نبذة عن مدرسة إسالم بورانأساس ) إحياء العلوم اإلسالمية ( ISLAMBURANASAS IN BRIEF โรงเรียนอิสลามบูรศาสน์โดยสังเขป
معهد اسالم بورانأساس 3 بسم اهلل الرمحن الرحيم ---------------------- ISLAMBURANASAS IN BRIEF Praise be to God, and May His Peace and Blessings be upon the Noblest of Prophets and Messengers, our Prophet Mohammad. Islamburanasas school located in klongsib Sub-district,Nongchok District, Bangkok Metropolis, is a private Islamic and Arabic teaching school without any supporting funds from the Thai Government. The school’s resources are from donations from many Muslim brothers. The school’s curriculum is teaching Islamic sciences and Arabic language for secondary education which is recognised by Al Azhar University of the Arab Republic of Egypt and Islamic University of the kingdom of Saudi Arabia. ESTABLISHMENT Islamburanasas School was founded by the Muslim Group of Klongsib Community and registered for teaching Islamic sciences and Arabic language at the Ministry of Education in 1937, under the patronage of Masjid Safi-russalam. At the beginning, Al Qur-an and Islamic sciences were taught only in the morning and in the evening to the Muslim youths, who
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 4 studied in the regular compulsary session set by the Thai Ministry of Education. Later when Master Shamsuddin Omar graduated from Al Azhar University of Cairo Egypt, he returned to Thailand after World War II, and became a teacher at this school. Master Shamsuddin introduced Arabic language and Islamic sciences into the school curriculum. There are students from all over Thailand enrolled at the school. The teaching hours are from 09.00 - 15.00 hours. Islamburanasas School is the best operated Islamic school in Thailand with a large number of students who have graduated and become Islamic preachers to Muslim societies, such as the late Master Na-eem Kasem (God rest his soul), the former principal of Islamburanasas school; the late Master Anwar Wangsamad(God rest his soul), the former teacher of this school and other schools; the late Master Imran Makudi (God rest his soul), the former principal of Sasanavitthaya School, the late Master Prasit(Abdurrasheed) Sadrohman (God rest his soul),the former principal of this School, including Imams, Khateebs and many Islamic preachers who had been widely teaching and preaching in various parts of the country after their graduation from the Arab Countries, especially from Al Azhar University of Cairo, Egypt and Islamic University of Madinah, Saudi Arabia. Then the school was closed down for a
معهد اسالم بورانأساس 5 short period of time due to a shortage of teachers. In 1995, when Master Na-eem Kasem graduated from Al Azhar University of Cairo, Egypt, he began teaching once again at Islamburanasas school and he did his best as what the late Master Shamsuddin Omar (God rest his soul) had done. The number of students increased rapidly. Hence, more school buildings were needed to accommodate the increased number of students. In 1987, one building with three floors was constructed for ten classrooms and another two rooms for administration and teachers’ office. During the period of Master Na-eem Kasem, many students successfully graduated and continued their studies in Arab countries, such as Egypt, Saudi Arabia, Iraq and Kuwait. After these students graduated from abroad they returned home and devoted their lives to the teaching of Arabic language and Islamic sciences, which has widely spread in all parts of the Kingdom of Thailand. Some of those students remained teaching in the school, some went to be teachers in other schools, and many of them became Imams and Khateebs in Masjids of the areas where they are from. Meanwhile, a large number of them worked as translators and interpreters in Arab embassies and various hospitals, and some of them became government officers in the Secretariat of the House of Representatives and the Ministry of Foreign Affairs. Of course,
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 6 all of these students are the products of the late Master Na-eem Kasem (God rest his soul). After Master Na-eem passed away, Master Prasit (Abdurrasheed) Sadrohman became his successor for only two years and passed away also (God rest his soul). After teaching in the school for 2 years since his graduation , In 1997, the late Master Samak(Abdullah) Himmin (God rest his soul) was appointed as the school principal. After Master Smak passed away (God rest his soul), Master Kasem(Qasem) Pongpatipharn became the school principal for a short period of time and passed away also (God rest his soul). After Master Kasem passed away, Master Rangsit(Hanafi) Jehwan became the school principal who has been called “director” up until now. Master Rangsit has administered the school and developed the curriculum in the way that it corresponds to the Secondary Education of Al Azhar University. Master Rangsit, cooperating with his teaching staff, have done their best to increase the efficiency of Arabic language and Islamic sciences teaching and learning in the school, in order that the Word of Allah remains the supreme.
معهد اسالم بورانأساس 7 SCHOOL OBJECTIVES The school objectives are as follows : 1) To teach Arabic language and Islamic sciences to all Muslim youths in accordance with the Al-Qur-an and AlHadith, and against the unusual activities (Bid-ah) of other Muslim groups. 2) To cooperate and establish relationship with other schools, universities, institutes, and Islamic organizations in both domestic and abroad and to exchange knowledge and experiences which are mutually useful. 3) To disseminate the preaching of Islam to the believers of other religions and to oppose the Christianization, untruth groups and destructive thoughts in our society. 4) To write and translate the Islamic text books from Arabic into native languages and to establish a library for the school. 5) To construct a new dormitory for students, because 70 percent of all the students come from the provincial areas, so it is necessary to provide them a larger dormitory. NOTATION Thailand is not a Muslim country. The national religion is Buddism. Out of a population of 70 million in Thailand, 13 million are
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 8 Muslims. Most of the Muslims live in the southern part of the Kingdom of Thailand. BOARD OF THE SCHOOL ADMINISTRATORS 1) Board of School Administrators are from the executive staff of Masjid Safirussalam , educated persons and preachers. 2) Board of School Administrators consists of 15 members. Some of them are teachers and preachers who graduated from Al Azhar University of Cairo, Egypt, Islamic University of Madinah, Saudi Arabia, Kuwait University and from Libya. TEACHING STAFF Islamburanasas school teaching staff consists of 27 teachers, 23 are male and 4 are female, led by Master Rangsit(Hanafi) Jehwan, the school director. The team of teachers are educated persons who have graduated, in various fields, from the universities in Arab and Muslim countries, such as Al Azhar University of Cairo, Egypt, Islamic University of Madinah, Saudi Arabia, Islamic Call Faculty of Arab Republic of Libya, Université Sidi Mohamed Ben Abdellah of the Kingdom of Morocco, Kuwait University, Nadwatul Ulama Islamic University of the Republic of India, and Fatoni University in Yala in the southern part of Thailand.
