The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannika, 2023-09-20 04:03:49

เลียดก๊กเล่มสี่

อุดมการณ์ของนักสัญจรบนหน้ากระดาษ ผู้พิศมัยแสวงหาความรู้และภูมิปัญญาใหม่มาบรรณาการนักอ่าน


เล่มท่ 4

(พงศาวดารจีน)


คณะผู้แปลในรัชกำลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แปล
เลขมำตรฐำนสำกลประจ�ำหนังสือ 978-616-301-194-7
พิมพ์ครั้งแรก : ยิปซี ส�ำนักพิมพ์, กันยำยน 2556
รำคำชุดละ 1,800 บำท


ข้อมูลทำงบรรณำนุกรม
เลียดก๊ก.-- กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป, 2556.
2320 หน้ำ.
1. นวนิยำยจีน I. คณะผู้แปล สมัยรัชกำลที่ 2, ผู้แปล II. ชื่อเรื่อง.
895.13



จัดพิมพ์โดย บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จ�ำกัด ประธำนกรรมกำร คธำวุฒิ เกนุ้ย รองประธำนกรรมกำร
นุชนันท์ ทักษิณำบัณฑิต ผู้จัดกำรทั่วไป เวชพงษ์ จันสด ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด ชิตพล จันสด
ฝ่ำยธุรกำร พรรณิกำ ครโสภำ จิรำภรณ์ บุญช่วย คณิตำ สุตรำม ดำรียำ ครโสภำ
ฝ่ำยงบประมำณ รำตรี อิงคะละ นพรัตน์ สุรพล


ที่ปรึกษำส�ำนักพิมพ์ สถำพร ศรีสัจจัง วรภ วรภำ นิรัติ หมำนหมัด สำโรจน์ มณีรัตน์
ยิปซี ส�ำนักพิมพ์ : บรรณำธิกำรอ�ำนวยกำร เริงวุฒิ มิตรสุริยะ บรรณำธิกำรบริหำร สังคม จิรชูสกุล
คณะบรรณำธิกำร มุกรินทร์ แพรกนกแก้ว ชมพร ไชยล้อม ปุริษำ ตำสำโรจน์
ผู้จัดกำรกองบรรณำธิกำร อรทัย ดีสวัสดิ์ กองบรรณำธิกำร อรรถสิทธิ์ เกษรรำช ชัยวัฒน์ วงศ์นภดล
กิตติพงษ์ คัดทะจันทร์ ไพฑูร บุญมำเลิศ สุรศักดิ์ ศักดิ์สันเทียะ ณัฐพล มณีด�ำ ด�ำรง โกยทอง
ศิลปกรรม Tarot team


พิมพ์ที่ บริษัท เอส. เค. เอส. อินเตอร์พริ้นต์ จ�ำกัด 16 ซอยมำเจริญ 1 แยก 3 แขวงหนองค้ำงพลู
เขตหนองแขม กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2812-0597 โทรสำร 0-2812-0587
จัดจ�ำหน่ำยโดย บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จ�ำกัด 37/145 รำมค�ำแหง 98 แขวงสะพำนสูง เขตสะพำนสูง
กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2729-3537 โทรสำร 0-2729-3537 ต่อ 108
เว็บไซต์ www.gypsygroup.net


สงวนสิทธิ์ตำมพระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์


คณะผู้แปลในพระราชด�าริของ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัยผู้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์



เสมือนค�ำน�ำ : คุณค่ำแห่งวรรณกรรมท่ควรอนุรักษ์



“เลียดก๊ก” แปลเป็นภาษาไทยในสมัยรัชกาลที 2 และเป็น 1 ใน 34 หนังสือ



พงศาวดารจีนทีได้รับการแปลนับแต่สมัยรัชกาลที 1 ถึงรัชกาลที 6 ของกรุง

รัตนโกสินทร์


เนือหาและเรืองราวว่าด้วยการเมืองการปกครองของจีนในสมัยราช
วงศ์โจว (ในหนังสือเลียดก๊ก เรียกว่า ราชวงศ์จิว) โดยเริมตังแต่รัชสมัยของ


พระเจ้าชวนอ๋องกระทังถึงรัชสมัยของพระเจ้าจิวเสียงอ๋อง

หากย้อนเวลาไปดูประวัติศาสตร์จีนทีแท้จริงแล้วก็กล่าวได้ว่าเรืองราว



ทีปรากฏในหนังสือเลียดก๊ก ฉบับนีเป็นเรืองของประวัติศาสตร์จีนในสมัยที ่


นักประวัติศาสตร์เรียกว่า ยุคโจวตะวันออก ซึ่งในยุคโจวตะวันออกนี้ถูกแบ่ง
ออกเป็นยุคย่อยอีกสองยุค นันคือ ยุคชุนชิว (ใบไม้ผลิ) และยุคจ้านกว๋อ

(เลียดก๊ก)




กระนันในเนือเรืองของหนังสือในช่วงต้นได้ย้อนกลับไปยังจุดสินสุด
ของสมัยโจวตะวันตกรวมอยู่ด้วย



ในการด�าเนินการแปล พงศาวดารจีนเรือง “เลียดก๊ก” ซึงเกิดขึนใน

สมัยรัชกาลที 2 นันนักประวัติศาสตร์และนักวรรณคดีของไทยถือกันว่าการ

ด�าเนินงานในการแปลในครังนันนับได้ว่าเป็นการท�างานทีถือว่าเป็น “งาน



ระดับชาติ” ทังนีเพราะนอกเหนือจากผู้ทรงด�าริหรือองค์อุปถัมภ์จะเป็นพระเจ้า


แผ่นดิน คือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แล้วคณะผู้แปลอัน

ประกอบด้วยนักปราชญ์ผู้ทรงความรู้ทังฝ่ายจีนและฝ่ายไทยรวมกันถึง 12


คน ซึงถือว่ามากและยิงใหญ่พอสมควร ก็ท�าให้ภาพของการด�าเนินงานการ


แปลหนังสือในครังนันมีความยิงใหญ่จนเป็นทีจดจ�ากัน


4
( )


ไม่ต่างจากการท�างานตามพระราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระพุทธ





ยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที 1 ในครังทีทรงสังให้มีการแปลพงศาวดารจีน



อันถือเป็นปฐมในรัชสมัยของพระองค์ 2 เรืองนันคือ เรือง สามก๊ก และ

ไซ่ฮัน



ทีส�าคัญผลงานพงศาวดารจีนเรือง สามก๊ก ทีมี เจ้าพระยาพระคลัง
(หน) เป็นผู้อ�านวยการแปล และ กรมพระราชวังบวรมหาเสนาภิมุข (เจ้าทอง


อินทร์ กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ หรือวังหลัง) ทรงอ�านวยการแปลเรือง “ไซ่ฮัน”
ยังกลายเปนผลงานอันทรงคาและไดรับค�าชื่นชมกันอยางมากยิ่งดวยแลว ก็







ยิงกลายให้เป็นแรงกดดันให้การแปลพงศาวดารจีนเรือง “เลียดก๊ก” ซึงเกิดขึน






ในรัชสมัยต่อมามีความส�าคัญและเป็นทีสนใจอย่างยิงเพิมขึนไปอีก

นอกจากนัน ตามข้อสันนิษฐานของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชา

นุภาพในเวลาต่อมา ทีมองว่าจุดประสงค์ของการแปลหนังสือพงศาวดารจีน







ทีเกิดขึนในสมัยรัชกาลที 1 และที 2 นัน เป็นไปเพือ”ประโยชน์บ้านเมือง”

ก็ยิงท�าให้การท�างานต้องเป็นไปอย่างเคร่งครัดและมีระเบียบกฎเกณฑ์ทีเข้ม

แข็งแม่นมันอย่างแน่นอน

ดังที่ได้กล่าวมาว่า เมื่อ “สามก๊ก” และ “ไซ่ฮั่น” กลายเป็นหนังสือแปล

ทีทรงคุณภาพแล้ว ผู้รับภาระรับผิดชอบในการแปลหนังสือเล่มหลังๆ มาจึง

จ�าต้องท�างานให้ออกมาได้ดีหรือดียิงกว่าผลงานเล่มก่อนให้ได้

ปรากฏนามผู้รับสังให้เป็นพนักงานการแปลล้วนเป็นผู้มีศักดิสูงและ

ทรงความสามารถถึง 12 ท่าน ประกอบไปด้วย กรมหมืนนเรศโยธี, เจ้าพระยา


ยมราช, เจ้าพระยาวงษาสุรียศักดิ, พระยาโชดึกราชเศรษฐี, ขุนท่องสือ,


จหมืนไวยวรนารถ, นายเล่ห์อาวุธ, นายจ่าเรศ, หลวงลิขิตปรีชา, หลวงญาณ
ปรีชา, ขุนมหาสิทธิโวหาร และหลวงวิเชียรปรีชา
5
( )




ด้วยความโดดเด่นของ สามก๊ก และไซ่ฮัน ทีปรากฏมาก่อนหน้านัน

ย่อมถูกน�ามาใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินงานในการแปลครังหลัง จึงไม่ใช่

เรืองแปลกดังทีเราได้พบว่า ในเรืองของส�านวนภาษาของเลียดก๊ก จะปรากฏ



ออกมาเป็นท�านองเดียวกับ สามก๊ก นั่นคือ ใช้ภาษาง่าย มีภาษาเรียบเรียงอย ู่
ในชันดี มีการตังข้อสังเกตว่า อาจจะถือเป็นธรรมเนียมการแปลในรัชกาลที ่




