The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book_พระวินัยสงฆ์กับการพัฒนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by K.Nuttakorn, 2021-12-20 10:03:27

E-book_พระวินัยสงฆ์กับการพัฒนา

E-book_พระวินัยสงฆ์กับการพัฒนา

E-book

พระวนิ ยั สงฆ์กบั การพฒั นาสงั คมไทย

พระบญุ ยาวัฒน์ ฐติ มโน (เผ่าแกว้ )
รหสั นักศึกษา 6410510111009

พระธรรมวินยั หลักธรรมคำสอน

พระธรรมวินัยมีความสาคัญต่อการเก้ือกูลในการตรากฎหมายให้มี หลักธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้แก่ พระวินัยปิฎก ซึ่งเป็น
ความบริสุทธ์ิยุติธรรม หากกฎหมายมีการยึดถือตามแนวทางของพระธรรมวินัย ซึ่ง ข้อประพฤติปฏิบัติของภิกษุสงฆ์ พระสุตตันตปิฎก ซ่ึงเป็นเรื่องราวและเหตุการณ์ของ
เปน็ กศุ ลธรรมและมีความถูกต้อง บา้ นเมอื งย่อมจะเกิดสนั ตสิ ขุ อย่างแทจ้ ริง บุคคลต่างๆ ในคร้ังพุทธกาล พระอภิธรรมปิฎก ซ่ึงเป็นสภาวธรรมท่ีมีจริงหรือธรรมะที่มี
จริง (สจั ธรรม) ซ่งึ มสี ามัญลักษณะ 3 ประการ (ไตรลักษณ)์ คอื ไม่เทย่ี ง (อนิจจัง) เป็นทุกข์
พระธรรมวินัย คือ หลักธรรมคา (ทกุ ขัง) ไม่ใชต่ ัวตน บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ (อนตั ตา) โดยจาแนกสภาวธรรมเปน็ 2 ประเภท คือ
สอนของพระบรมศาสดา พระอรหันตสัมมาสัมพุทธ นามธรรมหรือนามธาตหุ รือนามขันธ์ ซึ่งเป็นสภาพรู้ประเภทหน่ึง และรูปธรรมหรือรูปธาตุ
เจ้า ผู้ทรงตรัสรู้ความจริงอันถึงที่สุด (อริยสัจธรรม) หรือรูปขันธ์ ซึ่งเป็นสภาพที่ไม่รู้แต่ถูกรู้อีกประเภทหน่ึง ก่อนท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะ
โดยพระองค์เองด้วยพระปญั ญาคุณและพระบริสุทธิ เสด็จดับขันธปรินิพพาน ทรงฝากพระพุทธศาสนาไว้กับพุทธบริษัททั้งหลายโดยไม่ได้ทรง
คุณ ทรงเผยแผ่หลักธรรมคาสอนด้วยพระมหา แต่งต้ังให้ผู้ใดเป็นศาสดาสืบแทน พระธรรมวินัยจึงเป็นศาสดาสืบแทนพระสัมมาสัมพุทธ
กรุณาคณุ ตลอดเวลา 45 พรรษา เพ่ือเก้ือกูลแก่สัตว์ เจ้าตัง้ แต่คร้งั หลงั พทุ ธกาลเป็นต้นมาจวบจนปัจจุบนั
โ ล ก ใ ห้ พ้ น ทุ ก ข์ จ า ก ก า ร เ วี ย น ว่ า ย ต า ย เ กิ ด
(สงั สารวฏั ) พัฒนาไปสู่การแก้ไขปัญหาอ่ืนๆ ท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ทาให้ชุมชนมี
ความสามารถทพ่ี ่งึ ตนเองได้และมีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี ึ้น เปนแบบอยางที่ดีแกสังคม พรอมกับ
พระธรรมวินัยจึงมีความล้าค่าและมีความสาคัญต่อการเกื้อกูล การพัฒนาความสัมพันธกับสังคมดวยการพัฒนา การสงเสริมกิจกรรมท่ีดีมีคุณคาใหต
ในการตรากฎหมายให้มีความบริสุทธ์ิยุติธรรม หากกฎหมายมีการยึดถือตาม อเนื่อง และตองยึดหลักการในการพัฒนาคือความเปนกลางทางการเมืองเปนผูใหสติ
แนวทางของพระธรรมวินัย ซ่ึงเป็นกุศลธรรมและมีความถูกต้อง บ้านเมือง และปญญาแก่สังคม และต้องอยู่เหนือความขัดแย้งพรอมกับการสรางภูมิคุ้มกันให สังคม
ยอ่ มจะเกดิ สนั ตสิ ขุ อยา่ งแทจ้ รงิ ด้วยการ ใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการปองกันความขัดแยงท่ีอาจเกิดขึ้นใหมใน
อนาคต