معهد اسالم بورانأساس 9 PROBLEMS AND OBSTACLES 1) With limited amount of budget and contribution, it is difficult for the school administrators to operate the school efficiently. 2) The salary and fringe benefits for teachers are less than other professionals. If all of them do not have belief and faith in Allah and devotion to Islam preaching, they may turn to other professions which have better earnings. 3) Scholarships for students to study abroad for higher education are few when comparing to the number of students who graduated from Islamburanasas School each year. Meanwhile, our school is unable to develop a higher curriculum of education because of lack of resources. 4) Due to limited budget, the school’s dormitory cannot be expanded to meet the need of students each year, resulting in student numbers being stagnant. -------------------------------------
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 10 BOARD OF EUCATION COMMITTEE OF THE SCHOOL 1. Aj.Arunrat Ramli Chairperson (School Licensee) 2.Aj.Chaiwat(Mohammad) Suebsantiworapong Vice Chairman 3.Aj.Rangsit(Hanafi) Jehwan Secretary (School Director) 4.Aj.Racha Sadrahman Member 5.Aj.Malik Wangsamad Member 6.Aj.Samai Dorloh Member 7.Aj.Anucha Moolsap Member 8.Haj Prasit Faleeh Member 9.Haj Yusuf Chaimanit Member 10.Haj Saleem Sapsaman Member 11.Hajjah Sa’ardah Kaewpradab Member HONORARY ADVISORY BOARD OF THE SCHOOL Colonel Somnuek Piyasin Aj.Narong Lawang Aj.Sunan Lamor Aj.Samai Chareonchang Haj Shafi-ee Chatchue Haj Manoon Masalah Haj.Somchai Man-ngan Haj Mahmood Panleng Hajjah PhayaoNu’tong Hajjah Mariam Phongphiboon Hajjah Araya Sapsaman
معهد اسالم بورانأساس 11 TEACHING STAFF (CURRENT) Names Education Positions Aj.Rangsit(Hanafi) Jehwan Al Azhar University, Egypt Director Aj.Saleh Ma’min Al Azhar University, Egypt Deputy Director Aj.Sunan Lamor Al Azhar University, Egypt Advisor/Teacher Aj.Racha Sadrahman Al Azhar University, Egypt Advisor/Teacher Aj.Imron Madares Al Azhar University, Egypt Advisor/Teacher Aj.Abdulhaleem Sulaimad Islamic University, Saudi Arabia Advisor/Teacher Aj.Mubarak Mahamad Salah Al Azhar University, Egypt Head of Academic Section / Teacher Aj.Manaf Chankao Al Azhar University, Egypt Asst. of Academic Section / Teacher Aj.Surat(Ramlah) To’ thong Al Azhar University, Egypt Asst. of Academic Section / Teacher Aj. Mohammad Artharn Al Azhar University, Egypt Head of Student Welfare / Teacher Aj.Sulaiman Mohammad Yusuf Al Azhar University, Egypt Asst. of Student Welfare (Male) / Teacher Aj.Somjai (Mariam) Lamor Al Azhar University, Egypt Asst. of Student Welfare (Female) / Supply Officer / Teacher
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 12 Aj.Usa(Muneeroh) Ramlee Al Azhar University, Egypt Asst. of Student Welfare (F) / Gen Admin. Officer/ Teacher Aj.Kijja(Fareed) Phaksung Al Azhar University, Egypt Head of Dormitory (Male) / Teacher Aj.Hasan Wangphol Islamic University, Saudi Arabia Asst. of Dormitory (Male) / Teacher Aj.Muna Adam Université Sidi Mohamed Ben Abdellah, Morocco Asst. of Dormitory (Female) / Teacher Aj.Abdulhadee Ma’ae Al Azhar University, Egypt Head of Foreign Relations / Teacher Aj.Abdulaziz Suntharak Islamic University, Saudi Arabia Asst. of Foreign Relations / Teacher Aj.Umar Saengkoh Muslimwitthayakarn, Thailand Part-time teacher (Al-Quran) Aj. Mohammad Phumphet Islamic Call Faculty, Libya Part-time teacher (Arabic) Aj.Samak Tenghiran FatoniUniversity, Thailand Part-time teacher (Computer) Aj.Somsak (Muneer) Mohammad Cairo University, Egypt Part-time teacher (Philosophy and Logics) Aj.Somchai Suebsantiworapong Ramkhamhaeng University, Thailand Part-time teacher (English) Aj.Nadir Lamor Al Azhar University, Egypt Part-time teacher (Religion) Aj.Adam Pornphap-ngam Nadwatul Ulama Islamic University, India Part-time teacher (Religion)
معهد اسالم بورانأساس 13 Aj.Zulkifl Moolsap Al Azhar University, Egypt Part-time teacher (Religion) Aj.Chaiwat Suebsantiworapong Kuwait University / NIDA.,Thailand Part-time teacher (Arabic and English) Shaikh Abdurrahman Mahmood Khafajah Al Azhar University, Egypt Visiting teacher, Al Azhar Univ.