2 ก็ได้ว่า ให้ยึดถือ สามก๊ก และ ไซฮัน ในรัชกาลที 1 เป็นต้นแบบ ท�าให้
ส�านวนต่างๆ คล้ายคลึงกัน

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดให้แปลเรือง เลียดก๊ก

เมือ พ.ศ.2362 เสร็จสินออกมาเป็นหนังสือ 153 เล่มสมุดไทย ในเวลาต่อมา



ได้มีการจัดพิมพ์ออกมาครังแรกใน พ.ศ. 2413 ในสมัยรัชกาลที 5 โดยเป็น
สมุดไทยจ�านวน 5 เล่ม จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์หมอบรัดเลย์




หลังจากนันหนังสือเล่มนีก็ได้รับการน�ากลับมาตีพิมพ์ซ�าอีกหลายครัง







และหลายส�านักพิมพ์ ครังทีส�าคัญครังหนึงคือเมือครังทีองค์การค้าครสภา




ได้รวบรวมน�าผลงานพงศาวดารจีนทีแปลเป็นไทย จ�านวน 34 เรืองตามการ
ส�ารวจของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ มาจัดพิมพ์ใหม่ออกมาเป็น


หนังสือ 35 เรือง พงศาวดารจีนเรือง เลียดก๊ก นีก็จัดเป็น 1 ในจ�านวนนี ้

ด้วย โดยได้พิมพ์ในนามองค์การค้าคุรุสภาครังแรกใน พ.ศ. 2506 จัดแบ่ง

ออกเป็นหนังสือจ�านวน 12 เล่ม
และครั้งนี้นับเป็นอีกครั้งหนึ่งที่ ยิปซี ส�านักพิมพ์ ได้น�าพงศาวดารจีน



เรือง เลียดก๊ก กลับมาพิมพ์ใหม่ ทังนีเพราะเห็นว่าหนังสืออันทรงคุณค่านีห่าง

หายไปจากท้องตลาดและห้องสมุดนานพอควรแก่เวลาแล้ว
แม้ทีผ่านมาจะปรากฏว่ามีนักปราชญ์หรือผู้รู้หลายท่านได้แปล

พงศาวดารจีนเรือง เลียดก๊ก ออกมาใหม่ ตามส�านวนต่างๆ ออกจ�าหน่าย

6
( )




บ้าง กระนัน ยิปซี ส�านักพิมพ์ก็ยังคงยืนยันทีจะจัดพิมพ์ “เลียดก๊ก” ตาม
ส�านวนทีได้มีการแปลกันขึนมาในสมัยรัชกาลที 2 เล่มนี ทังนีเพราะเห็นว่า








นอกจากความส�าคัญในเรืองเนือหาของหนังสือแล้ว ในฐานะทีหนังสือผลงาน

แปลเล่มนี เป็นผลงานทียืนยงผ่านกาลเวลา อีกทังมีลักษณะเฉพาะนันคือ มี




การตังกองคณะแปลและมีการเรียบเรียง ขัดเกลา ให้เข้ากับขนบประเพณี




ของคนไทย ทีส�าคัญด้วยระยะเวลาทีงานเล่มนีสามารถยืนยงมาจนผ่านกาล
เวลาและแปรสภาพจากความเป็นวรรณกรรมของจีนมาเป็นวรรณคดีของ

ไทยไปแล้ว หนังสือแปลส�านวนนีจึงถือว่ามีคุณค่าควรแก่การเก็บรักษาและ
อนุรักษ์เอาไว้ทีสุด

พงศาวดารจีนกับสังคมการอ่านของไทย
สมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชนุภาพเคยส�ารวจหนังสือพงศาวดารจีน

ทีได้แปลและพิมพ์ เป็นภาษาไทยตังแต่รัชกาลที 1 ถึง รัชกาลที 6 พบว่ามี




จ�านวนถึง 34 เรือง แยกแปลตามรัชกาลได้ดังนี ้
แปลในรัชกาลที 1 เรือง ไซ่ฮัน สามก๊ก






แปลในรัชกาลที 2 เรือง เลียดก๊ก ห้องสิน ตังฮัน และไม่ปรากฏว่ามี


พงศาวดารจีนเรืองใดแปลในสมัยรัชกาลที 3





แปลในรัชกาลที 4 เรือง ไซ่จิน ตังจิน น�าซ้อง ซุยถัง น�าปักซ้อง



หงอโต้ว เม่งเฉียว บ้านฮวยเหลา โหงวโฮ้วเพงไซ โหงวโฮ้วเพ็งหน�า ซวยงัก
ซ้องกัง

แปลในรัชกาลที 5 เรือง ไคเภ็ก ส้วยถัง เสาปัก ซิยินกุ้ยเจงตัง


ซิเตงซันเจงไซ เองเลียดต้วน อิวกังหน�า ไตัอั้งเผา เซียวอั้งเผ่า เนียหน�าอิดซือ
7
( )




เม่งมวดเซงฌ้อ ไซอิว เปาเล่งถูกงอัน
และแปลในรัชกาลที 6 เรือง เชงเฉียว ง่วนเฉียว บูเช็กเทียน และ


โหงวโฮ้วเพงปัก


กล่าวกันว่า ในจ�านวน 34 เรืองทีกล่าวมานี ไม่มีส�านวนหรือเรือง




ใดจะดีเท่าพงศาวดารจีนเรือง สามก๊ก ทีเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เป็น

ผู้อ�านวยการแปล โดยเห็นได้จากทีกระทังถึงปัจจุบัน หนังสือ สามก๊ก ฉบับ

เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ยังได้รับความนิยม และน�ามาตีพิมพ์ซ�าอย่างต่อ


เนือง อีกทังยังเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดเรืองสามก๊ก ฉบับต่างๆ ทังร้อย




แก้วและร้อยกรองอีกมากมาย ทีส�าคัญทีสุด สามก๊ก ฉบับ เจ้าพระยา


พระคลัง (หน) ยังเป็นทียอมรับของนักกวีทุกยุคทุกสมัย จนวรรณคดีสโมสร


ในรัชกาลที 6 ได้ตัดสินให้ “สามก๊ก” เป็นยอดของความเรียงเรืองนิทาน



สามก๊ก และไซฮัน นับเป็นหนังสือพงศาวดารจีน 2 เรืองแรกทีได้
รับการแปลมาเป็นภาษาไทย ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ โดยเกิดขึนในรัชสมัย


พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที 1
มีค�าบอกกล่าวเล่ากันสืบมาว่า พระองค์มีพระราชด�ารัสให้แปล
พงศาวดารจีนเป็นภาษาไทยสองเรือง โดยโปรดให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ

กรมพระราชวังบวรมหาเสนาภิมุข (เจ้าทองอินทร์ กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์
หรือวังหลัง) ทรงอ�านวยการแปลเรือง “ไซ่ฮัน” และเจ้าพระยาพระคลัง (หน)


อ�านวยการแปลเรื่อง “สามก๊ก” กล่าวกันว่า ในการแปลวรรณกรรมจีนมาเป็น






ไทยในครังนัน นับเป็นงานระดับชาติ ทังนีก็เนืองจากเป็นงานทีเกิดจากพระ
ราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก




อีกทัง ทีถือเป็นเรืองใหญ่หรือ “งานระดับชาติ” อีกเหตุหนึงก็เพราะ

วิธีการด�าเนินงาน ทีมิได้มีการแปลเพียงคนเดียวหรือเป็นส่วนตัว หากแต่
8
( )



ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกันในหลายขันตอนด้วยกัน คือ ต้องอาศัยกลุ่ม
บุคคลจ�านวนหนึงซึงเป็นผู้ช�านาญภาษาจีนมาแปลเนือความจากต้นฉบับภาษา





จีน แล้วให้เสมียนจดลงเพือเป็นทีเข้าใจของคนไทย และมีผู้ช�านาญภาษาไทย
อีกกลุ่มหนึงเรียบเรียงเนือความเป็นภาษาไทยทีเรียบร้อยถูกต้องตามหลัก



ภาษา สอดคล้องกับความเข้าใจตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของคนไทย

โดยมีผู้อ�านวยการแปลท�าหน้าทีควบคุมให้การด�าเนินงานเป็นไปด้วยความ



เรียบร้อย และมีหน้าทีพิจารณาขันสุดท้ายเมือเรียบเรียงไปได้แต่ละตอนแล้ว
และถ้ามีปัญหาอย่างใดอย่างหนึงก็ท�าหน้าทีชีขาดเพือให้ยุติลงได้ ดังนันผู้ที ่





ท�าหน้าทีผู้อ�านวยการแปลจึงต้องมีความรู้ทางภาษาและวรรณศิลป์เป็นอย่าง

ดี และมีบารมีพอทีจะเป็นทีเกรงใจของทุกฝ่าย





เรียกว่า อย่างน้อยจะต้องมีผู้เข้าเกียวข้องไม่ต�ากว่า 2-4 ฝ่าย นันคือ
ผู้อุปถัมภ์การแปล ผู้แปล ผู้เรียบเรียงและผู้ขัดเกลาภาษาส�านวน
และด้วยเพราะผู้อุปถัมภ์การแปลเป็นองค์พระมหากษัตริย์เอง พร้อม
พรังไปด้วยนักปราชญ์ทังฝ่ายจีนและยังต้องมีนักปราชญ์ฝ่ายไทยเป็นผู้จัด




