The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannika, 2021-03-26 06:11:26

มหาจักรวรรดิมองโกล Great Mongol Empire

มหาจักรวรรดิมองโกล
Great Mongol Empire

ภาสพันธ์ ปานสีดา: เขียน
ราคา 385 บาท

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำานักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
ภาสพันธ์ ปานสีดา.
มหาจักรวรรดิมองโกล = Great Mongol empire.--กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป, 2564.
436 หน้า.
1. มองโกเลีย--ประวัติศาสตร์. 2. มองโกเลีย--ความเป็นอยู่และประเพณี. I. ชื่อเรื่อง.
951.7
ISBN 978-616-301-734-5
© ข้อความในหนังสือเล่มนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558
การคัดลอกส่วนใดๆ ในหนังสือเล่มนี้ไปเผยแพร่ไม่ว่าในรูปแบบใดต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน
ยกเว้นเพื่อการอ้างอิง การวิจารณ์ และประชาสัมพันธ์
บรรณาธิการอำานวยการ : คธาวุฒิ เกนุ้ย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน์
บรรณาธิการเล่ม : ประลองพล เพี้ยงบางยาง
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา
เลขากองบรรณาธิการ : กันยารัตน์ ทานะเวช
หัวหน้าฝ่ายพิสูจน์อักษร : สวภัทร เพ็ชรรัตน์
ฝ่ายพิสูจน์อักษร : วนัชพร เขียวชอุ่ม สุธารัตน์ วรรณถาวร
พิสูจน์อักษร : ยุพดี ตันติทวีโชค
รูปเล่ม : Evolution Art
ออกแบบปก : Rabbithood Studio
ผู้อำานวยการฝ่ายการตลาด : นุชนันท์ ทักษิณาบัณฑิต
ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : ชิตพล จันสด
ผู้จัดการทั่วไป : เวชพงษ์ รัตนมาลี
จัดพิมพ์โดย : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำากัด เลขที่ 37/145 รามคำาแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร 0 2728 0939 ต่อ 108
www.gypsygroup.net
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID : @gypzy
พิมพ์ที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำากัด โทร. 0 2147 3175-6
จัดจำาหน่ายโดย : บริษัท อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จำากัด
108 หมู่ที่ 2 ถ.บางกรวย-จงถนอม ต.มหาสวัสดิ์
อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130
โทร. 0 2423 9999 โทรสาร 0 2449 9222, 0 2449 9500 6
Homepage: http://www.naiin.com

สนใจสั่งซื้อหนังสือจำานวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สำานักพิมพ์ลดราคาพิเศษ ติดต่อ โทร. 0 2728 0939

Great Mongol Empire




มหาจักรวรรดิมองโกล
























ภาสพันธ์ ปานสีดา

คานาสานักพิมพ์






“มองโกล” มหาจักรวรรดิท่เคยครอบครองอาณาเขตกว้างไกลท่สุด






ในประวตศาสตร์โลก ทพม้ามองโกลควบตะบงไปถงทใด เหล่าผ้ครองดน






แดนล้วนแตกพ่ายมิอาจต้านทาน บ้างก็ระย่นย่อต่อกิตติศัพท์ความเห้ยม

หาญดุดันและอุบายการรบ จนยอมสยบโดยมิต้องออกแรงให้เสียเลือดเน้อ
ในยุครุ่งเรืองของมหาจักรวรรดิ กองทหารมองโกลซึ่งประกอบด้วย
นกรบจากนานาชนเผ่า หลากเชอชาต หลายศาสนา รวมตวกนเป็นทพ







แกร่งที่แทบจะเรียกได้ว่าไร้พ่าย รบที่ไหน ได้ชัยที่นั่น พิชิตเมืองใดก็กวาด






เอาทรพย์สนและผ้คนไปเป็นเชลยแล้วกบกตะลุยต่อไปราวกบสงครามคือ
ลมหายใจหล่อเลี้ยงชีวิตของพวกเขา


การอุบัติข้น เรืองรอง และเส่อมโทรมลงของมหาจักรวรรดิแห่งน ี ้
ล้วนมีปัจจัยส�าคัญจากเจ้าผู้ปกครอง หรือ “ข่าน” ผู้น�าที่ชี้เป็นชี้ตาย สร้าง

ความวิบัติสะท้านสะเทือนไปคร่งโลก และในขณะเดียวกันก็สร้างความ
เจริญก้าวหน้าทางวัฒนธรรมและวิทยาการหลายแขนง ซ่งส่งผลสืบเน่อง


ยาวนานมาจนถึงทุกวันนี้
วิสัยทัศน์ของจอมข่าน ปรีชาชาญในการศึก วิถีแห่งนักรบบนหลัง
ม้าของชนเผ่ามองโกล เป็นมรดกทางปัญญาที่ควรเรียนรู้ หรืออย่างน้อยก็