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 14
معهد اسالم بورانأساس 15 بسم الله الرحمن الرحيم ---------------------- โรงเรียนอิสลามบูรศาสน์โดยสังเขป มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิของอัลลอฮ์ ผู้อภิบาลแห่งสากลโลก ขอพรอันประเสริฐจงมีแด่ท่านนบีมุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม นบีและศาสนทูตผู้ประเสริฐที่สุด และบรรดาสาวกของท่าน โรงเรียนอิสลามบูรศาสน์ตั้งอยู่ ณ แขวงคลองสิบ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและภาษา อาหรับ โดยไม่ได้รับเงินสนับสนุนใดๆ จากรัฐบาล รายได้ส่วนใหญ่ของ โรงเรียนมาจากเงินบริจาคของพี่น้องมุสลิมผู้มีจิตศรัทธา โรงเรียนมีหลักสูตรที่มีลักษณะเฉพาะเพื่อการเรียนการสอนภาษา อาหรับและศาสนาอิสลามที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย อัลฮัมดุลิลลาฮฺประกาศนียบัตร มัธยมศึกษาของโรงเรียนได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่า ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาของมหาวิยาลัยอัลอัซฮัร ประเทศอียิปต์ และ ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาของมหาวิทยาลัยอัลอิสลามียะฮฺ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย การก่อตั้ง โรงเรียนอิสลามบูรศาสน์ก่อตั้งโดยกลุ่มพี่น้องมุสลิมในชุมชนคลอง สิบ และได้รับการจดทะเบียนกับกระทรวงศึกษาธิการในปี พ.ศ. 2480 ใน การสอนภาษาอาหรับและศาสนาอิสลาม โดยอยู่ในความอนุเคราะห์ของ มัสยิดสะฟีรุสสลาม
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 16 ในระยะแรก โรงเรียนได้เปิดสอนอ่านอัลกุรอานและฟัรดูอีน ในช่วง เช้าและเย็น แก่บุตรหลานและเยาวชนนมุสลิม ที่กำ ลังเรียนระดับประถม ศึกษาภาคบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2480 เมื่ออาจารย์ฮัจยีซำ ซุดดีน อุ มาร์ ได้สำ เร็จการศึกษาจากมหาวิยาลัยอัลอัซฮัรประเทศอียิปต์ และได้ เดินทางกลับประเทศไทย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ก็ได้เข้า สอนที่โรงเรียนแห่งนี้ อาจารย์ฮัจยีซำ ซุดดีนได้บรรจุวิชาภาษาอาหรับ และศาสนาอิสลามเข้าในหลักสูตรการเรียนการสอน ทำ ให้มีนักเรียนที่มี ภูมิลำ เนาอยู่ในพื้นที่ต่างจังหวัดจำ นวนมากสมัครเข้าเรียน โดยการเรียน จะเริ่มในเวลา 09.00 น. ถึงเวลา 15.00 น. โรงเรียนอิสลามบูรณศาสน์มีการเรียนการสอนที่เข้มข้นได้มาตรฐาน โดยมีนักเรียนจำ นวนมากที่เมื่อสำ เร็จการศึกษาจากโรงเรียนแห่งนี้แล้ว ได้เดินทางไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ และเมื่อสำ เร็จการศึกษา ก็ได้กลับ มาเป็นครู อาจารย์สอนศาสนาให้กับสังคมมุสลิม อาทิ อัลมัรฮูมอาจารย์ นาอีม กาเซ็ม อดีตอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนแห่งนี้ อัลมัรฮูมอาจารย์อันวัร หวังสมัด อดีตอาจารย์ของโรงเรียนนี้และอีกหลาย ๆ โรงเรียน อัลมัรฮูม อา จารย์ อิ มรอน มะกูดี อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนศาสนวิทยา อัลมัรฮูมอาจารย์ ประสิทธิ์ (อับดุลรอชีด) ซัรเราะห์มาน อดีตอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนนี้ อีกท่านหนึ่ง รวมทั้งอีหม่าม คอเต็บ และ อาจารย์สอนศาสนาอีกหลาย ๆ ท่านที่ทำ การสอนอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศหลังจากสำ เร็จ การศึกษาจากประเทศอาหรับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ประเทศอิยิปต์ และมหาวิทยาลัยอัลอิสลามียะฮฺ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