เรียบเรียงและเกลาส�านวน ผลงานทีปรากฏออกมาจึงมีความประณีตกระทัง
กลายเป็นแบบฉบับของการแปลเรืองจีนในเวลาต่อมา


ปรากฏว่าการทีพระเจ้าแผ่นดินทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ในการแปลนอก

เหนือจากในสมัยรัชกาลที 1 แล้ว ในสมัยรัชกาลที 2 ก็ยังทรงเป็นองค์


อุปถัมภ์ต่อมา ซึงปรากฏว่า ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า

นภาลัย พระองค์ก็ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ให้มีการแปลพงศาวดารจีนขึนมาอีก
3 เรือง ประกอบไปด้วย เลียดก๊ก ห้องสิน และตั้งฮั่น



รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 3 กลับ
ไม่ปรากฏว่าให้มีการแปลวรรณกรรมจีนออกมา และมาเริมเห็นการแปล

9
( )


ู่
วรรณกรรมจีนกันใหม่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหัว รัชกาล

ที 4 และรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 5 หากแต่




ใน 2 รัชสมัยหลังนี กลับมีการเปลียนแปลงไปจากแรกเดิมนังคือ ผู้อุปถัมภ์
กลับไม่ใช่พระเจ้าแผ่นดิน หากแต่ลงมาเป็นข้าราชการชันสมเด็จเจ้าพระยา

และเจ้าพระยาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ เจ้าพระยาทิพากร

วงศ์ เจ้าพระยาภาณุวงศ์ มหาโกษาธิบดี และปรากฏมีชันหลวงอยู่อีกผู้หนึง

คือ หลวงพิศาลศุภผล
ไม่เพียงเท่านันจ�านวนผู้แปลก็ดูเหมือนจะลดลง โดยปรากฏว่าในบาง

เล่มมีชือผู้แปลอยู่เพียง 1 คนบ้างหรือ 2 คนบ้าง และบางครังก็ไม่ปรากฏ






นามผู้แปล อาจมีเพียงบางเล่มเท่านันทีปรากกฎชือชัดเจน เช่นเรือง ซุยถัง ที ่
เขียนเอาไว้ชัดว่า เจ้าพระยาทิพากรวงศ์เป็นผู้อุปถัมภ์การแปล โดยมีผู้แปล
คือ จีนปั้นกิมกับจีนแพง และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (จี) เป็นผู้เรียบเรียง


อีกชัน เป็นต้น

ครันมาถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล
ที 6 ผู้อุปถัมภ์การแปลก็ยิงลดชันลงมาอีก โดยปรากฏว่า ในจ�านวน 4 เรือง






ทีถูกนับเนืองเข้ามาอยู่ในชุด 34 เล่มของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ

และคุรุสภาได้รวบรวมจัดพิมพ์ออกทังหมดในเวลาต่อมานี มีผู้อุปถัมภ์การ


แปลเป็นสามัญชนโดยมีทังเจ้าของโรงพิมพ์ และคณะหนังสือพิมพ์

ทีส�าคัญจุดประสงค์ในการแปลก็แตกต่างกันไปตามยุคสมัย กล่าวคือ
ในสมัยรัชกาลที 1 และ 2 มีจุดประสงค์ทีเป็นไปอย่างชัดเจนว่า “เพือประโยชน์



ราชการบ้านเมือง” มาในสมัยรัชกาลที 4 และ 5 ก็ปรากฏจุดประสงค์ชัดเจน





ว่า “เพือความบันเทิง” และในสมัยรัชกาลที 6 ก็ชัดยิงขึนว่า “เพือการค้า”

ไม่ว่าหนังสือแปลพงศาวดารจีนทีกล่าวมานีจะมีจุดประสงค์เช่นไร


( 10 )







หากแต่เมือมาถึงปัจจุบันนีทีหนังสือหลายเรืองได้รับการจัดพิมพ์และตีพิมพ์ซ�า
กระทังมีการรวบรวมพิมพ์ออกมาเป็นชุดชัดเจนโดยองค์การค้าคุรุสภาออกมา


เป็นหนังสือ 35 เรืองนีได้กลายมาเป็นสมบัติทางวรรณกรรม วรรณคดีของ

ชาติไทยไปแล้วโดยปริยาย


แน่นอนว่าในจ�านวนนีอาจมีบางเล่มทีมีเนือหาหรือสาระทีโดดเด่น


กว่าอีกบางเล่ม และมีหลายเล่มทีภาษาและวรรณศิลป์ดีเด่นกว่าเล่มอืน แต่




กระนันในแง่ของประวัติวรรณกรรมแล้วหนังสือทังหมดล้วนทรงคุณค่าและ
น่าแสวงหามาอ่านมาเก็บเอาไว้เป็นสมบัติทางภูมิปัญญาสืบต่อไป
เลียดก๊ก กับ เหตุแห่งการจัดพิมพ์



กล่าวเฉพาะหนังสือเล่มทีอยู่ในมือของผู้อ่านในเวลานี คือ พงศาวดาร


จีนเรือง “เลียดก๊ก” ซึงในครังนีจัดพิมพ์ขึนโดย “ยิปซี ส�านักพิมพ์” แน่นอน





ทีสุดว่าในชันต้นนัน ย่อมเป็นไปเพือการค้าโดยตรง ซึงก็เป็นไปตามระบบและ



กลไกของการจัดพิมพ์หนังสือสู่ตลาดและผู้อ่านในปัจจุบัน หากแต่ทีนอกเหนือ


ไปกว่านันก็คือ ด้วยความตระหนักและเห็นถึงคุณค่าของหนังสือพงศาวดาร
จีนเรืองนี ซึงมองว่า ด้วยเนือหาและสาระของหนังสือทียังคงมีคุณประโยชน์





ในด้านต่างๆ ต่อคนอ่านในปัจจุบัน อีกทังหนังสือเล่มนีก็ขาดหายไปจากท้อง


ตลาดและแวดวงการอ่านไปนานพอสมควรแล้ว คนรุ่นหลังคิดจะหามาอ่านก็

หาเล่มฉบับพิมพ์ครังก่อนๆ มาอ่านยากอยู่ ท�าให้ ยิปซี ส�านักพิมพ์ ตัดสินใจ

น�าหนังสือ พงศาวดารจีนเรือง “เลียดก๊ก” ฉบับแปลในสมัยรัชกาลที 2 นี ้

กลับมาจัดพิมพ์อีกครั้งหนึ่ง ไม่เพียงเท่านั้น ยิปซี ส�านักพิมพ์ยังตั้งความหวัง

เอาไว้อีกว่า หากมีโอกาสแล้ว จะด�าเนินการจัดพิมพ์พงศาวดารจีนเรืองอืนๆ

( 11 )





ออกมาให้ต่อเนือง และครบครันเพือให้ผู้อ่านและผู้ทีสนใจสามารถจัดเก็บ
และอนุรักษ์หนังสือชุดนีเอาไว้เพือสืบทอดสู่คนรุ่นหลังได้


เกิดค�าถามว่า เหตุใดจึงต้องพิมพ์เรือง “เลียดก๊ก” ออกมาเป็นปฐม


ทังทีในจ�านวนหนังสืออันทรงคุณค่าชุดนี ยังมีเล่มอืนๆ ทีเป็นประโยชน์ไม่




แตกต่างกัน?

ค�าตอบก็คือ เพราะ นอกเหนือจากเหตุผลทีกล่าวมาแต่ต้นแล้ว เหตุ

ทีต้องจัดพิมพ์ “เลียดก๊ก” ออกมาเป็นปฐม ก็เพราะ “เลียดก๊ก” ถือหรือถูก


นับว่าเป็นงานแปลระดับชาติทีเกิดขึนมาเล่มหนึงในสมัยรัชกาลที 2 อันนัก



วรรณคดีถือว่าเป็นยุคสมัยแห่งความรุ่งเรืองทางวรรณคดีสมัยหนึงของไทย

อีกทังด้วยความเหมาะสมในอีกหลายประการท�าใหหนังสือเลมนีถูกคัดเลือก





ออกมาจัดพิมพ์ในนามของส�านักพิมพ์เป็นเล่มแรก ซึงหวังว่าเล่มอืนๆ จะ

ติดตามมาในโอกาสต่อไป



สิงทีควรกล่าวถึงและควรสนใจส�าหรับ “เลียดก๊ก” ก็คือ เนือหาสาระ


ของเรืองราวทีปรากฏในหนังสือเล่มนี ดังทีได้กล่าวไปแล้วว่า เลียดก๊ก เป็น



เรืองราวอิงพงศาวดารจีนในสมัยราชวงศ์โจวหรือจิว กินเวลาในสมัยตอน

ปลายของยุคโจวตะวันตกถึงสินสุดสมัยจ้านกว๋อ (เลียดก๊ก) ผ่านช่วงเวลา

สืบทอดกันหลายรัชสมัย ในหนังสือเล่มนีใช้วิธีการเรียบเรียงเรืองราวแบบเล่า



ต่อเนืองกันไป ตามขนบของการเขียนความเรียงในสมัยโบราณ นันคือ ผู้อ่าน

ตองพิจารณาเอาเองวา สวนใดคือการบรรยายความ ส่วนใดคือบทสนทนาของ



ตัวละคร หรือส่วนใดคือส่วนของการด�าเนินเรือง
เนือหาทีน�าเสนอ เป็นเรืองของการชิงไหวชิงพริบในสังคมการเมืองของ



รัฐต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย แม้ในตอนหลังจะเหลือรัฐใหญ่ๆ เพียงไม่กี่รัฐก็ตาม
แต่กระนันก็ไม่พ้นจากประเด็นของการแสวงหาอ�านาจและความส�าเร็จของ