น่าศกษาว่าเหตใดชนเผ่าเร่ร่อนท่ถกเรียกว่า “อนารยชน” จงก้าวข้นมาม ี







บทบาทสาคญในหน้าประวตศาสตร์โลกได้อย่างทไม่มชนชาตใดเคยทาได้




มาก่อน... ขอเชิญผู้อ่านทุกท่านเดินทางย้อนกลับไปสู่ความย่งใหญ่เกรียง

ไกรของ “มหาจักรวรรดิมองโกล”
ด้วยมิตรภาพ
ส�านักพิมพ์ยิปซี



คานาผู้เขียน





แม้ภาพลักษณ์ของผมเท่าท่ผู้อ่านหลายท่านท่ติดตามงานเขียนของ



ผมท้งในรปแบบของบทความในเพจประวตศาสตร์ฮาเฮ จนกระทงเรอย













มาถงงานเขยนทเป็นรปเล่มนน อาจจะทาให้หลายท่านพานเข้าใจว่าผมม ี


ความช่นชอบในประวัติศาสตร์โลกยุคกลางเป็นอย่างมาก แต่เม่อผมได้รับ

โอกาสจากทางกองบรรณาธิการให้ได้เขียนผลงานเป็นรูปเล่มในล�าดับที่ 3
นี้แล้ว ผมจึงถือเป็นโอกาสที่จะได้เขียนเรื่องราวในหน้าประวัติศาสตร์ที่ผม
ชื่นชอบมากที่สุดก็คือ ประวัติศาสตร์จักรวรรดิมองโกลนั่นเอง โดยจุดเริ่ม
ต้นของความสนใจในประวัติศาสตร์จักรวรรดิมองโกลของผม ได้เร่มข้นเม่อ



ช่อง ITV หรือที่ปัจจุบันคือช่อง ThaiPBS ได้น�าสารคดีอาณาจักรมองโกล




มาฉายเม่อสมัยท่ผมยังอยู่ช่น ม.1 ซ่งเม่อผมได้เห็นภาพของแผนท่จักรวรรด ิ



มองโกลอันกว้างใหญ่ท่ครอบครองดินแดนต้งแต่สุดขอบทวีปเอเชียไปจนถึง


ใจกลางทวีปยุโรป และโดยเฉพาะการพรรณนาถึงกองทัพม้าอันดุดันเหี้ยม
หาญด้วยแล้ว จึงทาให้ผมเกิดความรู้สึกต่นเต้นตกตะลึง และพยายามสืบค้น



หาข้อมูลเร่องราวของอาณาจักรของชนเผ่าเร่ร่อนบนหลังม้าเหล่าน้มานับ

ตั้งแต่นั้น ความชื่นชอบในเรื่องราวของพวกมองโกลเป็นจุดเริ่มต้นของการ
ศึกษาค้นคว้าถึงบรรดาอาณาจักรและดินแดนต่างๆ ท่มีส่วนเก่ยวข้องในยุค


สมัยนั้น อย่างเช่นประวัติศาสตร์จีน, ยุโรป และโลกมุสลิมในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกกลาง เป็นแรงผลักดันให้ผมได้กลายมาเป็นผู้รักในการศึกษาและ
ท�างานเขียนด้านประวัติศาสตร์จนทุกวันนี้นั่นเอง

อย่างไรก็ตาม ในบรรดาชนชาติท่ได้ก้าวข้นมาเป็นชาติมหาอานาจ





ของโลกยุคโบราณน้น แม้ว่าจักรวรรดิมองโกลจะได้ช่อว่าเป็นหน่งใน


จักรวรรดิท่ย่งใหญ่และทรงอานาจท่สุดในประวัติศาสตร์โลก แต่ภาพลักษณ์





ของจักรวรรดิมองโกลท่หลงเหลือมาถึงในยุคสมัยหลังน้น กลับมิได้เป็นท ี ่

ยกย่องหรือเป็นที่จดจาเทียบเท่ากับบรรดาจักรวรรดิมหาอานาจก่อนหน้า

นี้แต่อย่างใด เพราะมรดกความทรงจ�าเกี่ยวกับการท�าศึกของพวกมองโกล




น้น นอกจากเร่องราวของกองทหารม้าที่เห้ยมหาญท่สุดในประวัติศาสตร์

แล้ว ก็ล้วนแต่เป็นเร่องราวความน่าสะพรึงกลัวในระหว่างการบุกปล้นชิง
และทาลายหัวเมืองและอาณาจักรโบราณอันรุ่งเรืองต่างๆ จนพินาศย่อยยับ

จึงทาให้ห้วงสมัยแห่งการท�าศึกแผ่ขยายดินแดนของพวกมองโกล ถูก





จดจาในฐานะยุคสมัยแห่งภัยพิบัติและการทาลายล้างคร้งใหญ่ท่สุด เท่า

ท่อารยธรรมของมนุษยชาติได้อุบัติข้นมาเลยทีเดียว แต่จากหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร์ที่หลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน กลับสะท้อนเรื่องราวหรือมุมมอง
อีกด้านหนึ่งว่า ภายใต้ยุคสมัยแห่งการปกครองของพวกมองโกลก็ยังได้น�า
มาซ่งเสถียรภาพทางการเมือง, เศรษฐกิจ, หรือแม้แต่ความก้าวหน้าทาง


ศิลปวิทยาการ อย่างท่โลกท้งโลกไม่เคยประสบพบเจอมาก่อนด้วยเช่น



เดียวกัน จึงทาให้ภาพความทรงจาของจักรวรรดิมองโกลในโลกปัจจุบันน ้ ี

กลายเป็นประวตศาสตร์ทมความขดแย้งและทบซ้อนกนอย่อย่างเหนได้









ชัด และกลายมาเป็นประเด็นสาระส�าคัญที่ท�าให้นักวิชาการและผู้สนใจใน
ประวัติศาสตร์ต่างพยายามถกเถียง และพยายามหาข้อสรุปถึงความส�าเร็จ
ในการทาศึกพิชิตดินแดน และผลกระทบหรือมรดกท่จักรวรรดิมองโกล