معهد اسالم بورانأساس 17 ต่อมาโรงเรียนได้ปิดตัวลงในระยะเวลา สั้น ๆ เนื่องจากขาดแคลนครูผู้ สอน ในปี พ.ศ.2538 เมื่ออาจารย์นาอีม กาเซ็ม สำ เร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร ประเทศอิยิปต์ และได้เดินทางกลับ ประเทศไทย ท่านก็ได้เปิดทำ การสอนวิชาภาษาอาหรับและศาสนา อิสลามอีกครั้งหนึ่ง ณโรงเรียนอิสลามบูรณศาสน์แห่งนี้ ท่านได้ปฏิบัติ หน้าที่อย่างดีเยี่ยมเช่นเดียวกันกับที่อัลมัรฮูมอาจารย์ซำ ซุดดีนอุมัรได้ เคยปฏิบัติมาก่อนหน้านั้น ทำ ให้มีจำ นวนนักเรียนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงจำ เป็นที่จะต้องสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ขึ้น เพื่อให้สามารถรองรับ จำ นวนนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้น และในปีพ.ศ. 2530 ก็ได้มีการสร้างอาคาร เรียนหลังใหม่ เป็นอาคารสามชั้น ประกอบด้วยห้องเรียนจำ นวน 10 ห้อง ห้องพักครูและห้องธุรการอีกสองห้อง ในสมัยของอาจารย์นาอีม กาเซ็มนั้น มีนักเรียนจำ นวนมาก ประสบความสำ เร็จ และได้เดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศอาหรับหลาย ประเทศ ได้แก่ ประเทศอิยิปต์ ซาอุดิอาระเบีย อิรัก และคูเวต หลังจากที่ นักเรียนเหล่านี้สำ เร็จการศึกษา ก็ได้เดินทางกลับประเทศ และได้อุทิศตน ให้กับการสอนศาสนาและภาษาอาหรับ จนแพร่หลายไปทุกภูมิภาค ซึ่งก็ มีศิษย์เก่าจำ นวนหนึ่ง ได้เข้าหน้าที่สอนในโรงเรียนแห่งนี้ บางส่วนก็เป็น ครูสอนและอาจารย์อยู่ในโรงเรียนอื่น นอกจากนี้ ยังมีศิษย์เก่าอีกหลาย คนได้ทำ หน้าที่เป็นอีหม่าม คอเต็บให้กับมัสยิดในชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ ในขณะเดียวกันศิษย์เก่าเหล่านี้หลายคนได้ทำ งานเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายแปล และล่ามในสถานทูตประเทศอาหรับ รวมทั้งในโรงพยาบาลอีกหลายแห่ง
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 18 บ้างก็เป็นข้าราชการในสำ นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และ กระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือได้ว่านักเรียนหรือศิษย์เก่าเหล่านี้เป็น ผลผลิตของอัลมัรฮูมอาจารย์นาอีม กาเซ็มโดยแท้จริง หลังจากที่อาจารย์นาอีมได้เสียชีวิตลง อาจารย์ประสิทธิ์ (อับดุรรอชีด) ซัดเราะมาน ก็ได้รับการแต่งตั้งให้ดำ รงตำ แหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน และได้ปฏิบัติหน้าที่สืบต่อมาอีก เป็นเวลาสองปี ก่อนที่จะกลับไปสู่ความ เมตตาของอัลลอฮฺอีกเช่นกัน ต่อมาใน ปีพ.ศ. 2540 อัลมัรฮูมอาจารย์สมัคร (อับดุลลอฮ์) ฮิมมิน ก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน และหลังจากที่ท่านได้ เสียชีวิตลง อาจารย์เกษม พงษ์ปฏิภาณจึงได้รับการแต่งตั้งเป็นอาจารย์ ใหญ่ต่อ ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ก่อนที่จะกลับสู่ความเมตตาของอัลลอฮฺ อีกเช่นกัน หลังจากที่อาจารย์เกษม พงษ์ปฏิภาณได้กลับไปสู่ความเมตตาขอ งอัลลอฮฺ อาจารย์รังสิต (ฮานาฟี) เจ๊ะหวันก็ได้รับการแต่งตั้งใน เวลาต่อมาให้ดำ รงตำ แหน่งอาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำ นวยการของโรงเรียน มาจนถึงปัจจุบันนี้ อาจารย์ รังสิตได้ทำ การบริหารโรงเรียนและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ท่านได้ร่วมกับคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติหน้าที่อย่าง เต็มความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนและการสอนภาษา อาหรับและศาสนาอิสลาม และเพื่อเทิดทูนพระดำ รัสแห่งพระองค์อัลลอฮฺ ตะอาลา เป็นสิ่งสูงสุด
معهد اسالم بورانأساس 19 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสอนภาษาอาหรับและศาสนาอิสลาม แก่เยาวชนมุสลิมตาม แนวทางแห่งอัลกุรอานและอัซซุนนะฮฺ และต่อต้านอุตริกรรมรูปแบบต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคม 2. เพื่อประสานความร่วมมือและสร้างความสัมพันธ์กับโรงเรียนอื่นๆ รวม ทั้งมหาวิทยาลัย สถาบัน และองค์กรมุสลิม ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่าย 3. เพื่อเรียกร้องเชิญชวนและเผยแผ่ศาสนาอิสลามไปยังศาสนิกอื่น และ ยืนหยัดต่อต้านขบวนการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ รวมทั้งต่อต้านกลุ่ม บิดเบือนและแนวคิดที่บ่อนทำ ลายสังคม 4. เพื่อเขียนและแปลหนังสือและตำ ราเกี่ยวกับอิสลาม จากภาษาอาหรับ เป็นภาษาท้องถิ่น และก่อตั้งห้องสมุดสำ หรับโรงเรียน 5. เพื่อสร้างอาคารหอพักนักเรียนหลังใหม่ เนื่องจากร้อยละ 70 ของ นักเรียนทั้งหมดมาจากต่างจังหวัด จึงจำ เป็นจะต้องขยายหอพักเพื่อ รองรับนักเรียนเหล่านี้ หมายเหตุ ประเทศไทย ไม่ใช่ประเทศมุสลิม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามมีจำ นวนเพียงประมาณ 13 ล้านคน จาก จำ นวนประชากรทั้งสิ้นประมาณ 70 ล้านคน คณะกรรมการบริหารโรงเรียน 1.