บทบำทของพระสงฆใ์ นสังคมไทย ทัศนะคตติ ่อพระสงฆ์

สงั คมไทยมีความใกลช้ ดิ กับพระพุทธศาสนาตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ความเข้าใจทว่ี ่าพระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนาคือผู้ที่ประพฤติปฏิบัติตามพระ
โดยจะมีความเก่ียวข้องกับพระสงฆ์อยู่เสมอไม่ว่าจะเป็นงานมงคล เช่น งานวันเกิด ธรรมวินัย บาเพ็ญพรตปฏบิ ตั ภิ าวนาอยแู่ ตใ่ นอารามนน้ั แต่ในความเป็นจริงพระสงฆ์มีชีวิต
งานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่ ฯลฯ หรือแม้กระท่ังงานอวมงคล เช่น งานศพ งาน ที่เก่ียวข้องกับคฤหัสถ์อยู่เสมอ เพราะปัจจัยในการดารงชีพของพระสงฆ์นั้นขึ้นอยู่กับ
ทาบุญอัฐิ เปน็ ตน้ ชาวบ้าน ด้วยชีวิตที่ยังต้องเกี่ยวข้องกับผู้อ่ืนที่เป็นชาวบ้านหรือคฤหัสถ์น้ีเอง จึงเป็นความ
จริงทีต่ อ้ งยอมรบั ว่า พระสงฆ์ไม่ไดห้ นไี ปจากสังคมแตป่ ระการใด
บางแห่งพระอาจเป็นหมอกลางบ้าน
เป็นเจ้าของตาราหมอยาพ้ืนบ้านตามภูมิปัญญา บทบาทหน้าที่ที่สาคัญของพระสงฆ์คือ การตอบแทนแก่ชาวบ้าน ซึ่งการ
ชาวบ้าน บทบาทก็มีความชัดเจนมากขึ้น แต่ ตอบแทนแก่ชาวบ้านนั้น พระสงฆ์จะทาตอบแทนอย่างไร แค่ไหน จึงจะเห็นสมควร
อย่างไรก็ตามท่ีจะกล่าวต่อไปน้ีเป็นเพียงข้อเสนอ เหมาะสม พอดีและพองาม ประเด็นที่ควรพิจารณาเพื่อกระตุ้นเตือนจิตใต้สานึกในการ
ไม่ใชค่ าตอบสาเรจ็ รปู แตเ่ ป็นเพียง ทางานพัฒนาของพระสงฆ์ ทีเ่ ข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ดังเช่นการมีส่วนร่วมมีการ
ร่วมประชุมในชุมชน ในเทศกาลและประเพณีต่างๆเช่น ประเพณีสงกรานต์ งานขึ้นปีใหม่
แนวคิดของบุคคลหนึ่งที่มีความสนใจในงานของพระสงฆ์ ตักบาตรทาบญุ การเทดิ พระเกยี รติ เปน็ ตน้
เกี่ยวกับบทบาทพระสงฆ์และพยายามที่ผลักดันบทบาทพระสงฆ์ให้เป็น
ประโยชน์ต่อสังคมและใหส้ ังคมมองเห็นประโยชน์น้ันเดน่ ชดั มากย่ิงขึ้น พัฒนาไปสู่การแก้ไขปัญหาอ่ืนๆ ท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ทาให้ชุมชนมี
ความสามารถท่ีพ่งึ ตนเองได้และมคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ขี ึ้น เปนแบบอยางทดี่ แี กสังคม พรอมกับ
การพัฒนาความสัมพันธกับสังคมดวยการพัฒนา การสงเสริมกิจกรรมที่ดีมีคุณคาใหต
อเนื่อง และตองยึดหลักการในการพัฒนาคือความเปนกลางทางการเมืองเปนผูใหสติ
และปญญาแก่สงั คม และต้องอยู่เหนือความขัดแย้งพรอมกับการสรางภูมิคุ้มกันให สังคม
ด้วยการ ใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการปองกันความขัดแยงที่อาจเกิดข้ึนใหมใน
อนาคต