ได้มอบไว้ให้กับโลกในทุกวันนี้


เพราะฉะน้นแล้ว ผมจึงต้งใจรวบรวม, เรียบเรียง และวิเคราะห์
ข้อมูลหรือเร่องราวเก่ยวกับประวัติศาสตร์มองโกลเท่าท่ผมสืบค้นได้ให้





ละเอียดครบถ้วนมากท่สุด เพ่อท่ท่านผู้อ่านจะได้เข้าใจว่า อะไรคือเหต ุ




ปัจจัยท่ทาให้พวกมองโกลจาเป็นต้องทาศึกแผ่ขยายดินแดน และอะไร




คือปัจจัยท่ทาให้พวกมองโกลประสบความสาเร็จในการทาศึกได้อย่าง

รวดเร็วและกว้างใหญ่ไพศาล และโดยเฉพาะเร่องราวของผลกระทบ





ต่างๆ ท่จักรวรรดิมองโกลได้สร้างเอาไว้ ซ่งผมหวังว่าหนังสือเล่มน้จะ

ทาให้ท่านผู้อ่านทุกท่านมีความเข้าใจในเร่องราวของอาณาจักรมองโกล



และประวัติศาสตร์โลกในห้วงเวลาน้นมากย่งข้น

ขอให้พระเจ้าทรงอวยพรทุกท่าน
ภาสพันธ์ ปานสีดา

สารบัญ






ปฐมบท รุ่งอรุณแห่งชนเผ่าเร่ร่อน 10


บทที่ 1 บุตรแห่งหมาป่าสีน�้าเงิน 30

บทที่ 2 ราชันแห่งทุ่งหญ้า 47


บทที่ 3 ท้าทายจักรพรรดิทองค�า 65


บทที่ 4 บุกแดนตะวันตก 85


บทที่ 5 การล้างผลาญครั้งใหญ่ 103

บทที่ 6 ดินแดนที่ไม่รู้จัก 122


บทที่ 7 สืบสานปณิธาน 143


บทที่ 8 แผ่แสนยานุภาพ 162


บทที่ 9 วางรากฐานจักรวรรดิใหม่ 180

บทที่ 10 กองทัพมฤตยู 199


บทที่ 11 ราชินีหมาป่า 217


บทที่ 12 บัลลังก์เลือด 235


บทที่ 13 พระประมุของค์ใหม่ 254

บทที่ 14 มหันตภัยครั้งใหม่ 272


บทที่ 15 แสนยานุภาพอันมิสิ้นสุด 290


บทที่ 16 ศึกชิงแผ่นดิน 309


บทที่ 17 แผ่แสนยานุภาพ 327

บทที่ 18 จอมจักรพรรดิ 348


บทที่ 19 จุดสูงสุดแห่งอ�านาจ 368


บทที่ 20 จุดจบแห่งมหาจักรวรรดิ 386


บทที่ 21 มรดกแห่งความเกรียงไกร 405





ภาคผนวก 419


16 กลยุทธ์ของกองทัพมองโกล 420


ล�าดับเหตุการณ์ส�าคัญในประวัติศาสตร์จักรวรรดิมองโกล 423

บรรณานุกรม 431

ปฐมบท






รุ่งอรุณแห่งชนเผ่าเร่ร่อน

มหาจักรวรรดิมองโกล























แผ่นทองค�ารูปการท�าศึกของพวกไซเธียนที่ค้นพบในยูเครน
ภาพจาก www.112.international.html



ในขณะที่การสิ้นสุดยุคน�้าแข็ง (Ice age) เมื่อ 10,000 ปีก่อนส่งผล
ให้มนุษยชาติปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากการเป็นชนเผ่าเร่ร่อน (Nomadic) ที่
ดารงชีพด้วยการล่าสัตว์และอพยพตามฝูงสัตว์ขนาดใหญ่ตามฤดูกาล กลาย



มาเป็นสังคมกสิกรรมท่ลงหลักปักฐานอย่างถาวร ดารงชีพด้วยการเพาะ












ปลกธญพชและเลยงฝงปศสตว์ตามแนวชายฝั่งแม่นาทอดมสมบูรณ์ตลอด




ท้งปี ผลแห่งการปรับเปล่ยนวิถชีวิตการดารงชพคร้งใหญ่น ได้กลายมาเป็น





รากฐานของการสถาปนายุคแห่งอาณาจักรและนครรัฐ ของเหล่าอารยธรรม
อันยิ่งใหญ่ต่างๆ ของโลกโบราณ

ในอีกหลายพันปีต่อมาน้น กลับมีมนุษย์อีกกลุ่มหน่งท่ยังคงเลือก



อาศัยอยู่ในเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe) หรือทุ่งหญ้าก่งทะเลทราย ณ
ดินแดนทางเหนืออันห่างไกลและทุรกันดารของทวีปยูเรเซีย (Eurasia) 1


ด้วยการดารงชพเป็นชนเผ่าเร่ร่อนท่เลยงต้อนฝูงปศุสตว์ (pastoralism)




เหมือนกับบรรพบุรุษในยุคเร่มแรก แต่เน่องจากพวกเขาเป็นมนุษย์กลุ่ม



1 หมายถึงเขตภูมิศาสตร์ทีรวมพืนทีทวีปยุโรปและเอเชียเข้าด้วยกัน


11

Great Mongol Empire


แรกที่ฝึกหัดม้าป่า (Wild horse) ให้กลายมาเป็นสัตว์พาหนะได้ส�าเร็จเมื่อ




ราว 4,000 ปีก่อน บรรดาชนเผ่าเร่ร่อนดกดาบรรพ์แห่งยเรเซยจึงได้ใช้
ม้าเป็นท้งสัตว์พาหนะในการเดินทางอพยพ, การกวาดต้อนฝูงสัตว์เล้ยง,