คณะกรรมการบริหารโรงเรียนมาจากคณะกรรมการมัสยิดสะฟีรุส สลาม ผู้ทรงคุณวุฒิ และนักเผยแผ่ศาสนา 2.คณะกรรมการบริหารโรงเรียน มีจำ นวน 15 คน ส่วนหนึ่งเป็น
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 20 ครู อาจารย์ และนักเผยแผ่ศาสนาที่สำ เร็จการศึกษาจากมหา วิทยาลัย อัลอัรฮัร ประเทศอียิปต์ มหาวิทยาลัยอิสลามียะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มหาวิยาลัยคูเวต และจากประเทศลิเบีย อาจารย์ผู้สอน โรงเรียนอิสลามบูรศาสน์ มีอาจารย์ผู้สอนจำ นวน 27 คน เป็นชาย 24 คน และหญิง 4 คน โดยมีอาจารย์รังสิต เจ๊ะหวัน เป็นผู้อำ นวย การ คณาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่สำ เร็จการศึกษาใน สาขาวิชาต่างๆ จากมหาวิทยาลัยในประเทศอาหรับ อาทิ มหาวิทยาลัย อัลอัรฮัร ประเทศอียิปต์ มหาวิทยาลัยอิสลามียะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย วิทยาลัยเผยแผ่อิสลาม ประเทศลิเบีย มหาวิยาลัยซีดีมุฮัมหมัดบินอับดิล ลาฮ์ ประเทศโมร็อกโก มหาวิทยาลัยคูเวต มหาวิยาลัยอิสลามนัดวะตุ้ลอุ ลามาอ์ ประเทศอินเดีย และมหาวิทยาลัยฟาฏอนี จังหวัดยะลา ปัญหาและอุปสรรค 1.เนื่องจากงบประมาณและเงินบริจาคมีจำ นวนค่อนข้างจำ กัด ทำ ให้คณะกรรมการบริหารโรงเรียนไม่สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพเท่าที่ควร 2.อัตราเงินเดือนของอาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนแห่งนี้ น้อยกว่า อัตราเงินเดือนของผู้ประกอบอาชีพอื่น หากอาจารย์เหล่านี้ไม่เชื่อมั่นใน อัลลอฮ์และเสียสละในการเผยแผ่อิสลามแล้ว ก็คงหันไปประกอบอาชีพ อื่นซึ่งมีรายได้มากกว่า 3.ทุนการศึกษาเพื่อศึกษาต่อยังต่างประเทศในระดับอุดมศึกษา ที่โรงเรียนได้รับ มีจำ นวนน้อยมากเมื่อเทียบกับจำ นวนนักเรียนที่จบการ ศึกษาในแต่ละปี ในขณะที่โรงเรียนไม่สามารถที่จะจัดการศึกษาในระดับ
معهد اسالم بورانأساس 21 ที่สูงกว่าระดับมัธยมศึกษาได้ เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ 4.เนื่องจากงบประมาณที่มีจำ นวนจำ กัด ทำ ให้โรงเรียนไม่สามารถ ขยายหอพักนักเรียนให้กว้างขวางกว่าเดิม เพื่อรองรับจำ นวนนักเรียนใน แต่ละปีได้ ทำ ให้ไม่สามารถรับนักเรียนเพิ่มมากขึ้น .......................................................
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 22 กรรมการศึกษา โรงเรียนอิสลามบูรณศาสน์ 1. อาจารย์อรุณรัตน์ รมลี ประธานกรรมการ (ผู้รับใบอนุญาตฯ) 2. อาจารย์ชัยวัฒน์ สืบสันติวรพงศ์ รองประธานฯ 3. อาจารย์รังสิต เจ๊ะหวัน เลขานุการ (ผู้อำ นวยการฯ) 4. อาจารย์ราชา ซัดเราะมาน กรรมการ 5. อาจารย์มาลิก หวังสมัด กรรมการ 6. อาจารย์สมัย ดอเลาะ กรรมการ 7. อาจารย์อนุชา มูลทรัพย์ กรรมการ 8. ฮัจยีประสิทธิ์ ฟาหลี กรรมการ 9. ฮัจยียูซุฟ ชัยมานิต กรรมการ 10. ฮัจยีซาลีม ทรัพย์สมาน กรรมการ 11. ฮัจยะห์สะอาดะห์ แก้วประดับ กรรมการ รายนามที่ปรึกษากิตติมศักดิ์โรงเรียนอิสลามบูรณศาสน์ พันเอกสมนึก ปิยะสิน อาจารย์ณรงค์ ลาวัง อาจารย์สุนัน ลามอ อาจารย์สมัย เจริญช่าง ฮัจยีชาฟีอี ชาติเชื้อ ฮัจยีมนูญ มาสะและ ฮัจยีสมชาย หมั่นงาน ฮัจยีมะห์มูด ปานเหล็ง ฮัจยะห์พเยาว์ หนูทอง อาจารย์มาเรียม พงษ์พิบูลย์ ฮัจยะห์อารยา ทรัพย์สมาน