บทบำทพระสงฆ์กับกำรพฒั นำชมุ ชน เหตุปัจจัยหากไม่มีการศึกษาเรียนรู้ความเข้าใจในเหตุปัจจัย เงื่อนไขให้
รู้เท่าทันแล้ว คงยากท่ีจะแก้ปัญหาของชุมชน ของสังคม ที่ว่าในสังคมเรามีปัญหาโดยได้
พระสงฆ์ คือ ผู้ซ่ึงสละแล้วซ่ึงภาวะความเป็นปัจเจกภาวะ แต่มีชีวิต กล่าวให้มีคาพูดที่สัมผัส เพ่ือให้จาง่ายแต่ไม่ได้หมายถึงเรียงความสาคัญก่อนหลัง เช่น
เพ่ือสังคหะภาวะ เพื่อชุมชนมีจิตวิญญาณเพ่ือชุมชน ต้องมีความรู้สึกที่เป็นชุมชน ปัญหาดา้ นส่งิ แวดล้อมเป็นพิษปัญหาด้านเศรษฐกิจ ปัญหาด้านสังคมล่มสลาย ปัญหาด้าน
( Community) เ พ ร า ะ ชี วิ ต ต้ อ ง มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง มี ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร การศึกษาสบั สนวุน่ วาย ปญั หาด้านการพัฒนาท่เี ล่อื นลอย หรือ ปัญหาด้านค่านิยมแบบรอ
(Communication) กันตลอดเวลาย่ิงในสมัยโบราณด้วยแล้ว วัดหรือพระสงฆ์จึง คอยบรโิ ภค เปน็ ตน้
กลายเป็นศูนย์กลางของชุมชน บุคคลผู้จะมาบวชน้ันต้องเป็นผู้มีสภาพที่สูง
(สถานะ) ทางสงั คม และเมื่อลาสกิ ขา (สกึ )ออกไปตอ้ งไปเป็นนักปกครอง นักบริหาร ปัญหาเหล่าน้ีเป็นปัญหาหลักของ
หรือเป็นผู้นาทางศาสนพิธี แต่ปัจจุบันนี้กับกลายเป็นผู้ด้อยโอกาสทางสังคม สังคมไทยเรา ที่รอคอยการแก้ไขอย่างถูกต้องและ
เศรษฐกิจ หลังจากเมืองไทยเราได้นาแนวคิดพัฒนามาจากคาว่า (Development) จริงจังแม้จะแก้ไขถูกต้องแต่ถ้าขาดความจริงจังก็
ซึ่งเป็นของชาวตะวันตกมาใช้เป็นฐานในการพัฒนา มีความยุ่งยาก สลับซับซ้อน แก้ไขไม่ได้ และต้องแก้ไขอย่างต่อเน่ืองอย่างเป็น
(Complexity) ในด้านของเง่ือนไข ระบบจึงจะสามารถจัดการแก้ปัญหาเหล่าน้ีได้
เพราะความเป็นโลกาภิวัตน์ และการับเอากระแส
โลกาภิวัตน์ท่ีขาดภูมิคุ้มกัน ส่ิงที่พัดพาไหลบ่ามา
ด้วยกค็ อื ข้อมูลข่าวสาร

เมื่อประชาชนของเราทบี่ ริโภคข้อมูลขา่ วสารทีข่ าดความรู้ความ
เขา้ ใจอยา่ งเทา่ ทันกบั ข้อมูลข่าวสาร เมอ่ื ขาดความรู้เท่าทันก็กลายเป็นการหลง
ข้อมลู ข่าวสาร ไม่ไดเ้ สพข่าวสารข้อมูลเพื่อการเรียนรู้แต่เสพเพ่ือเพิ่มความหลง
ความมวั เมา