( 12 )




บรรดาผู้น�าแห่งรัฐต่างๆ ไม่เพียงเท่านันหนังสือเล่มนียังสอดแทรกอรรถรส


อันหลากหลายในประเด็นเรืองราวของวิธีคิดมากมายหลายด้าน ไม่ว่าเรืองของ



การใช้ชีวิต หรือเรืองของการใช้อ�านาจ และเรืองอืนๆ ทีผู้อ่านจะสามารถเก็บ




รับเอาอรรถรสอันหลากหลายได้อย่างสนุกสนาน มีครบครันทังเรืองตืนเต้น

เรืองเศร้าสร้อย เรืองรักเรืองใคร่ และเรืองการใช้ปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ใน



การแย้งชิงความได้เปรียบ
หากจะว่าไปแล้ว แม้ว่า สามก๊ก จะถูกมองและยอมรับว่าทรงคุณค่า
ด้านภูมิปัญญาและอรรถรสทางวรรณกรรมก็ตาม แต่หากพิจารณาถึงเนือหา





ของเลียดก๊กแล้ว เราก็สามารถกล่าวได้ว่า เรืองราวทีเกิดขึนในหนังสือเล่มนีก็

ทรงคุณค่าไม่น้อยไปกว่ากัน โดยเฉพาะอย่างยิงหากเราพิจารณาว่า ช่วงเวลา




หรือยุคสมัยทีวรรณกรรมเรืองนีกล่าวถึงนันเป็นยุคสมัยทีเรียกกันว่าเป็นสมัย

แห่ง “ร้อยบุปผาบานพร้อมพรัก ร้อยส�านักประชันปัญญา” กล่าวคือเป็นยุค
ทีสมัยทีปรากฏสาวงามของแผ่นดินมากมาย พร้อมกันเป็นสมัยทีปราชญ์ยิง




ใหญ่หลายคนถือก�าเนิดมา




ชือบุคคลอย่าง ขงจือ เล่าจือ ซุนวู ฯลฯ ชือผู้น�ายิงใหญ่ของ



ประวัติศาสตร์จีนหลายคน หรือแม้แต่ชือสาวงามหลายคนทีตราตรึงแผนดิน


ล้วนถือก�าเนิดมาในยุคสมัยนีทังสิน


ด้วยสีสันและเรืองราวอันหลากหลายเช่นนีเองทีท�าให้ เลียดก๊ก ยัง




กลายเป็นหนังสือทีคนในสมัยปัจจุบันสมควรหามาอ่านเป็นทียิง ่

โดยเฉพาะหากเราตระหนักว่านอกเหนือจากได้อ่านวรรณกรรมที่ทรง
ค่า สนุก และได้สาระแล้ว เราจะสามารถเห็นภาพร่างของประวัติศาสตร์จีน



ช่วงทีมีสีสันทีสุดสมัยหนึงอีกด้วย

ยิปซี ส�านักพิมพ์ ต้องขอขอบพระคุณทุกความกรุณาทีสนับสนุน
( 13 )





เรามาโดยดีตลอด และหวังว่าทุกท่านจะพอใจกับการจัดพิมพ์ในครังนีทีเรา


พยายามเน้นให้มีความประณีตทีสุด แต่กระนัน ด้วยข้อจ�ากัดบางอย่างโดย


เฉพาะเรืองของเวลา และจ�านวนของหนังสือทีนับว่าหนามาก อาจท�าให้เกิด


ข้อผิดพลาดไปบ้าง ซึงเราหวังว่า หากมีโอกาสทีดีต่อไป เราจะสามารถท�าการ
แก้ไขให้ดียิงขึนไปอีก



ขอขอบพระคุณผู้รู้ทุกท่าน ทีให้ค�าแนะน�าในการจัดพิมพ์หนังสือใน




ครังนี หวังว่านีจะเป็นอีกหนึงหนังสือแห่งความภาคภูมิใจของทังส�านักพิมพ์

และผู้เป็นเจ้าของ
ยิปซี ส�านักพิมพ์
































( 14 )


“เก๋งคอก็ท�าเพลงขับว่า พระพายชายพัดมาเฉื่อยฉิวกระทบ




แม่น�าเอ๊กจุย หนาวเย็นเหน็บชายิงนัก...เราจะไปเมืองจินนีเป็น


ทีสุด เห็นจะไม่ได้กลับคืนมา... เมือเราจะเข้าค้นคว้าในซุ้มเสือ


แม่ลูกอ่อน กับตัวเราจะเข้าไปในปล่องพญานาค ครันขับดังนัน



แล้วก็เงยหน้าขึนไปดูบนอากาศแล้วทอดใจใหญ่ ก็ปรากฎเป็น
สายรุ้ง เพลงเก๋งคอซึงขับนันก็บันดาลใจเข้าให้คนทังปวง มีจิต



ก�าเริบคิดแกล้วกล้าขึนทุกคน”

เลียดก๊ก เล่ม 4


เล่ม 4


บทที่ 1 59



เจ้าเมืองซองก็แต่งสิงของออกมา ยอมเป็นเมืองขึนแก่เมืองงุย แต่


บังก๋วนยกไปครังเดียวได้เมืองโอย เมืองซอง เมืองฬ่อ เมืองเตง

สีหัวเมือง แล้วยกทัพกลับมาถึงเมืองงุย จึงพานายกองนายทัพ




กับสิงของเข้าไปค�านับแจ้งความซึงได้ชัยชนะแก่สีหัวเมืองให้งุยอ๋องฟังทุก


ประการ งยอ๋องยินดีนัก จึงปนบ�าเหน็จรางวัลบังก๋วนงวนโซยกับนายทหาร

ซึงได้ท�าการชนะศึกตามสมควรแก่ความชอบ บังก๋วนได้เงินทองของประทาน
และก็ค�านับลาไปบ้าน แต่นันมาบังก๋วนมีใจก�าเริบถือตัวว่าสติปัญญาและฝีมือ

หาผู้ใดเสมอมิได้ ทั้งงุยอ๋องก็รักใคร่นับถือบังก๋วน บังก๋วนจะว่าสิ่งใด งุยอ๋อง
ก็เชือฟังทุกประการ



ฝ่ายเหกเต๊กซึงเป็นเพือนรักกันกับกุยก๊กซินแส ครันเทียวรักษา



พยาบาลคนไข้ทุกหัวเมืองมาถึงเขากุยก๊ก คิดถึงฮองฮูจะใคร่ไปเยียมเยียน
เหกเต๊กก็แวะออกจากทางใหญ่ เดินตามทางน้อยเข้าไปถึงเชิงเขา พอพบซุนปิน
เดินลงมาจากเขาเหกเต๊กถามว่า ครูของท่านยังอยู่ดีอยู่หรือ ซุนปินก็บอกวา ่

ครูข้าพเจ้าอยู่ดีมีสุขอยู่ เหกเต๊กรู้ว่าฮองฮูไม่ป่วยไข้ก็สินวิตกจึงถามซุนปินว่า

ท่านอยู่กับซินแสนี ได้วิชาความรู้สิงใดบ้าง ซุนปินก็บอกว่ากุยก๊กซินแสรู้ว่า



1733


1734 พงศำวดำรจีน


ข้าพเจ้าเป็นหลานซุนบู๊จู๋ มีความกรุณาบอกวิชารู้ฤกษ์ต�าฤกษ์บนและขบวน



ศึกซึงซุนบู๊จู๋ท�าไว้ข้าพเจ้าได้เรียนจบทังสิน
เหกเต๊กจึงว่า ท่านรู้วิชาดีแล้ว เหตุใดจึงไม่ไปท�าราชการเล่า ซุนปินจึง
ตอบว่า บังก๋วนลูกศิษย์ครูเดียวกับข้าพเจ้าเข้าไปท�าราชการ ณ เมืองงุย
สัญญากับข้าพเจ้าไว้ว่าถ้าได้ดีแล้วจะมีหนังสือบอกออกมา ข้าพเจ้าคอยฟังข่าว



บังก๋วนอยู่ เหกเต๊กจึงว่า บังก๋วนซึงไปท�าราชการอยู่กับงุยอ๋องนัน บัดนีได้
เป็นขุนนางผู้ใหญ่แล้ว แต่เราได้ยินข่าวว่า บังก๋วนถือตัวว่าวิชาความรู้หาผู้ใด

เสมอมิได้ บังก๋วนรู้ว่าท่านได้เรียนรู้ในการศึกลึกซึงดีกว่าบังก๋วน เห็นว่าบัง
ก๋วนจะเกียดกันเสีย จะไม่มีหนังสือออกมาตามสัญญา เราจะเข้าไปเมืองงุย
จะให้งุยอ๋องออกมาเชิญท่านไปเป็นขุนนาง ท่านได้ทียศศักดิเราจะได้พึงสืบไป




ซุนปินก็รับค�าแล้วว่า ท่านมีความกรุณาข้าพเจ้าครังนีขอบคุณนัก ถ้า


ข้าพเจ้าได้ดีเหมือนท่านว่าจะสนองคุณกว่าจะสินชีวิต เหกเต๊กพูดกับซุนปิน

แล้วก็ไปถึงเมืองงุย เข้าหาขุนนางทีรู้จักคุ้นเคยกันมาแต่ก่อนให้พาเข้าเฝ้า พอ
งุยอ๋องออกขุนนางเห็นเหกเต๊กเข้ามาเชิญให้นังทีสมควร แล้วถามว่าซินแส


