใช้งานลขิ สิทธ์ทิ ่ไี ม่เป็นธรรม
การดาวน์ เพลงผู้อ่นื ไปขาย
ผสู้ อนถา่ ยเอกสารหนั งสือเรยี นเพื่อขายกับผ้เู รยี นจานวนมาก ทาให้เจา้ ของลขิ สิทธส์ิ ูญเสียรายได้
การใชง้ านโปรแกรมคอมพิวเตอรแ์ บบทดลองใชอ้ ยา่ งต่อเนื่ อง แม้วา่ จะหมดอายกุ ารใชง้ าน