การออกล่าสัตว์ป่าในทุ่งกว้าง, และเหนืออื่นใดคือเป็นสัตว์พาหนะส�าหรับ

การทาศึกสงครามกับชนเผ่ารอบข้าง จนทาให้สังคมชนเผ่าเร่ร่อนบนหลัง


ม้าแห่งยูเรเซียน้ กลายเป็นสังคมมนุษย์ท่สามารถอพยพเดินทางเพ่อย้าย


ถิ่นฐาน หรือแม้แต่บุกเบิกขยายดินแดนของตนได้อย่างรวดเร็ว และกว้าง
ไกลยิ่งกว่าอารยธรรมใดในห้วงเวลาเดียวกันจะกระท�าได้ และด้วยเงื่อนไข
แห่งความส�าเร็จบนหลังม้าเช่นนี้เอง ได้กลายเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการปะทะ
ระหว่างโลกแห่งอนารยชนและโลกแห่งอารยธรรมไปในที่สุดด้วยเช่นกัน





เหตุแห่งการปะทะระหว่างท้งสองโลกได้เร่มข้นเป็นคร้งแรกในช่วง


สหัสวรรษท่สองก่อนคริสตกาล เม่อกลุ่มชนเผ่าเร่ร่อนดึกดาบรรพ์แห่งยูเรเซีย

ท่ถูกเรียกโดยรวมว่าเป็น “กลุ่มชาติพันธุ์อินโด - อิหร่าน” (Indo - Iranian)

อันมีถ่นฐานอาศัยอยู่ในเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ทางตอนใต้ของทะเลสาบ

แคสเปียน (Caspian sea) ได้ยกทัพเข้ารุกรานและยึดครองดินแดนทาง
ตอนเหนือของอนุทวีปอินเดียเม่อ 1,500 ปีก่อนคริสตกาล โดยเหล่าชาว

พ้นเมืองต่างเรียกขานผู้รุกรานบนหลังม้าอันลึกลับเหล่าน้ว่า “อารยัน”


(Arayan) และด้วยผลจากการรุกรานพวกอินโด - อิหร่านหรือพวกอารยัน




ในอินเดียคร้งน้น นับเป็นการเปล่ยนผ่านคร้งสาคัญของประวัติศาสตร์


อารยธรรมลุ่มนาสินธุท่เคยเป็นอารยธรรมยุคสาริด (Bronze age) ให้กลาย




มาเป็นอารยธรรมยุคเหล็ก (Iron age) หรือกลายมาเป็นจุดเร่มต้นของ “ยุค
พระเวท” (Vedic age) ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นยุคแห่งประวัติศาสตร์ที่แท้

จริงของภูมิภาคเอเชียใต้น่นเอง และในอีกห้วงสหัสวรรษต่อมา บรรดา

ชนเผ่าเร่ร่อน “กลุ่มชาติพันธุ์อินโด - ยูโรเปี้ยน” (Indo - European) ซ่งถือว่า
เป็นเครือญาติของกลุ่มชาติพันธุ์อารยันหรืออินโด - อิหร่านท่อาศัยอยู่ใน

12

มหาจักรวรรดิมองโกล



ทุ่งหญ้าสเตปป์แถบเทือกเขาอัลไต (Altai mountain) ก็เร่มอพยพเข้าสู่
ดินแดนในแถบเอเชียกลางตอนกลาง



















ภาพปักแสดงรูปเหล่านักรบอิหร่านจากสุสานของพวกซยฺงหนูในมองโกเลีย
ภาพจาก www.scfh.ru




จนกระท่งในช่วงศตวรรษท่ 7 ก่อนคริสตกาล กองทัพม้าอินโด - ยูโรเปี้ยน

กลุ่มหน่งก็เปิดฉากเข้าโจมตีบรรดานครรัฐในเขตลุ่มแม่นาไทกริส - ยูเฟรติส


อันเป็นศูนย์กลางของโลกแห่งอารยธรรมเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)



จนย่อยยับ จากน้นจึงอพยพเข้าไปต้งถ่นฐานในแถบทุ่งหญ้าสเตปป์ตามแนว
ชายฝั่งทะเลปอนตุส (Pontus sea) หรือทะเลดา (black sea) ท่อยู่ระหว่าง


ภูมิภาคยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์ (Asia minor) หรือเอเชียน้อย 2
โดยชนเผ่าเร่ร่อนเหล่านยังก่อการปล้นชงจนล่วงเข้าไปถงเขตคาบสมทร





บอลข่าน (Balkan straits) และแนวชายฝั่งทะเลอีเจี้ยน (Aegean sea) ซึ่ง
ถือว่าเป็นศูนย์กลางของโลกแห่งอารยธรรมของชาวเฮลาส (Hellas) หรือ
ชาวกรีก (Greek) อันรุ่งเรืองอีกด้วย และชาวกรีกก็ได้ขนานนามบรรดา
อนารยชนผู้ลึกลับจากเอเชียเหล่านี้ว่า “ไซเธียน” (Scythian)
แต่ในขณะท่โลกตะวันตกและภูมิภาคตะวันออกกลางกาลังเผชิญ