เทียวไปทุกบ้านเมือง ยังเห็นผู้ใดมีสติปัญญาวิชาการศึกสงครามเป็นอย่างดี



มีอยู่แห่งใดบ้าง ช่วยชักชวนมาให้ข้าพเจ้าสักคนหนึง เหกเต๊กจึงว่า ผู้ซึงเล่า

เรียนวิชาศึกนันมีอยู่ชือซุนปินหลานซุนบู๊จู๋ ซุนปินเป็นศิษย์กุยก๊กซินแสคร ู

เดียวกับบังก๋วน ทีเขามาเป็นขุนนางผู้ใหญ่อยู่ในท่าน

งุยอ๋องจึงถามว่า ซุนปินกับบังก๋วนท่านว่าเป็นศิษย์ครูเดียวกันนัน

ผู้ใดจะดีกว่ากัน เหกเต๊กจึงว่า บังก๋วนได้เรียนวิชาการกับกุยก๊กซินแส แต่

พิชัยสงครามตามธรรมเนียม แตส�าหรับพิชัยสงครามซนบจแตงไวนัน กยกก










ซินแสมิได้ให้เรียน บอกต�ารับซุนบู๊จู๋ให้แต่ซุนปินผู้เดียว ข้าพเจ้าเห็นว่า ซุนปิน
ร้การศึกมากกว่าบังก๋วน ขอท่านจงไปชักชวนซุนปินมาไว้จะได้ช่วยป้องกัน


เลียดก๊ก เล่มที่ 4 1735


เขตแดนเมืองท่านจึงจะมีสง่าข้าศึกย�าเกรง งุยอ๋องได้ฟังดังนันก็ยินดี จึงให้

แต่งโต๊ะเลียงเหกเต๊ก เหกเต๊กกินโต๊ะแล้วก็ลางุยอ๋องไป
ฝ่ายบังก๋วนแจ้งความว่า เหกเต๊กเข้าไปเฝ้างุยอ๋อง เหกเต๊กทูลสรรเสริญ


ซุนปินก็มีใจริษยา ครันเพลางุยอ๋องออกขุนนาง บังก๋วนก็เข้าไปเฝ้างุยอ๋องจึง

ถามบังก๋วนว่าเพลาวานนีเหกเต๊กเข้ามาบอกเราว่า ซุนปินเป็นหลานซุนบู๊จู๋ เป็น
ศิษย์กุยก๊กซินแส ครูเดียวกันกับท่านรู้วิชาลึกซึงอยู่ เหตุใดจึงไม่ชักชวนเข้า

มาท�าราชการเล่า บังก๋วนจึงว่าซุนปินคนนีเป็นชาวเมืองเจ๋ ครันข้าพเจ้าจะ












ชักชวนเขามาอยในทาน เห็นจะท�าราชการสจริตไม เบืองหนานานไปซนปนจะ
เอาใจออกหาก ท่านจะติโทษข้าพเจ้าเมือภายหลัง ข้าพเจ้าเห็นเหตุฉะนีจึงมิได้




ชักชวนเข้ามา งุยอ๋องจึงว่าผู้ซึงเป็นขุนนางเราตังแต่งชุบเลียงกินเบียหวัดอยู่




ทุกวันนี ใช่ว่าจะเป็นชาวเมืองเราสินด้วยกันเมือไร สุดแต่น�าใจสุจริตภักดีต่อ






เรา เราก็ชบเลี้ยงใหยศศักดิ์ตามสมควร ถาไมซื่อสัตยตอเราและกระท�าความ


ผิดต่างๆ เราก็จะให้ลงอาชญาตามโทษ ซึ่งท่านว่าคนเมืองอื่นจะเอาเข้ามาเป็น
ขุนนางใช้ราชการไม่ได้นันเราไม่เห็นด้วย



บังก๋วนได้ฟังดังนัน กิริยางุยอ๋องเห็นจะขัดเคือง จึงว่าซึงท่านจะใคร่
ได้ตัวซุนปินมา ข้าพเจ้าจะมีหนังสือออกไปเชิญซุนปินเข้ามา บังก๋วนก็ค�านับ
ลาออกมาแต่งหนังสือฉบับหนึงกับสิงของทองเงินบรรทุกเกวียน ให้คนสนิท


คุมออกไปให้แก่ซุนปิน ณ เขากุยก๊ก ขุนนางผู้นันออกไปถึงเขากุยก๊ก จึง


เข้าไปหาซนปินแล้วแจ้งความว่า บังก๋วนให้ถือหนังสือและน�าสิงของออกมา



ให้ ซุนปินได้ฟังดังนันก็ดีใจ จึงรับหนังสือมาฉีกผนึกออกอ่านเนือความใน
หนังสือนันว่า ข้าพเจ้าบังก๋วนน้องท่าน ขอค�านับมายังซุนปินพีท่านให้ทราบ


ด้วยข้าพเจ้าไปท�าราชการอยู่กับงุยอ๋อง งุยอ๋องก็ชุบเลี้ยงเป็นขุนนางผู้ใหญ่ได้



สมความคิดแล้ว บัดนีข้าพเจ้าให้ขุนนางคนสนิท คุมสิงของเครืองค�านับทอง


1736 พงศำวดำรจีน


สิบแท่งหนักร้อยบาท เงินพันเหรียญออกมาค�านับเชิญท่านเข้าไปท�าราชการ



ในงุยอ๋อง เราทังสองจะได้เป็นทีปรึกษาหารือกัน ตามค�าทีสัญญาไว้แต่ก่อน
ซุนปินแจ้งในหนังสือดังนั้น ก็เข้าไปค�านับกุยก๊กซินแสแล้วส่งหนังสือ

ให้ดู กุยก๊กซินแสอ่านแจ้งความก็น้อยใจ คิดว่าบังก๋วนเป็นศิษย์เราบัดนีเขา
ได้เป็นขุนนางมีหนังสือมาถึงแต่ซุนปิน มิได้ถามข่าวถึงเราผู้เป็นครูบ้างเลย

บังก๋วนเป็นคนอกตัญญูไม่ซือตรง ซึงเชิญซุนปินเข้าไปท�าราชการเป็นข้าร่วม


เจ้าเดียวกันเห็นซุนปินจะมีอันตราย ครันจะห้ามปรามซุนปินไว้ก็เห็นน�าใจซุน

ปินสมัครไปอยู่กับงุยอ๋อง กุยก๊กซินแสจึงว่ากับซุนปินว่า บังก๋วนให้มีหนังสือ

ออกมาเชิญท่านเข้าไปท�าราชการในเมืองงุยครังนี จงไปเก็บดอกไม้มาให้


เสียงทายดูจะร้ายหรือดีประการใด





ซนปินก็ลาออกมาเก็บดอกไม้ ขณะนันเป็นฤดเดือนสิบสอง ซนปนแล

เห็นดอกไม้ทีเก็บมาบูชาครูไว้บนโต๊ะ ก็หยิบเอาดอกเบญจมาศดอกหนึง มา


ยืนให้กุยก๊กซินแส กุยก๊กซินแสรับดอกเบญจมาศพิเคราะห์ดูแล้วท�านายว่า
ดอกไม้ดอกนีมีผู้หักเสียแล้ว ท่านเอามาหาบริสุทธิไม่ และดอกเบญจมาศมิ



ใคร่จะโรย ถึงกลีบดอกจะเหียวแห้งไปแต่สีดอกไม้นันปรกติอยู่ ท่านจะเข้าไป




ท�าราชการกับงุยอ๋องครังนี เห็นจะได้ความล�าบากแทบตัวตาย ต่อเมือใดไป

อยู่เมืองเจ๋ท่านจึงจะได้ดี กุยก๊กซินแสจึงเขียนหนังสือฉบับหนึง เข้าผนึกส่ง
ให้ซุนปินแล้วว่า ถ้าถึงทีอับจนจะแก้ไขให้พ้นอันตราย จงเอาหนังสือทีเราให้


ไว้กับตัวนีออกดู ซุนปินก็รับหนังสือแล้วก็ค�านับลามาขึนเกวียนไปเมืองงุย




ฝ่ายโซจินกับเตียวหงี ครันซุนปินลาอาจารย์ไปแล้ว จึงเข้าไปลากุยก๊ก
ซินแสจะไปท�าราชการให้เป็นเกียรติยศบ้าง กุยก๊กซินแสจึงว่าท่านทังสองนี ้


เราก็บอกวิชาความรู้ให้เป็นอันมาก หวังจะใคร่ได้ไว้เป็นเพือนจ�าศีลภาวนา
รักษาสัตย์เป็นผู้วิเศษอยู่ในป่ากว่าจะตาย และท่านทังสองนีจะรักใคร่


เลียดก๊ก เล่มที่ 4 1737




ทรัพย์สินและยศศักดิสมบัติทังปวงหาต้องการไม่ โซจินเตียวหงีจึงตอบว่า ซึง




ท่านกรุณาสังสอนวิชาทังปวงแก่ข้าพเจ้าเป็นอันมาก คุณท่านหาทีสุดมิได้ แต่











ขาพเจาคิดเห็นวาจะซอนตัวอยในปาดังนีอปมาเหมือนกระบีอยในฝก หาผใด






จะรู้ว่าชัวและดีไม่ ข้าพเจ้าจะออกไปท�าราชการให้มีความชอบชือเสียงปรากฏ



ไว้ในแผ่นดินเปรียบเหมือนกระบีออกจากฝักเห็นแก่ตาคนทังปวงว่าชัวและดี
ทุกวันนีปีเดือนวันคืนก็ล่วงไป จะท�าราชการต่อแก่ชราถอยก�าลังเห็นจะท�าไป