บทบำทของพระสงฆ์ในปัจจุบนั 1.บทบำทด้ำนกำรปกครอง

บทบาทของพระสงฆ์โดยท่ีเริ่มจากบทบาทภายในของคณะสงฆ์แล้ว บทบาทด้านนี้มองจากการปกครองภายในของพระสงฆ์เองเป็นการ
ส่งผลต่อสังคมต่อชุมชนในวงกว้างมากย่ิงข้ึนสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ด้าน ได้แก่ ปกครองในเชิงลักษณะของหลักธรรมาภิบาล ดูแลกันโดยธรรม ปกครองกันแบบพ่อ
ปกครองลกู อาจารย์ปกครองศษิ ย์ดงั ปรากฏตัวอย่างทเ่ี ปน็ ต้นแบบใหเ้ ห็นชัดเจน คือหน้าท่ี
1. บทบาทด้านการปกครอง ของพระอปุ ัชฌาย์จะพึงปฏิบัติต่อสัทธิวิหาริก และหน้าท่ีของสัทธิวิหาริกท่ีจะพึงปฏิบัติต่อ
2. บทบาทด้านสุขภาพจิต พระอุปัชฌาย์ ตรัสส่ังให้พระอุปัชฌาย์และสัทธิวิหาริก ตั้งจิตสนิทสนมในกันและกันให้
3. บทบาทด้านการศกึ ษาและการสงเคราะห์ พระอุปัชฌาย์สาคญั สัทธิวหิ ารกิ ฉันบุตร ใหส้ ทั ธวิ หิ าริกนับถอื พระอุปัชฌาย์ฉันบดิ า
4. บทบาทด้านการเผยแผ่ และ
5.บทบาทดา้ นสาธารณูปการและสาธารณสงเคราะห์ ดังน้ี เมื่อเป็นเช่นนี้ต่างจะมีความเคารพ
เชื่อฟังกันและกันย่อมถึงซึ่งความเจริญงอกงามใน
ธรรมตรัสสั่งให้พระอุปัชฌาย์และสัทธิวิหาริกให้
เอื้อเฟ้ือประพฤติชอบต่อกัน หน้าที่ของสัทธิวิหาริก
เรียกว่าสิทธิวิหาริกวัตรและอาจริยวัตร หน้าที่ของ
ศิษยท์ จี่ ะพงึ ปฏบิ ตั ติ ่ออาจารย์เรียกว่าอันเตวสิกวัตร
หน้าท่ีของอาจารย์จะพึงปฏิบัติต่อศิษย์ทั้งสองฝ่าย
ตา่ งกเ็ ออื้ อาทรตอ่ กัน มไี มตรีจิตต่อกัน

ประเด็นที่สาคัญของการปกครองพระสงฆ์นั้นจะต้องปกครองเพ่ือให้
เกิดการศึกษาได้สะดวกที่เรียกว่า สัปปายะ การปกครองที่ดีที่เป็นไปตามพระธรรม
วินัยต้องให้เกิด ธรรมสัปปายะ คือให้สะดวกแก่การศึกษาธรรมปฏิบัติ คือการ
ปกครองต้องให้เอื้อต่อการศึกษาปกครองเพื่อให้เกิดการศึกษา เม่ือการศึกษาดี
การศึกษาเป็นเคร่ืองมือสร้างสัมมาทิฐิให้เกิดขึ้นได้แล้วก็จะทาให้การปกครองง่ายข้ึน
สะดวกข้นึ แลว้ ยงั สามารถเป็นตน้ แบบของการปกครองได้เปน็ อย่างดีด้วย