2 หมายถึงดินแดนในประเทศตุรกีทุกวันนี ้


13

Great Mongol Empire



หน้ากับการรุกรานของพวกไซเธียนท่มีฐานท่ม่นอยู่ในแถบทุ่งหญ้าสเตปป์


ตามแนวชายฝั่งทะเลดา บรรดาชนเผ่าไซเธียนและกลุ่มชนเผ่าเร่ร่อนท ี ่

พูดภาษาตระกูลอิหร่าน (Iranic Language) ก็ได้อพยพเข้าสู่ดินแดนทาง
ตะวันออกอีกด้วย โดยพวกไซเธียนสายตะวันออกได้สถาปนาอาณาจักรของ
ตนเองในนาม “อาณาจักรศากกะ” (Kingdom of Saka) เข้าครอบครอง


ดินแดนในเอเชียกลาง นอกจากน้นก็ยังมีกลุ่มชาติพันธุ์อิหร่านอีกกลุ่มท่ชาว

3

หัวเซ่ย (Huaxia - 華夏) หรือชาวจีนในยุคแรก เรียกว่า “เยว่จ่อ” (Yuezhi)

ก็ได้สถาปนานครรัฐอิสระของตนครอบครองแหล่งโอเอซิสต่างๆ ในเขตแอ่ง
ทาริม (Tarim Basin) ด้วย แต่ในขณะที่ชนเผ่าเชื้อสายอินโด - ยูโรเปี้ยน




และพวกอิหร่านกลุ่มต่างๆ กาลงเรองอานาจอย่ในดินแดนทางตะวันตกน้น




กลบปรากฏมชนเผ่าเร่ร่อนลกลับกลุ่มหน่งได้สถาปนาอานาจการปกครอง



ของตนเองข้นมาในเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ในมองโกเลีย (Mongolia) และได้หัน

มาเปิดฉากเข้าปล้นโจมตีเหล่านครรัฐต่างๆ ในเขตที่ราบลุ่มแม่น�้าหวงเหอ
หรือแม่น�้าฮวงโหที่ถูกเรียกว่า “แผ่นดินจงหยวน” (Zhōngyuán - 中原) 4
อีกด้วย จนทาให้ชนเผ่าเร่ร่อนกลุ่มน้กลายเป็นภัยคุกคามท่น่าสะพรึงกลัว





ท่สุดในช่วงยุคแรกเร่มของประวัติศาสตร์อารยธรรมจีน โดยชาวหัวเซ่ย


หรือชาวจีนในยุคน้นต่างเรียกขานผู้รุกรานบนหลังม้าเหล่าน้รวมๆ กันว่า

พวก “หู” (胡) ที่แผลงมาจากค�าว่าหู (鬍) ที่แปลว่า ‘หนวดเครา’ เพื่อ
บ่งบอกถึงลักษณะการไว้หนวดเคราอันรกรุงรังของชนเผ่าเร่ร่อนเหล่าน ้ ี


น่นเอง และเม่อถึงช่วงยุคศตวรรษท่ 3 ก่อนคริสตกาล กองกาลังชนเผ่า



3 นามว่าหัวเซียนันเป็นชือเรียกตนเองของชาวจีนมาตังแต่ยุคราชวงศ์โจวจนถึงราชวงศ์ฮันตอนต้น ส่วนสาเหตุทีชาวจีน






เรียกตนเองว่าชาวฮันในภายหลังนัน เพราะราชวงศ์ฮันนับว่าเป็นราชวงศ์ทีสร้างความเป็นเอกภาพและความยิงใหญ่ให้






กับแผ่นดินจีนยิงกว่าสมัยราชวงศ์ฉิน และด้วยอายุการปกครองแผ่นดินทียาวนานกว่า 400 ปี จึงท�าให้ชาวจีนเรียก



ตนเองว่าเป็นชาวฮันตามนามราชวงศ์ฮันมานับตังแต่นัน ้
4 แผ่นดินจงหยวนหรือตงง้วน มีความหมายว่า “บรมมัชฌิมะ” หรือ “แผ่นดินกลางอันยิงใหญ่” (the great middle







land) ซึงแต่เดิมเป็นการระบุถึงดินแดนในแถบทีราบลุ่มแม่น�าหวงเหอ/ฮวงโหทีครอบคลุมพืนทีในเขตมณฑลส่านซี,
เหอหนาน, หูเป่ย, อันฮุย และชานตงทีล้วนแต่เป็นจุดศูนย์กลางของอารยธรรมจีนมาตั้งแต่ยุคบรรพกาลแล้ว

14

มหาจักรวรรดิมองโกล


เร่ร่อนกลุ่มนี้ก็ประสบความส�าเร็จในการรวบรวมชนเผ่าเร่ร่อนกลุ่มต่างๆ ใน


เขตทุ่งหญ้ามองโกล เร่อยไปจนถึงท่ราบสูงเทือกเขาอัลไต และยังสามารถ
เข้ายึดครองดินแดนแอ่งทาริมเอาไว้ได้ โดยชาวจีนเรียกชนเผ่าเร่ร่อนกลุ่มน ี ้
ว่า “ซยฺงหนู” (Xiongnu -匈奴) 5































เครื่องประดับรูปนักรบซยฺงหนูที่หล่อจากส�าริด
ภาพจาก www.artserve.anu.edu.au.html



หลังจากประสบความสาเร็จในการรวบรวมชนเผ่าเร่ร่อนกลุ่มต่างๆ

เข้ามาในอ�านาจได้แล้ว พวกซยฺงหนูก็ยกทัพเข้าปล้นโจมตีแนวชายแดนด้าน




ตะวันตกและทางเหนือของจีนอย่างรุนแรงมากย่งข้น จนกระท่งเม่อมีการรวม

แผ่นดินจีนเป็นหน่งเดียวกันในยุคราชวงศ์ฉิน (Qin dynasty) แล้ว จักรพรรด ิ
5 ส�าหรับความเป็นมาของชนเผ่าซยฺงหนูยังคงเป็นปริศนา เพราะนักประวัติศาสตร์และนักมานุษยวิทยายังไม่อาจจะระบ ุ
ถึงต้นก�าเนิดหรือชาติพันธุ์ทีแท้จริงของชนเผ่าเร่ร่อนกลุ่มนีได้อย่างแน่ชัด