มิตลอด กุยก๊กซินแสมีความอาลัยนัก ทอดใจใหญ่แล้วว่า ท่านจะไม่เป็น

ผู้วิเศษในป่า จะไปท�าราชการเอาทียศศักดิก็ตามใจท่านเถิด กุยก๊กซินแสจึง


จับยามดูแจ้งความแล้วบอกโซจินว่า ท่านไปท�าราชการครังนีจะได้ดี นานไป



ภายหลังจะได้ชัว แต่เตียวหงีนันได้ความล�าบากก่อนภายหลังจึงจะได้ดี อัน


ซุนปินกับบังก๋วนนัน เราพิเคราะห์ดูเห็นจะหาชอบกันไม่ คงจะผูกพยาบาท
กันไปจนสินชีวิต ท่านทังสองจะไปจากเราครังนี อย่าคิดคดประทุษร้ายต่อกัน




ถ้อยทีอุปถัมภ์บ�ารุงกันตามควร กุยก๊กซินแสก็หยิบหนังสือต�าราขบวนศึกและ
แผนทีชัยภูมิทังปวงของเกียงจูเหยซึงเป็นเกียงไทก๋ง ครังพระเจ้าบูต๋องแต่ง






เป็นต�ารับไว้ได้เล่าเรียนสืบมานันให้แก่โซจินเตียวหงีคนละฉบับ แล้วว่าท่าน
จงเอาไว้ส�าหรับตัวเถิดคงจะได้มีเกียรติยศปรากฏในแผ่นดินสืบไป โซจินเตียว

หงีได้ต�าราคนละฉบับก็ค�านับลากุยก๊กซินแสไป

ฝ่ายกุยก๊กซินแส ครันโซจินเตียวหงีไปแล้วประมาณสองวัน กุยก๊ก



ซินแสไม่มีความสบายก็ออกจากเขากุยก๊กเทียวไป ฝ่ายซุนปินครันมาถึงเมือง

งุยจึงไปหาบังก๋วน บังก๋วนเห็นซุนปินมาถึงก็ออกมารับ เชิญขึนนังทีสมควร



ทังสองค�านับกันตามธรรมเนียมสนทนาปราศรัยกันเหมือนฉันญาติอันสนิท
แล้วบังก๋วนก็จัดแจงทีอยู่ให้ซุนปินอาศัยหลับนอนป็นปรกติ ครันเพลารุ่งเช้า


บังก๋วนก็พาซุนปินเข้าไปเฝ้างุยอ๋อง งุยอ๋องจึงบอกซุนปินว่าอาจารย์เหกเต๊ก


1738 พงศำวดำรจีน



มาเยียมเยียนเรา แล้วสรรเสริญออกชือท่านว่ามีสติปัญญาได้เรียนวิชากลศึก


กุยก๊กซินแสสังสอนขบวนศึกของซุนบู๊จู๋ให้ท่าน เราจึงให้ไปเชิญมาหวังจะตัง

แต่งเป็นขุนนาง ท่านมาถึงเราวันนีเรายินดีอุปมาเหมือนคนกระหายน�าเดินทาง

พบหนองน�าอันเย็นใสได้อาบกินเป็นสุข ซุนปินจึงว่าข้าพเจ้าไปอยู่กับกุยก๊ก



ซินแสเหมือนดังคนป่า ซึงท่านกรุณาให้ไปรับมาทังนีคุณท่านหาทีสุดมิได้ จะ


ขอสนองคุณโดยสติปัญญาและวิชาซึงได้เล่าเรียนมากว่าจะสินชีวิต



งุยอ๋องได้ฟังดังนันยินดีนัก จึงจัดแจงเสือหมวกอย่างดี และสิงของ


เครืองยศตามธรรมเนียมแขกเมือง ให้แก่ซุนปินแล้วให้ไปอาศัยอยู่ทีกงก๊วน


เคยรับแขก หวังจะทดลองวิชาและน�าใจซุนปินให้รู้ว่าชัวและดีก่อน จึงจะตัง





แต่งเป็นขุนนางต่อภายหลัง ซุนปินรับเสือหมวกสิงของแล้วค�านับลาออกมา
อยู่ทีกงก๊วน ซุนปินก็ไปมาหาบังก๋วนมิได้ขาด บังก๋วนจึงแกล้งไต่ถามถึงขบวน







ศึก ซึงได้เลาเรียนมาครเดียวกัน ซนปนก็วาไปตามต�าราโดยขึนปากขึนใจมิได ้



คลาดเคลือน แต่ต�ารับซุนบู๊จู๋นัน บังก๋วนฟังหาต้องกับทีเล่าเรียนมาไม่ จึง


ถามซุนปินว่าต�ารับนีท่านได้มาแต่ไหนเล่า ซุนปินจึงว่าต�ารับซุนบู๊จู๋ครูเราแปล





ข้อความ ซึงไม่แจ้งชีแจงออกให้จะแจ้งสังสอนเรา ให้เล่าเรียนไว้โดยขึนใจ
ข้อความซึ่งแปลออกไป บังก๋วนจะใคร่ได้ต�าราซุนบู๊จู๋ไว้บ้างคิดจะขอก็เห็นซุน
ปินจะไม่ให้ยังเกรงใจซุนปินอยู่

ฝ่ายงุยอ๋องครันได้ซุนปินมาไว้ประมาณสีห้าวัน จึงคิดว่าบังก๋วน

ช�านาญในการศึกหาผู้ใดเสมอมิได้ อาจารย์เหกเต๊กมาสรรเสริญซุนปินว่าดี

กว่าบังก๋วนนัน ยังมิได้เห็นสติปัญญาว่าชัวดีประการใด จ�าจะให้ซุนปินกับบัง


ก๋วนตังขบวนศึก สอบสวนกันให้ดูประจักษ์แก่ตาก่อน งุยอ๋องคิดแล้วก็พาบัง
ก๋วนกับซุนปินและนายทหารทังปวงออกไป ณ ทีสนามหัดนอกเมือง งุยอ๋อง








จึงใหบังก๋วนกับซุนปนจัดแจงตังคายกลขบวนศึก ตามทีบังกวนซุนปนได้เลา ่


เลียดก๊ก เล่มที่ 4 1739


เรียนมา บังก๋วนก็ค�านับลาออกมาพาทหารไปตังขบวนทัพต่างๆ แล้วถามซุน

ปิน ซุนปินก็บอกขบวนทัพ และขบวนทีจะแก้ไขเอาชัยชนะถูกถ้วนทุกประการ





บังก๋วนครันตังขบวนศึกตามทีได้เล่าเรียนมาสินแล้ว จึงให้ซุนปินตังขบวนทัพ
ให้แปลกประหลาดออกไป ซุนปินก็ตังขบวนทัพสลับกันมีทีเข้าออกแปดแห่ง



ผิดกันกับขบวนทัพบังก๋วน บังก๋วนมิได้รู้ จึงถามว่าค่ายนีชือใด ซุนปินก็บอก






ว่าชือเตียนโตปัดบุนติน บังก๋วนแจ้งความแล้วก็เขามาเฝา ทูลชีแจงขบวนทัพ
ซึงซุนปินบอกให้งุยอ๋องฟัง งุยอ๋องส�าคัญว่าบังก๋วนรู้ขบวนทัพของซุนปิน ครัน



ซุนปินตังขบวนค่ายเสร็จแล้ว เข้ามาค�านับงุยอ๋อง งุยอ๋องถามชือขบวนทัพ ซุน

ปินก็ทูลบอกค่ายชือเหมือนบอกบังก๋วนทุกประการ


งุยอ๋องได้ฟังดังนันก็เข้าใจว่า บังก๋วนกับซุนปินรู้ขบวนศึกเหมือนกัน

แล้วงุยอ๋องก็พาขุนนางและทหารทังปวงกลับเข้าเมือง บังก๋วนมาถึงบ้านจึงคิด


ว่าซุนปินรู้การกลศึกลึกซึงกว่าเราเป็นอันมาก เบืองหน้าไปซุนปินได้ท�าศึกชนะ


มีความชอบเห็นจะย�ายีเรา จ�าจะคิดอบายหาความผิดทูลยยงให้งุยอ๋อง


แคลงใจ แล้วจะคิดฆ่าซุนปินเสียให้จงได้จึงจะสินเสียนหนาม อยู่มาวันหนึง



ซุนปินมาหาบังก๋วน บังก๋วนจึงแกล้งไต่ถามว่าแต่ก่อนญาติพีน้องครอบครัว
ท่านอยู่เมืองเจ๋ ท่านไปเรียนวิชากับกุยก๊กซินแสครูเดียวกันกับข้าพเจ้า ข้าพเจ้า
กับท่านได้สาบานเป็นพีน้องกัน บัดนีท่านมาท�าราชการอยู่ ณ เมืองงุยแล้ว