معهد اسالم بورانأساس 23 รายนามคณะครู,อาจารย์ โรงเรียนอิสลามบูรณศาสน์(ปัจจุบัน ชื่อ-ชื่อสกุล การศึกษา ตำแหน่ง อ. ฮานาฟี เจ๊ะหวัน ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ ผู้อำ นวยการโรงเรียน อ.ซอและห์ มะมิน ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ รองผู้อำ นวยการ อ.สุนัน ลามอ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ที่ปรึกษา อ.ราชา ซัดเราะมาน ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ที่ปรึกษา อ.อิมรอน มะดะเรส ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ที่ปรึกษา อ.อับดุลฮาลีม สุไลหมัด ม.อิสลามียะห์/นครมะดีนะห์ อ.ที่ปรึกษา อ.มุบาร็อก มะหะหมัดซอและ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.หัวหน้าฝ่ายวิชาการ อ.มานาฟ จันทร์ขาว ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ อ.สุรัตน์ โต๊ะทอง ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ อ.มูฮำ หมัด อาจหาญ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.หัวหน้าฝ่ายปกครอง อ.สุไลมาน มะหะหมัดยูซบ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง อ.สมใจ ลามอ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.ฝ่ายปกครองหญิง /พัสดุ อ.อุษา รมลี ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ. ผู้ช่วยฝ่ายปกครองหญิง/ธุรการ อ.ฟาริด ผักสังข์ ม .อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อ.หัวหน้าฝ่ายหอพักชาย อ.ฮาซัน หวังผล ม.อิสลามมียะห์/นครมะดีนะห์ อ.ผู้ช่วยฝ่ายหอพักชาย อ.มูนา อาดัม ม.ซัยยิดมูฮัมหมัดบินอับดิ้ลลาห์/โมร็อกโก อ.ผู้ช่วยฝ่ายหอพักหญิง อ.อับดุลฮาดี มะแอ ม.อิสลามมียะห์/นครมะดีนะห์ อ.หัวหน้าฝ่ายต่างประเทศ อ.อับดุลอาซีซ สุนธารักษ์ ม.อิสลามมียะห์/นครมะดีนะห์ อ.ผู้ช่วยฝ่ายต่างประเท ศอ.อาบีดีน แสงโก๊ะ มุสลิมวิทยาคาร อาจารย์พิเศษ (วิชาอัลกุรอาน) อ.มูฮำ หมัด พุ่มเพชร ม.ดะอฺวะฮ์อิสลามียะห์/ลิเบีย อาจารย์พิเศษ (ภาษาอาหรับ) อ.สมัคร เต็งหิรัญ วิทยาลัยอิสลามยะลา อาจารย์พิเศษ (คอมพิวเตอร์) อ.สมชาย สืบสันติวรพงศ์ ม.รามคำแหง อาจารย์พิเศษ (ภาษาอังกฤษ)
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 24 อ.มุนีร มูฮำ หมัด ม.ไคโร/อียิปต์ อาจารย์พิเศษ (ตรรกวิทยา) อ.นาเดร ลามอ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อาจารย์พิเศษ (ศาสนา) อ.อาดำ พรภาพงาม ม.นัดวะตุ้ลอุละมาอฺ/อินเดีย อาจารย์พิเศษ (ศาสนา) อ.ซุลกิฟลี่ มูลทรัพย์ ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อาจารย์พิเศษ (ศาสนา) อ.ชัยวัฒน์ สืบสันติวรพงศ์ ม.คูเวต / นิด้า อาจารย์พิเศษ (ภาษาอาหรับ) เชคอับดุรเราะห์มานมะห์มูดค่อฟาญะฮ ์ม.อัล-อัซฮัร/อียิปต์ อาจารย์พิเศษ จากม.อัล-อัซฮัร
معهد اسالم بورانأساس 25
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 26 استاذة قسم رعاية بيت الطالبات االستاذة منى آدم قسم التغذية السيدة ناري نينج سامنلوه
معهد اسالم بورانأساس 27 استاذة مساعدة لقسم األكادميي األستاذ ة رملة تؤتونج األستاذ ذوالكفل مول ساب استاذ خبري يف قسم العلوم الرشعية استاذ قسم أنشطة الطلبة والرياضة األستاذ نادر المو استاذ قسم أنشطة الطلبة األستاذ آدم بون باب غام األستاذ ة مريم المو استاذة قسم مراقبة الطالبات استاذ قسم الشئون الخارجية األستاذ عبد العزيز سونرتاراك استاذةقسم شئون الطلبة األستاذة اوثا رميل ومساعدة لقسم امني الصندوق مبعوث من جامعة األزهر الرشيف الشيخ عبدالرحمن محمود خفاية
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 28 استاذ قسم الشئون الخارجية األستاذ عبد الهادي ماعي األستاذ نعيم تينج هريان استاذ لقسم علوم الحاسب اآليل استاذ خبري يف قسم علوم القرآن األستاذ حكيم تينج هريان األستاذ نعيم تاناوات وانش استاذ قسم أمني الصندوق األستاذ حسن وانج بول استاذ مساعد لقسم رعاية بيت الطلبة استاذ خبري يف قسم علوم القرآن األستاذ عابدين سينج كؤ استاذ خبري يف قسم اللغة العربية األستاذ محمد بهوم بيش األستاذ داود سوب سانتئ وارابونح استاذ خبري يف قسم اللغة اإلنجليزية