15

Great Mongol Empire


แห่งราชวงศ์ฉินจึงได้ส่งกองทัพเข้าตอบโต้การรุกรานของอนารยชนเหล่า



น้ จนถอยร่นกลับเข้าไปยังใจกลางทุ่งหญ้ามองโกลได้สาเร็จ และจากน้น




พระองค์ก็ทรงมีบัญชาให้สร้าง “กาแพงหม่นล้” ด้วยการเช่อมต่อแนว
กาแพงระหว่างแว่นแคว้นทางเหนือท่มีอยู่ก่อนแล้วเข้าด้วยกัน จนกลาย



เป็นแนวปราการตลอดแนวพรมแดนทางเหนอ ไปจรดแนวชายฝั่งทะเล
ด้านตะวันออกเพื่อป้องกันการรุกรานจากพวกซยฺงหนู หากแต่แนวก�าแพง

น้ก็หยุดยั้งการโจมตีและการปล้นชิงของกองทัพม้าเผ่าเร่ร่อนพวกน้ได้เพียง


ระดับหนึ่งเท่านั้น เพราะเมื่อจักรวรรดิจีนมีการผลัดเปลี่ยนราชวงศ์ใหมขึ้น
มาเป็น “ราชวงศ์ฮั่น” (Han dynasty) แล้ว พวกซยฺงหนูยังคงหวนกลับมา
โจมตีแนวชายแดนทางเหนือของจีนอยู่ตลอดเวลา และด้วยแผนการทาศึก




เชิงต้งรับตามแนวชายแดนของราชวงศ์ฮ่นน้นก็ยังส้นเปลืองงบประมาณ


เป็นจานวนมหาศาล และไม่อาจจะหยุดย้งการรุกรานของพวกซยฺงหนูลงได้

อีกด้วย ราชส�านักฮั่นจึงได้เปลี่ยนแผนการท�าศึกตั้งรับเพียงอย่างเดียว มา
เป็นการส่งเคร่องบรรณาการไปเจริญสัมพันธไมตรี และเปิดตลาดทาการค้า


ตามแนวชายแดน เพ่อหวังลดการโจมตีของชนเผ่าเร่ร่อนเหล่าน้ลงได้บ้าง



แต่ด้วยผลจากการท่ราชสานักจีนเลือกท่จะใช้นโยบายประนีประนอมกับ




อนารยชนเหล่าน้มาโดยตลอด จึงทาให้ผู้นาของพวกซยฺงหนูประกาศตน

เป็น “ฉานหยี่ว์” (Chan yu/Shan yu - 單于) อันแปลว่า “มหาบุตรแห่ง

ฟ้านิรันดร์” (Great Son of Eternal sky) เพ่อเป็นการประกาศบารม ี
ให้ทัดเทียมกับจักรพรรดิจีนที่มีสถานะเป็น “เทียนจื่อ” (Tiānzǐ - 天子)
หรือ “โอรสสวรรค์” นั่นเอง
จนกระท่งในยุครัชสมัยของจักรพรรดิฮ่นหวู่ต้ หรือ “ฮ่นบู๊เต้”




พระองค์ทรงยกเลิกนโยบายรักษาความสัมพันธ์กับอนารยชนเหล่าน้ มา




เป็นการทาศึกประจันหน้ากับกองกาลังผู้รุกรานเหล่าน้โดยตรง จนกลาย


มาเป็นสงครามท่ยืดเย้อยาวนานหลายทศวรรษท่จะกลายมาเป็นจุดเร่มต้น


16

มหาจักรวรรดิมองโกล




ของการพลิกโฉมหน้าประวัติศาสตร์โลกคร้งสาคัญ เพราะผลจากการทา









ศกในครงน้ ไม่เพยงแต่จะทาลายล้างอานาจของอาณาจกรซยงหนอน





ย่งใหญ่ลงได้สาเร็จ จนกลายเป็นการเปิดเส้นทางให้จักรวรรดิจีนสามารถ
แผ่ขยายอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจเหนือบรรดาราชอาณาจักร


และรัฐอิสระต่างๆ ในเอเชียกลางเท่าน้น แต่ยังทาให้เหล่าชนเผ่าซยฺงหน ู
บางส่วนท่ยังคงตกค้างอยู่ในดินแดนทางตะวันตกต่างพากันอพยพลึกเข้าไป

ในเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ทางฝั่งตะวันตก หรือแม้แต่ลงไปอาศัยในเขตภูมิภาค

ตะวันออกกลาง อันจะส่งผลต่อความม่นคงและทิศทางในประวัติศาสตร์ของ


ภมภาคเหลานนดวยเชนกน เพราะการเขามาของพวกซยงหนในแดนตะวนตก










นน นอกจากจะทาให้บรรดารฐในดนแดนแถบตะวนออกกลางอย่างพวก






เปอร์เซียและอินเดียต่างเรียกอนารยชนแปลกหน้าจากแดนตะวันออกเหล่าน ี ้
ว่า “หูณะ” (Hunas) หรือที่รู้จักในอีกชื่อว่า “ฮัน” (Huns) ซึ่งพวกซยฺงหนู