เหตุใดจึงไม่ไปรับครอบครัวมาเล่า ซุนปินได้ฟังบังก๋วนถามดังนันคิดขึนมาถึง


ความหลังก็กลันน�าตาไว้มิได้ ร้องไห้พลางพูดกับบังก๋วนว่า แต่ข้าพเจ้ากับท่าน

ไปอยู่ครูเดียวกันก็ช้านาน การบ้านเรือนบังเกิดวิบัติข้าพเจ้าก็ยังหาได้เล่าให้


ท่านฟังไม่ ตัวข้าพเจ้านีเกิดมาเป็นก�าพร้ามารดาตายจากแค่อายุได้สีขวบ ครัน


อายุเก้าขวบบิดาตาย ซุนเกียวผู้อาเอาไปเลียงไว้เมืองเจ๋ อาข้าพเจ้าเข้ามาท�า

ราชการอยู่ในเจ๋จงก๋ง ครันเมืองเกิดวิบัติข้าพเจ้าจึงได้พลัดอา ข้าพเจ้ากับ


1740 พงศำวดำรจีน


ซุนเบ๋งซุนไต๋ผู้เป็นพี มิได้รู้ว่าจะไปอยู่แห่งใด แต่ตัวข้าพเจ้าผู้เดียวไปอยู่เป็น


ศิษย์กุยก๊กซินแส และท่านจะมาถามถึงพีน้องและครอบครัวนัน จะเป็น
ประการใดข้าพเจ้ายังมิได้รู้ บังก๋วนจึงว่าท่านยังคิดถึงบ้านเมืองเก่าและคิดถึง

ทีฝังศพบิดามารดาท่านอยู่บ้างหรือหามิได้ ซุนปินจึงบอกโดยซือว่า ข้าพเจ้า

ก็เป็นมนุษย์มิใช่สัตว์เดรัจฉาน ก็ย่อมมีความกตัญญูคิดถึงคุณบิดามารดาอย ู่


อนึงเมือข้าพเจ้าลาอาจารย์ อาจารย์ก็บอกมาว่าให้ไปท�าราชการ ณ เมืองปู่ย่า
ตายายจึงจะได้ดี บัดนีได้มาท�าราชการอยู่ในเมืองงุยแล้ว ก็คงจะสนองคุณ






งุยอ๋องไปกว่าจะตาย บังก๋วนจึงว่าซึงทีว่าทังนีชอบแล้ว อันเกิดมาเป็นชายเมือ
ใจรักจะท�าราชการเมืองไหนๆ ก็ได้เหมือนกัน จ�าเพาะแต่ไปท�าราชการเมือง
ปู่ย่าตายายจึงจะได้ดีเจียวหรือ ซุนปินได้ฟังบังก๋วนว่าดังนันมิได้โต้ตอบ



ประการใด ครันเวลาเย็นก็ลาบังก๋วนไปทีอาศัย

ฝ่ายบังก๋วนครันพูดล่อลวงได้ความในซุนปินแล้วคิดจะหาความผิด

ซุนปิน จึงแต่งหนังสือฉบับหนึงเป็นหนังสือซุนเบ๋งฝากมาถึงซุนปิน แล้วจึงให้

ซือกะเป็นคนสนิทเข้ามากระซิบบอกว่าท่านจงเอาหนังสือนีไปให้ซุนปิน ถ้าซุน
ปินถามท่านจงบอกว่าชือเตงอิดขุนนางเมืองเจ๋ ซุนเบ๋งใช้ให้ถือหนังสือมาถึง

ซุนปินรับไปเมืองเจ๋ ซือกะก็รับหนังสือลอบไปหาซุนปิน ครันถึงกงก๊วนจึง

เข้าไปค�านับซุนปิน ซุนปินไม่รู้จักจึงถามว่า ท่านชือใดมาแต่ไหนมีธุระสิงไร



หรือ ซือกะจึงแกล้งพูดเป็นชาวตะวันออกบอกซุนปินว่าข้าพเจ้าชือเตงอิด เดิม
อยู่เมืองยิมจู๋ไปเป็นขุนนางอยู่เมืองเจ๋ ซุนเบ๋งใช้ให้ถือหนังสือมาถึงซุนปินผู้
น้อง ณ เขากุยก๊ก ข้าพเจ้าไปหามิได้พบ สืบรู้ว่าซุนปินเข้ามาอยู่ในเมืองงุยจึง

ตามมาถาม มีผู้บอกว่าซุนปินมาอาศัยอยู่ทีนี ชือซุนปินคนใดยังมิได้รู้จักตัว



ท่านชือซุนปินเป็นน้องซุนเบ๋งหรือ ซุนปินก็รับว่าเราชือซุนปินเป็นน้องซุนเบ๋ง

ซือกะก็ส่งหนังสือให้ซุนปิน ซุนปินฉีกผนึกออกอ่านใจความว่า ซุนเบ๋งพีท่าน


เลียดก๊ก เล่มที่ 4 1741

อวยพรมาถึงซุนปินผู้น้องด้วย แต่พลัดพรากจากเมืองมาช้านานมิได้พบกัน



บัดนีได้มาเป็นขุนนางท�าราชการอยู่เมืองเจ๋แล้วพีมีความอาลัยคิดถึงน้องนัก

สืบรู้ว่าน้องท่านมาเรียนวิชาอยู่กับกุยก๊กซินแส จึงให้เตงอิดถือหนังสือมา ครัน

น้องท่านรู้หนังสือนีแล้วอย่าให้ไปท�าราชการเมืองอืนเลย เชิญไปท�าราชการ

เมืองเจ๋ด้วยกันเถิด
ซนปนแจงความในหนังสือนัน ส�าคัญวาเปนหนังสือซนเบงก็รองไห้ เตง









อิดเห็นดังนันจึงแกล้งว่าซุนเบ๋งก�าชับสังข้าพเจ้ามาว่าพบท่านแล้ว ให้ท่านรีบ


เร่งไปหาซุนเบ๋ง ณ เมืองเจ๋ อย่าให้ช้าเดือนวันอยู่ พี่น้องจะได้เห็นหน้ากัน ซุน

ู่
ปินจึงวาข้าพเจ้าได้เข้ามาท�าราชการอย่ในเมืองนี้แล้ว ครั้นจะไปอยเมืองเจ๋เล่า

คนทังปวงก็จะนินทาว่าข้าสองเจ้า จะขอท�าราชการสนองคุณงุยอ๋องก่อนจึงจะ

ค่อยไปเมืองเจ๋ต่อภายหลัง ซุนปินก็แต่งหนังสือตอบฉบับหนึงใจความตามที ่


พูดกันกับเตงอิด จึงส่งหนังสือให้เตงอิดแล้วสังว่า ท่านจงกลับไปบอกแก่ซุน

เบ๋งพีข้าพเจ้าเถิด ว่าข้าพเจ้าจะท�าราชการอยู่ในงุยอ๋องก่อน ถ้างุยอ๋องไม่ชุบ

เลียงแล้ว ข้าพเจ้าจึงจะคิดอ่านหนีไปหาท่านต่อภายหลัง
ซุนปินจึงให้ทองค�าแก่เตงอิด ไปซื้อจ่ายเป็นเสบียงกลางทาง ซือกะได้
ทองกับหนังสือแล้วลาซุนปินมาหาบังก๋วน จึงเอาหนังสือส่งให้บังก๋วนแล้วเล่า
ความ ซึงซุนปินพูดมานันให้บังก๋วนฟังทุกประการ บังก๋วนได้ฟังก็ยินดีด้วย


สมคิด จึงคลีหนังสือซุนปินออกอ่านแจ้งความแล้วแปลงปลายหนังสือซุนปิน


ต่อความออกไปอีกว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้น้องตกอยู่ในเมืองงุย แต่ใจนันคิดถึง

เมืองเจ๋ซึงเป็นเมืองบิดามารดาอย่ทกเช้าค�ามิได้ขาด ถ้าเจ้าเมืองเจ๋จะใคร่ได้




เรา เราก็คิดจะอ่านหนีจากเมืองงุย ไปท�าราชการด้วยเมืองเจ๋ให้จงได้ ครัน

แปลงหนังสือแล้ว ก็เข้าไปเฝ้างุยอ๋อง ณ ทีข้างในจึงกระซิบทูลว่า เมือวันวาน

นี้ขุนนางเมืองเจ๋ลอบมาพูดกับซุนปิน ข้าพเจ้าเห็นผิดประหลาด ข้าพเจ้าจึงให้


1742 พงศำวดำรจีน

คนใช้ออกไปคอยอยู่ต้นทางจะไปเมืองเจ๋ คนใช้เห็นขุนนางเมืองเจ๋ออกจาก


ซุนปินจะกลับไปเมืองจึงไล่จับตัว ขุนนางเมืองเจ๋วิงหนีไปได้แต่หนังสือตกอย ู่
เอามาให้ข้าพเจ้า เป็นหนังสือซุนปินจะคิดเอาตัวออกหาก บังก๋วนก็ส่งหนังสือ



นันให้แก่งุยอ๋อง งุยอ๋องคลีหนังสือออกอ่านแจ้งความแล้วส�าคัญว่าเป็นหนังสือ


ซุนปินจริง จึงว่าซุนปินจะไปอยู่เมืองเจ๋ครังนี เพราะเราชุบเลียงไม่ถึงขนาด

บังก๋วนจึงทูลว่าซุนปินคนนี เป็นหลานซุนบู๊จู๋แต่ก่อน ซุนบู๊จู๋เป็นขุนนาง


นายทหารผู้ใหญ่อยู่ในเมืองหงอ ครันอยู่มาหนีเจ้าเมืองหงอไปอยู่ในเมืองเจ๋



ซึงเป็นเมืองปู่ย่าตายายของซุนบู๊จู๋ ถึงท่านจะเลียงซุนปินขึนให้เป็นขุนนาง
ผู้ใหญ่ ซุนปินก็คงจะหนีไปอยู่เมืองเจ๋เหมือนซุนบู๊จู๋ อันซุนปินคนนีเป็นคนมี