معهد اسالم بورانأساس 29 األستاذ سليامن محمديوسف استاذ مساعد لقسم العلوم رئيس قسم األكادميي األستاذ مبارك محمد صالح رئيس قسم رعاية بيت الطلبة األستاذ عمران مأداريس استاذ مستشار األستاذ راشا سادرحمن رئيس قسم املراقبة العامة األستاذ محمد عاج هان استاذ مساعد قسم األكادميي األستاذ مناف جان خاو استاذ مساعد لقسم رعاية بيت الطلبة األستاذ فريد باك سانج نائب مديراملعهد األستاذ صالح مأمن
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 30 األستاذ رانجسيت)حنفي( جئ وان مدير املعهد صاحبة الرتخيص واستاذة مستشارة األستاذة عارونرات رميل استاذخبرييف اللغة العرببة األستاذ منري موحاماد األستاذ شايوات سوب سانتئ وارابونج استاذخبري يف اللغويات استاذ مستشار هيئة إدارية وتدريسية األستاذ سونان المور استاذ مستشار
معهد اسالم بورانأساس 31 الدول العربية قليل جدا مقارنة بعدد الطلبة املتخرجني من هذه املدرسة سنويا. ّ ويف الوقت نفسه ال تتمكن املدرسة من توفري الدراسة هلم يف املرحلة ما بعد الثانوية نتيجة لقلة امليزانية. ّ 4.ونظرا لقلة امليزانية أيضا ال تتمكن املدرسة من توسعة مساكن للطلبة حىت يتجاوب مع عدد الطلبة املتزايد يف كل سنة. -------------------------
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 32 جملس إدارة املدرسة ّن أعضاء جملس إدارة املدرسة من األعضاء اإلداريني ملسجد سفري 1.يتكو ّفني وعلماء الدين. السالم واملثق 2 .يتكون أعضاء جملس إدارة املدرسة من 15 عضوا، من األساتذة وعلماء ّجني من جامعة األزهر بالقاهرة، واجلامعة اإلسالمية يف املدينة الدين، املتخر ّرة، وجامعة الكويت، ومن ليبيا. املنو هيئة التدريس ّن أعضاء هيئة تدريس مدرسة إسالم بورا نأساس من املدرسني وعددهم يتكو ّسات، يرأسهم األستاذ راجنسيت)حنفي( ّسا و 4 مدر 27 ،بينهم 23 مدر ّجني من اجلامعات ّسني املتخر جئ وان مدير املدرسة، وخنبة من األساتذة واملدر يف الدول العربية واإلسالمية يف ختصصات خمتلفة، ويف مقدمتها جامعة األزهر وجامعة القاهرة يف مجهورية مصر العربية، واجلامعة اإلسالمية يف اململكة العربية ّة الدعوة اإلسالمية يف اجلمهورية العربية الليبية، وجامعة سيدي السعودية، وكلّي ّد بن عبد اهلل يف اململكة املغربية، وجامعة الكويت، وجامعة ندوة العلماء حمم يف مجهورية اهلند، وجامعة فطاين مبحافظة جاال يف جنوب تايالند. املشاكل والعوائق ّعات تعرقل فاعلية عمل جملس إدارة املدرسة. 1.قلّة امليزانية والترب ّ من أصحاب املهن األخرى، وإذا مل يؤمن ّسون باهلل والعمل يف سبيل التدريس اإلسالمي سيلجأون ملهن ّ 2.يتقاض املدرسون رواتب أقل هؤالء املدر أخرى، يتقاضون منها أجورا ومكافآت أفضل. 3.عدد املنح الدراسية اليت حيصل عليها خرجيو املدرسة لتكملة دراستهم يف
معهد اسالم بورانأساس 33 لتتفوق املدرسة إىل التقدم والتطور التعليمي والعلمي، إعالء لكلمة اهلل هي العليا اليت تعلو وال يعلى عليها. األهداف تسعى املدرسة إىل حتقيق األهداف اآلتية : 1.تدريس اللغة العربية و العلوم اإلسالمية ألبناء املسلمني على ضوء الكتاب والسنة، والوقوف ضد البدع وأنشطتها وحماربة اخلرافات املضلة واألفكار اهلدامة. 2 .إقامة عالقات تعاون وثيقة بني املدارس واجلامعات واملعاهد واملنظلمات اإلسالمية حمليا ودوليا، لتبادل املعارف واخلربات اليت ختدم كافة األطراف. 3.نشر التعاليم اإلسالمية ألصجاب األديان األخرى يف البالد، ومقاومة احلركة التنصريية والفرق الباطلة واألفكار اهلدامة من بني جمتمعنا اإلسالمي. 4.تأليف وترمجة الكتب اإلسالمية من اللغة العربية إىل اللغة احمللية، وتأسيس مكتبة للمدرسة. 50بناء مساكن للطالب والطالبات، ألن 70 يف املئة من طلبة املدرسة قدموا من املناطق البعيدة. مالحظة تايالند ليست دولة إسالمية، والديانة الرمسية يف تايالند هي البوذية، ويبلغ اجملموع الكلي لسكاهنا حوايل 70 مليون نسمة، 13 مليون منهم مسلمون، و يقطن معظمهم يف املنطقة اجلنوبية.