2. บทบำทดำ้ นสุขภำพจติ 2.1 พระสงฆใ์ นฐำนะผบู้ ำบดั รกั ษำ
ในปัจจุบันพระสงฆ์ก็มีบทบาทสาคัญต่อการรักษา เยียวยาปัญหาเก่ียวกับ
ตามข้อกาหนดของสานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข คือ การสร้างวัดให้เป็นสถานท่ีเกื้อหนุนต่อกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของทั้ง สุขภาพจิตอย่างมาก เช่นสานักเขาน้าพุ ได้มีข่าวดังเกรียวกราวเม่ือหลายปีก่อนเม่ือ
พระภิกษุ สามเณร และพุทธศาสนิกชน ด้วยความเกื้อกูลของชุมชน โดยหลักการ “5 ร.” พระสงฆ์ได้รับผู้ป่วยโรคเอดส์ที่ไร้ญาติขาดมิตรเพราะสังคมรังเกียจหรือเพราะความไม่
คอื ร่มรื่น ร่มเย็น ร่วมสร้าง ร่วมจิตวิญญาณ และร่วมพัฒนา เพ่ือการแก้ไขปัญหาสุขภาพ เขา้ ใจของสงั คม เน่ืองจากผู้ป่วยโรคนี้สังคมไม่ยอมรับ เป็นท่ีรังเกียจของคนในสังคมแม้แต่
อนามัยของคน ชุมชน และสังคม ครบถ้วนท้ังส่ีสุขภาวะ คือ กาย ใจ สังคม และจิต พ่อแม่เองก็ยากจะทาใจยอมรับได้ จึงทาให้ญาตินาผู้ป่วยไปฝากไว้ในที่นั้น เพ่ือลด
วญิ ญาณ และครบครนั ของความเปน็ ท้องถ่นิ นา่ อยู่ ค่าใช้จ่ายและภาระการดูแลผู้ป่วย แม้จะเป็นการบาบัดโรคทางกายมิใช่โรคทางใจอย่างที่
พระองคป์ ระสงค์แต่ก็พอจะสงเคราะห์เข้ากันได้ ถ้าหากร่างกายดีก็ส่งผลต่อทางด้านจิตใจ
บทบาทของพระสงฆ์ในงานด้านสุขภาพจิต ไม่ว่าจะเป็นการปองกัน ดว้ ย
ส่งเสริมสุขภาพจติ หรอื การบาบัดรักษาผู้มีปัญหาสุขภาพจติ มีอิทธิพลอย่างมากท้ังในด้าน
บวกและด้านลบ ท้ังเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมและอาจไม่เป็นท่ียอมรับของคนในอีก 2.2 พระสงฆ์ในฐำนะผู้สะเดำะเครำะห์ หมอผี หมอดู
สงั คมหน่งึ ก็ได้ อาจจาแนกบทบาทพระสงฆ์ในสงั คมท่เี ก่ียวกับสขุ ภาพจิตได้ ดังน้ี พระสงฆจ์ ึงมบี ทบาทในการทาให้ประชาชน

2.1 พระสงฆใ์ นฐานะผู้บาบัดรกั ษา ไดส้ บายใจ เป็นการทาการบาบัดโดยอาศัยความเชื่อไม่ต้อง
2.2พระสงฆใ์ นฐานะผ้สู ะเดาะเคราะห์ หมอผี หมอดู ใช้งบประมาณของทางราชการก็ทาได้ พระสงฆ์จึงมี
บทบาทต่อสังคมไทยเป็นอย่างมากท้ังในทางที่ถูกต้องตาม
หลกั การและนอกหลักการของศาสนา

จะเหน็ ได้ว่าสงั คมไทยสมยั กอ่ นยึดติดอยู่กับ
วัดกับพระสงฆ์จึงไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องสุขภาพจิตกัน แต่ทุก
วนั นี้คนเริม่ หา่ งวัด หาทางออกให้กับตวั เองไมไ่ ด้ สถติ ิผูป้ ่วย
โรคจิตโรคประสาทจึงเพิ่มขึ้นทุกปี อย่างไรก็ตามพระสงฆ์ก็
มีพระธรรมวินัยเป็นขอบเขตในการประพฤติปฏิบัติหน้าที่
ทางสังคมเช่นกัน การป องกันสุขภาพจิตตามหลัก
พระพุทธศาสนา

3. บทบำทดำ้ นกำรศึกษำและกำรศึกษำสงเครำะห์ 5.บทบำทด้ำนสำธำรณูปกำรและสำธำรณสงเครำะห์