สติปัญญา ได้เรียนวิชาการขบวนศึกเป็นอันมาก ถ้าซุนปินได้ไปอยู่เมืองเจ๋


แล้วเห็นจะคมทัพเมืองเจ๋มากระท�าแก่เมืองท่านเป็นมันคง ข้าพเจ้าคิดว่าจะ

จับซุนปินฆ่าเสีย จึงจะสินเสียนหนาม งุยอ๋องจึงว่าเราได้ให้ไปเชิญซุนปินมา



แต่เขากุยก๊ก จะชุบเลียงให้เป็นขุนนาง ซึงท่านได้หนังสือมานีก็เป็นแต่หนังสือ



ซุนปินฝากไปถึงพีชาย จะยกข้อขึนว่าซุนปินผิดก็ยังไม่ได้ ครันจะฆ่าเสียคน

ทังปวงก็จะพากันนินทา ไปเบืองหน้าผู้ซึงจะมาท�าราชการด้วยนันเห็นจะท้อใจ




ต่างคนจะไปอยู่เมืองอื่น บังก๋วนจึงว่าถ้าดังนั้นข้าพเจ้าจะไปถามซุนปินดูก่อน
ถ้าซุนปินออกปากว่า จะสมัครท�าราชการอยู่ในท่านกว่าจะตาย ข้าพเจ้าจึงจะ
มาทูลท่านจงตังซุนปินขึนเป็นขุนนางผู้ใหญ่ ถ้าซุนปินไม่สมัครอยู่กับท่านจะ


มาลาท่านไปเมืองเจ๋แล้ว ขอท่านจงให้ข้าพเจ้าได้ปรึกษาโทษซุนปิน ถ้าโทษซุน
ปินถึงตาย ฆ่าเสียตามกฎหมายส�าหรับเมืองก็เห็นจะหามีผู้ใดนินทาไม่
งุยอ๋องได้ฟังดังนันก็นิงตรึกตรองอยู่ บังก๋วนก็ลาออกมาบ้าน จึงให้



คนใช้ไปเชิญซุนปินมาแล้ว ถามซุนปินว่าข้าพเจ้าได้ยินว่าพีชายท่านฝาก




หนังสือมาแตบ้านจริงหรือประการใด ซุนปนมิได้ร้วา บังก๋วนจะคิดประทษราย


เลียดก๊ก เล่มที่ 4 1743



ก็บอกความจริงให้บังก๋วนตามเรืองราวในหนังสือนันทุกประการ แล้วว่าทุก



วันนี ข้าพเจ้าคิดจะลางุยอ๋องไปเยียมเยียนพีน้องก็คิดเกรงงุยอ๋องจะมิให้ไป
บังก๋วนจึงว่าเป็นประเพณีพี่น้องอยู่ต่างเมือง คิดถึงกันก็ควรจะไปเยี่ยมเยียน
ซึงท่านเกรงงุยอ๋องจะมิให้ไปนัน อย่าวิตกเลยข้าพเจ้าจะช่วยเพ็ดทูลเบียงบ่าย




ซุนปินได้ฟังดังนันคิดว่าบังก๋วนรักโดยสุจริตก็ยินดี จึงว่าถ้าท่านกรุณาข้าพเจ้า


แล้ว เวลาพรุ่งนีข้าพเจ้าจะท�าเรืองราวเข้าไปทูลลา ซุนปินพูดกับบังก๋วนแล้ว

ก็ลากลับมาทีอาศัย ครันรุ่งเช้าซุนปินกันขุนนางทังปวงก็เข้าไปเฝ้างุยอ๋อง ซุน



ปินจึงส่งหนังสือเรืองราวให้งุยอ๋องแล้วทูลลาว่า จะไปท�าบุญเซ่นศพบิดามารดา
ณ เมืองเจ๋


งุยอ๋องก็อ่านเรืองราวซุนปิน เห็นสมกับค�าบังก๋วนว่าไว้ก็โกรธด่าซุนปินวา
แต่ก่อนเราคิดว่าตัวเป็นคนมีสติปัญญา จึงให้ไปเชิญมาจะตังเป็นขุนนาง ตัว

เป็นอกตัญญูไปคบคิดกับขุนางเมืองเจ๋เอาใจออกหากคิดจะหนีไปโดยซึงหน้า

เห็นมิพน จึงคิดกลอบายท�าเรืองราวมาลา งยอองจึงสังขนนางใหเอาตัวซนปน











ไปให้บังก๋วนปรึกษาโทษ ขุนนางนายทหารก็คุมตัวซุนปินออกจากทีเฝ้า ไปบ้าน
บังก๋วน
ฝ่ายบังก๋วนนังอยู่บนตึกรับแขก แลเห็นทหารคุมตัวซุนปินมาถึง ก็


แกล้งท�าตกใจลุกจากเก้าอี พอผู้คุมพาซุนปินมาค�านับ บังก๋วนจึงถามว่าเป็น
เหตุประการใดจึงได้คุมตัวพี่เรามา งุยอ๋องขัดเคืองพี่เราด้วยข้อความประการ






ใดหรือ ผ้คมจึงบอกว่าซนปินท�าเรืองราวเข้าไปกราบทล งยอ๋องโกรธให้คม

ตัวมาให้ท่านปรึกษาโทษ บังก๋วนจึงคิดว่าเราล่อลวงให้ซุนปินทูลลาจนงุยอ๋อง

โกรธ จะปรึกษาโทษให้ถึงตาย งุยอ๋องก็จะฆ่าซุนปินเสีย ครันซุนปินตายแล้ว
ต�าราซุนบู๊จู๋ซึงซุนปินได้ไว้ก็จะสาบสูญเสียด้วย จ�าจะคิดอ่านเอาต�าราซุนบู๊จู๋

ให้ได้ก่อน จึงจะฆ่าเสียเมือภายหลัง บังก๋วนคิดแล้วจึงว่ากับซุนปินว่า พีมี


1744 พงศำวดำรจีน


โทษแต่เพียงนีอย่าทุกข์ร้อนเลย ข้าพเจ้าจะเข้าไปทูลแก้ไขให้งุยอ๋องคลาย
ความโกรธ บังก๋วนก็ให้ผู้คุม คุมตัวซุนปินไว้ ณ บ้าน แล้วจึงเข้าไปเฝ้าทูลงุย

อ๋องว่าซุนปินเข้ามาทูลลาจะไปเมืองเจ๋นัน โทษผิดแต่ไม่ถึงตายขอให้ตัดแต่


นิวตีนเสียทังซ้ายขวาอย่าให้หนีได้


งุยอ๋องก็เห็นด้วย จึงว่าซุนปินท�านันถึงทีตัดตีน ก็ให้ตัดตีนเสียตาม
กฎหมาย บังก๋วนก็ค�านับลาออกมาถึงบ้าน บอกซุนปินว่างุยอ๋องเคืองท่านนัก

จะให้ฆ่าท่านเสีย เราทูลขอโทษถึงสองสามครัง จึงให้ตัดนิวตีนท่านเสียทังซ้าย


ขวาตามกฎหมายอย่างธรรมเนียม เป็นกรรมของท่านที่จะทนทุกข์ล�าบาก แต่
ไม่เสียชีวิตก็เป็นบุญของท่านอยู่แล้ว ซุนปินได้ฟังดังนั้นก็ทอดใจใหญ่แล้วว่า

ขณะเมือข้าพเจ้าลาครมานัน ครก็ท�านายมาว่าจะได้ความล�าบากแทบจะถึง



ชีวิต ซึ่งท่านช่วยทูลแก้ไขให้รอดจากความตาย ครั้งนี้ขอบใจท่านนัก ต้องกัน

กับค�าครูทีว่าไว้ โทษข้าพเจ้าประการใดก็ท�าตามโทษเถิด
บังก๋วนก็พยักหน้าให้ทหารเอาซุนปินไปมัดมือไพล่หลังไว้กับหลัก แล้ว


ตัดตีนสักหน้าซุนปินเสียตามโทษ ทหารก็ท�าตามสัง ขณะเมือทหารเอาขวาน
ฟันนิวเท้าซุนปินขาด ซนปินร้องขึนค�าเดียวก็สลบเลือดนิงไป ทหารก็สักหน้า




ซุนปินเป็นอักษรสีคัว ซุนปินค่อยฟื้นสมฤดีลืมตาขึนได้ บังก๋วนท�าตกใจวิง


ไปแก้มัดออกร้องไห้รักซุนปิน พลางให้คนใช้เอายามาทาห้ามโลหิตหยุดแล้ว
ให้หามขึนไปไว้บนตึก บังก๋วนปฏิบัติรักษาซุนปินเหมือนดังพีน้องอันสนิท





ด้วยจะใคร่เกลียกล่อมเอาต�ารับซุนบู๊จู๋ทีซุนปินได้ไว้ อยู่มาประมาณเดือนหนึง


เท้าซุนปินทีต้องตัดนิวนันหายบาดแผล ซุนปินเป็นคนพิการเดินมิถนัด บังก๋วน

ให้กินอยู่เป็นปรกติ วันหนึงบังก๋วนเข้าไปพูดด้วยการขบวนศึกกับซุนปินต่างๆ


แล้วขอต�ารับซุนบู๊จู๋ ซุนปินเป็นคนซือคิดถึงคุณบังก๋วนว่าได้ปฏิบัติรักษา
พยาบาล จึงว่าท่านจะใคร่ได้ต�ารับซุนบู๊จู๋ซึงแปลแล้วนันข้าพเจ้าก็จะให้แก่ท่าน


Click to View FlipBook Version