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 34 وجامعة الكويت. وبعد خترجهم رجعوا إىل بالدهم، ويعملون يف خدمة العلم والدين يف شىت النواحي، فبعضهم أساتذة ومدرسون مبدرسة إسالم بورانأساس و املدارس األخرى يف أحناء البالد، وبعضهم أئمة وخطباء باملساجد يف القرى اليت كانوا فيها، بينما يعمل عدد كبري منهم مرتمجني ومرتمجات يف السفارات العربية واملستشفيات، وبعضهم يعملون موظفني حكوميني يف األمانة العامة جمللس النواب ووزارة اخلارجية، وكل ذلك من نتيجة بذل جهود األستاذ الشيخ أبو نعيم قاسم رمحه اهلل. وملا تويف األستاذ الشيخ أبو نعيم قاسم رمحه اهلل توىل بعده األستاذ برأسيت )عبد الرشيد( سارمحن رمحه اهلل مديرا للمدرسة، واستمر يف عمله حىت انتقل إىل ربه رمحه اهلل وغفر له وكانت واليته مديرا للمدرسة مدة سنتني فقط. بعدما عمل األستاذ عاروم سابسمان مدرسا يف هذه املدرسة مدة سنتني، توىل منصب مدير املدرسة يف عام 1994م. وكان األستاذ عاروم أحد تالميذ األستاذ الشيخ أبو نعيم قاسم رمحه اهلل، وهو خريج كلية الشريعة اإلسالمية باألزهر الشريف عام 1982م. مث يف عام 1997م توىل األستاذ ساماك )عبد اهلل( هيم مني رمحه اهلل مديرا للمدرسة، وبعدما تويف توىل بعده األستاذ كاسيم )قاسم( بونج باتيبان رمحه اهلل مديرا للمدرسة ملدة قصرية أيضا. بعد ما تويف األستاذ كاسيم بونج باتيبان رمحه اهلل، توىل بعده األستاذ راجنسيت )حنفي( جئ وان منصب مدير مدرسة إسالم بورانأساس، واستمر يف عمله كمدير للمدرسة حىت الوقت احلاضر، وأدى أمانته ببذل جهوده يف تدريس العلوم اإلسالمية واللغة العربية، طبقا للمناهج الدراسية مبعهد البعوث اإلسالمية باألزهر الشريف، بالتعاون مع أعضاء هيئة التدريس باملدرسة
معهد اسالم بورانأساس 35 الدراسية اللغة العربية والعلوم اإلسالمية. ويفد الطالب إليها من القرى واملناطق املختلفة من أحناء البالد، ويبدأ التدريس من الساعة التاسعة صباحا إىل الساعة الثالثة مساء. وقد أدت املدرسة رسالتها خري األداء، وأجنبت رجاال عاملني وداعني إىل اهلل، خصوصا يف حقل تدريس اللغة العربية والعلوم اإلسالمية، ويف مقدمتهم الشيخ األستاذ أبو نعيم قاسم رمحه اهلل مدير مدرسة إسالم بورانأساس سابقا، ّس يف هذه املدرسة ويف مدارس والشيخ األستاذ أنور وانج مساد رمحه اهلل املدر أخرى والداعي مبوسسة منار العلوم اخلريية يف مينبوري بانكوك، والشيخ األستاذ عمران مأكودي رمحه اهلل مدير املعهد العلمي الديين يف نونج شوك سابقا، والشيخ األستاذ برأسيت )عبد الرشيد( سارمحن رمحه اهلل مدير مدرسة إسالم بورانأساس سابقا، وغريهم من األئمة واخلطباء والدعاة ، منتشرين يف القرى واملناطق األخرى، وذلك بعد خترجهم من اجلامعات يف الدول العربية، خصوصا جامعة األزهر يف القاهرة، واجلامعة اإلسالمىة يف املدينة املنورة، مث ّفت املدرسة يف أداء رسالتها لفرتة من الزمن ألسباب غري موجوة. توق ويف عام 1965م، ملا خترج األستاذ الشيخ أبو نعيم قاسم رمحه اهلل من جامعة األزهر الشريف بالقاهرة، أعاد فتح أبواب املدرسة لتدريس اللغة العربية والعلوم اإلسالمية يف املرحلتني اإلعدادية والثانوية مرة أخرى، وقد أدت املدرسة رسالتها خري األداء كسابقتها، وزاد إقبال الطلبة عليها سنة بعد سنة، مما أدى إىل ضرورة بناء مبىن جديد يف عام1987م، مكون من ثالث طبقات وعشر غرف دراسية وغرفتني لإلدارة و املدرسني. وقد أجنبت املدرسة يف زمن الشيخ أبو نعيم قاسم رمحه اهلل عددا كبريا من الطالب والطالبات، وأكملوا دراستهم يف الدول العربية ، مثل جامعة األزهر الشريف واجلامعة اإلسالمية باملدينة املنورة وجامعة اإلمام األعظم يف بغداد
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 36 بسم اهلل الرحمن الرحيم نبذة عن مدرسة إسالم بورانأساس ) إحياء العلوم اإلسالمية ( احلمد هلل رب العاملني والصالة والسالم على أفضل األنبياء واملرسلني وعلى آله وصحبه أمجعني. فإن مدرسة إسالم بورانأساس ) إحياء العلوم اإلسالمية ( الواقعة يف قرية خلونج سيب مديرية نونج شوك بانكوك تايالند مدرسة دينية عربيــة أهــليـة، مل حتصل على أية مساعدة مالية من احلكومة التــايالنديـة، فمـيزانيـتها تأيت أساسا من تنظيم احلفل السنوي وتربعات فاعلى اخلري، ولــها منـاهـج خـاصة لتعليم اللغة العربيـة والعلوم اإلسالمية يف املرحلـتني اإلعدادية و الثانوية. واحلمد هلل لقد حصلت املدرسة على معادلة شهادهتا بالشهادة الثانوية جبامعة األزهر بالقاهرة، واجلامعة اإلسالمية باملدينة املنورة، وفيما يلي نبذة عن مدرسة إسالم بورانأساس. التأسيس : لقد أنشأت املدرسة مجاعة املسلمني يف قرية خلونج سيب مديرية نونج شوك بانكوك، وسجلت من قبل وزارة التعليم التايالندية يف عام 1937م تابعة ملسجد » سفري السالم ». وكانت املدرسة يف بادئ األمر لتعليم األوالد الصغار يف سن التعليم اإلجباري - صباحا ومساء- قراءة القرآن الكرمي ومبادئ الدين األساسية، فيما يسمى ب«فرض عني ». ويف عام 1937م خترج األستاذ الشيخ مشس الدين عمر رمحه اهلل من جامعة األزهر الشريف بالقاهرة بعد احلرب العاملية الثانوية، و أدخل يف املناهج
معهد اسالم بورانأساس 37
ISLAMBURANASAS IN BRIEF 38 نبذة عن مدرسة إسالم بورانأساس ) إحياء العلوم اإلسالمية ( ISLAMBURANASAS IN BRIEF โรงเรียนอิสลามบูรศาสน์โดยสังเขป