กลุ่มตะวันตกหรือพวกฮันเหล่าน้จะแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ “ฮันขาว”
(White hun) และ “ฮันด�า” (Black hun) โดยพวกฮันขาวได้ยกทัพลงใต้
เข้าโจมตี “จักรวรรดิแซสซานิดส์” (Sassanids empire) หรือ “จักรวรรดิ
เปอร์เซียใหม่” (Neo - Persian empire) จนสามารถบุกตะลุยเข้าไปถึง









อนทวปอนเดยได้ด้วย ซงการรกรานของพวกฮนขาวในครงน จะทาให้





จักรวรรดิแซสซานิดส์น้นต้องทาการสร้างมหากาแพงกอร์กัน (the great


6
wall of gorgan) ตลอดแนวพรมแดนทางตะวันออกเฉียงเหนือเลยทีเดียว


และยังเช่อกันว่าผลจากการรุกรานของพวกฮันขาวในคราวน้น อาจจะกลาย
มาเป็นจุดเร่มต้นของตานานชนชาติโกกและมาโกก (Gog and Magog) ใน



6 ในความเป็นจริงแล้ว มหาก�าแพงนีได้ถูกสร้างมาตังแต่ช่วงยุคราชวงศ์จักรวรรดิอาร์เคมานิค (Achaemenid Empire)



ของเปอร์เซียโบราณแล้ว และได้มีการต่อเติมในยุคทีพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิโดเนีย เรือยมาจนถึงยุค
จักรวรรดิปาร์เธียน (Parthian empire) และแซสซานิดส์ตามล�าดับ โดยเหตุผลแรกของการสร้างแนวก�าแพงนีอาจ



จะเพือป้องกันการรุกรานของพวกไซเธียนทียังคงเข้าโจมตีดินแดนในตะวันออกกลางมาอย่างยาวนานหลายร้อยปี


เหมือนทืพวกซยฺงหนูคุกคามแผ่นดินจีนนันเอง

17

Great Mongol Empire


คริสต์ศาสนา หรือยะอ์ญูจญ์และมะอ์ญูจญ์ (Ya’jūj wa-Ma’jūj) ในศาสนา
7
อิสลามก็เป็นได้ แต่ถึงกระนั้นพวกฮันขาวที่สามารถบุกลงไปถึงอินเดียนั้น
ก็ได้สถาปนาอาณาจักรอิสระของตนขึ้นมาได้ในนาม “จักรวรรดิกุษาณะ”

(Kushan empire) อันย่งใหญ่ข้นปกครองดินแดนทางตอนเหนือ และตอน

กลางของอินเดียได้เป็นเวลากว่าสามร้อยปีเลยทีเดียว
ในขณะที่พวกฮันด�าก็ยังคงอพยพต่อไปทางตะวันตก และได้ยกทัพ
เข้าครอบครองดินแดนในแถบเทือกเขาอูราล (Ural) ในรัสเซีย เรื่อยลงมา

จนถึงทุ่งหญ้าสเตปป์ตามแนวชายฝั่งทะเลปอนตุส หรือทะเลด�าด้านตะวัน

ออกเฉียงเหนือท่ติดกับเขตท่ราบสูงคอเคซัส (Caucasas) จนกระท่งในช่วง


ศตวรรษที่ 4 ผู้น�าของพวกฮันด�าคือ “อัทติล่า” (Attila the Hun) จึงเริ่ม
เปิดฉากเข้ารุกรานและกวาดล้างบรรดาชนเผ่าเร่ร่อนและชนกลุ่มน้อยเผ่า



ต่างๆ ในแถบภูมิภาคยุโรปตะวันออก และจากน้นจึงยกทัพข้ามแม่นาดานูบ
(Danube river) เข้าโจมตีจักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman
Empire) อย่างเต็มรูปแบบ จนสามารถบุกทะลวงไปจนถึงใจกลางแคว้น
กอลส์ (Gauls) หรือประเทศฝร่งเศสในทุกวันน้ ซ่งผลแห่งการรุกราน







ของพวกฮันในคร้งน้น นับเป็นการทาลายล้างคร้งรุนแรงท่สุดในหน้า

ประวัติศาสตร์จักรวรรดิโรมันและอารยธรรมโลกตะวันตกเลยทีเดียว และ


แม้ว่าพวกฮันจะมิอาจทาลายจักรวรรดิโรมันลงได้ แต่ผลจากการทาลาย

ล้างของพวกฮันทาให้จักรวรรดิโรมันซ่งเป็นชาติท่ทรงอานาจท่สุดใน





ประวัติศาสตร์โลกตะวันตกแห่งน้ถึงกาลเส่อมอานาจ จนไม่อาจจะฟื้นฟ ู


กลับคืนมาได้อีก และถึงกาลล่มสลายลงในอีกไม่กี่ทศวรรษต่อมา


7 โกกและมาโกกหรือยะอ์ญูจญ์และมะอ์ญูจญ์นันเป็นชนชาติปริศนาทีมีปรากฏอยู่ในคัมภีร์ทางศาสนาของกลุ่มศาสนา

อับราฮัม (Abrahamic religions) คือศาสนายูดาย, คริสต์ศาสนา, ศาสนาอิสลาม โดยระบุชนชาติเหล่านีเป็นชน


เผ่าอันลีลับทีอยู่ทางตอนเหนือ และพวกเขาจะมาปรากฏตัวในช่วงสงครามวันพิพากษาโลก
18

มหาจักรวรรดิมองโกล

























นักรบฮันปล้นคฤหาสน์ของชาวโรมัน ผลงานของ Georges Rochegrosse
ภาพจาก www.wikipedia.org