ต้งั แต่อดีตมาจนถงึ ปัจจุบันพระสงได้ทาหน้าที่อนุเคราะห์ในด้านการศึกษา บทบาทด้านนี้ของพระสงฆ์นับว่ามีความสาคัญไม่น้อย เพราะต้องคานึงถึง
ทัง้ ส่วนท่ีจัดการศกึ ษาเองโดยตรงโดยเฉพาะยิ่งในสว่ นที่ทางรฐั บาลไมส่ ามารถจัดการศึกษา ความเป็นเอกลักษณ์แห่งความเป็นพระพุทธศาสนาอยู่ในที่ด้วย เช่นการสร้างวัด ศาสน
บริการไดท้ ่วั ถึงอนั ได้แก่ กลุ่มประชากรดอ้ ยโอกาสทางสงั คม ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจเป็น วัตถุต้องให้เป็นเอกลักษณ์ที่ดารงไว้ซึ่งความเป็นพุทธคาว่าความเป็นไทยนั้นหมายถึงส่ิง
เหตุให้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ก็ได้อาศัยพระสงฆ์ให้การศึกษาในขณะท่ีศึกษา และอีกท่ี เดียวกันเพราะความเป็นไทยมาจากรากฐานของความเป็นพุทธมาจากรากฐานแห่ง
จัดอย่างไมเ่ ป็นระบบอาจเป็นลักษณะการใหท้ ุนสนบั สนนุ การศึกษา ความคิดอันเป็นพุทธพระสงฆ์ต้องเป็นแบบอย่างในเชิงของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไว้
เพราะวัฒนธรรมคือวิถีชีวิต บทบาทพระสงฆ์ด้านสาธารณสงฆ์สงเคราะห์ เรายังได้เห็น
การใหท้ นุ สนับสนุนในการสรา้ งอาคารเรียน ให้ทุนซ่ือสื่อการเรียนการสอน ชัดเจนว่า พระสงฆ์ท่ีมีบารมีเป็นเอกลาภมากๆ ท่านไม่ได้เก็บไว้เพียงท่านเอง หากแต่ได้
อุปกรณ์ในการศึกษา ให้ทุนการเรียนให้กับครูเพื่อพัฒนาครูในสาขาท่ีขาดแคลนให้ ช่วยสร้างโรงพยาบาล ทีว่ ่าการอาเภอ ศาลาท่ีประชมุ ศาลาพกั รมิ ทาง บอ่ นา้ สะพาน
ทุนการศกึ ษาแกเ่ ดก็ ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์
บทบำทดำ้ นกำรปกครอง
4.บทบำทดำ้ นกำรเผยแผ่
บทบำทดำ้ นสำธำรณปู กำร บทบำทดำ้ นสุขภำพจิต
บทบาทด้านน้ีพระสงฆ์ได้รับมอบหมายจากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ และสำธำรณสงเครำะห์
เจ้าโดยตรง เพราะหน้าที่ของพระสาวกคือหน้าท่ีศึกษาเรียนรู้หน้าที่คาสอนให้เกิดความรู้
ความเข้าใจแลว้ ปฏิบัตติ ามพระธรรมคาสัง่ สอน และต้องสอนผอู้ ืน่ ให้ปฏิบตั ติ ามด้วยน้ีจึงได้ บทบำทด้ำนกำรเผยแผ่ บทบำทดำ้ นกำรศกึ ษำและ
ชื่อว่าพระสงฆ์สาวก การให้การอบรมการสอน การเผยแผ่เป็นหน้าที่หลักของพระสงค์ที กำรศึกษำสงเครำะห์
สาคัญที่พระสงฆ์ปฏิบัติมาเป็นปกติอยู่แล้ว ท้ังที่เรียกว่าการเทศน์ แสดงธรรมหรือการ
ปาฐกถาก็ตามซึ่งประชาชนท่ัวไปให้ความเคารพและสนใจที่จะฟังสาระท่ีพรสงฆ์เป็นผู้ให้
อยู่แล้วและนับเป็นการศึกษาที่เข้าถึงประชาชนชาวบ้านได้อย่างกว้างขวางส่วนในเนื้อหา
สาระทพี่ ระสงฆใ์ หแ้ ก่ประชาชน


Click to View FlipBook Version