ในห้วงเวลาเดียวกันกับการรุกรานจักรวรรดิโรมันของพวกฮันน้น

จักรวรรดิจีนท่เคยย่งใหญ่ก็ต้องเผชิญการรุกรานคร้งใหญ่อีกระลอกของพวก


อนารยชนในเวลาอันไล่เล่ยด้วยเช่นกัน เพราะผลจากสงครามกลางเมือง


ท่สืบเน่องยาวนานในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ฮ่นท่เรียกว่า “ยุคสามก๊ก”




(Three kingdom) เร่อยมาจนถึงยุคราชวงศ์เว่ย (Wei dynasty) และ

ราชวงศ์จ้น (Jin dynasty) ทาให้เหล่าชนเผ่าเร่ร่อนในทุ่งหญ้าทางเหนือ


กลุ่มต่างๆ สามารถฟื้นตัวและรวบรวมกาลังหวนกลับมาโจมตีแผ่นดินจีน


อีกคร้ง โดยเฉพาะพวกซยฺงหนูท่สามารถฟื้นกาลังของตนกลับคืนมา และเปิด



ฉากเข้ารุกรานชายแดนทางเหนือของจีน จนสามารถขับไล่ให้ราชสานักจ้น





ต้องล้ภัยไปอยู่ยังดินแดนแถบลุ่มนาฉางเจียงหรือแม่นาแยงซีเกียงทางตอน



ใต้ ซ่งความพ่ายแพ้อย่างย่อยยับของชาวจีนฮ่นท่มีต่อเหล่าอนารยชนในคร้ง ั


น้ นับเป็นคร้งแรกในประวัติศาสตร์ท่เหล่าอนารยชนประสบความส�าเร็จ


ในการครอบครองดินแดนเหนือลุ่มนาหวงเหอท้งหมด จนกลายมาเป็น


19

Great Mongol Empire




จุดเร่มต้นของยุคการปกครองของเหล่าอนารยชนในแผ่นดินจงหยวนท่เรียก
ว่า “ยุคสิบหกราชอาณาจักร” (Sixteen kingdom period) และตามมา
ด้วยยุคราชวงศ์เหนือใต้ (Northern and Southern dynasties) นั่นเอง
ส�าหรับกลุ่มชนเผ่าเร่ร่อนหรือพวกหูที่ได้ก้าวขึ้นมามีบทบาทในช่วง
ยุคสมัยดังกล่าวนั้น คือกลุ่ม “ตงหู” (Donghu - 东胡) อันแปลว่า “คน


เถ่อนแดนตะวันออก” ซ่งหมายถึงชาวหูหรือชนเผ่าเร่ร่อนในดินแดนทาง





ตะวันออกท่มีฐานท่ม่นในดินแดนทุ่งหญ้ามองโกลมาแต่เดิมน่นเอง โดย



บรรดาชนเผ่าตงหูได้เร่มก้าวข้นมามีอานาจแทนพวกซยฺงหนู จนสามารถ

สถาปนา “แคว้นข่าน” (khanate) ข้นปกครองดินแดนทางตอนเหนือ
ของจีนสืบไปอีกสองร้อยปี อย่างเช่นพวกเซียนเป่ย (Xianbei) ที่เป็นพวก
มองโกลโบราณ (Proto - mongol) ที่ได้สถาปนาอาณาจักรของตนขึ้นใน
ดินแดนทางตอนเหนือของจีน และจากน้นจึงได้สถาปนาราชวงศ์ของตน

ตามแบบราชส�านักจีนในนาม “ราชวงศ์เป่ยเว่ย” หรือ “ราชวงศ์เว่ยเหนือ”
(Northern wei dynasty) ในช่วงศตวรรษที่ 4 แต่ในขณะที่พวกเซียนเป่ย

กาลังสร้างฐานอานาจในแผ่นดินจีนน้นเอง ก็ยังมี “ชนเผ่าโหรวหรัน”



(Rouran) ซ่งเป็นชนเผ่ามองโกลโบราณอีกกลุ่มท่อยู่ภายใต้การปกครอง

ของพวกเซียนเป่ย ก็ได้แยกตัวออกไปสร้างแคว้นข่านของตนเองในเขตทุ่ง

หญ้ามองโกลท้งปวงอีกด้วย และด้วยผลจากการท่ชนเผ่าเร่ร่อนได้ปกครอง

ดินแดนทางเหนือมาเป็นเวลายาวนานเช่นน้ จึงทาให้บรรดาตระกูลขุนศึก












ชาวฮนในดินแดนทางเหนอมเชอสายของชนเผาเรรอนรวมดวย โดยในชวง


ท่แผ่นดินจีนถูกรวมกันเป็นหน่งอีกคร้งในสมัยราชวงศ์สุย (Sui dynasty)



และราชวงศ์ถัง (Tang dynasty) เพราะปรากฏว่าบรรดาราชนิกูลในสมัย


ราชวงศ์สุยและถังน้นต่างสืบเชอสายมาจากพวกเซียนเป่ยด้วยเช่นกัน และ



ในขณะท่จักรวรรดิจีนกาลังฟื้นฟูความเป็นเอกภาพกลับคืนมาอีกคร้ง พวก

“ก็อกเติร์ก” (Göktürks) หรือที่ชาวจีนเรียกว่า “ทูเจี๋ย” (突厥) ซึ่งเป็น
20


Click to View FlipBook Version