The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannika, 2020-09-01 05:49:34

24 ชั่วโมงในเอเธนส์โบราณ

24 ชั่วโมงในเอเธนส์โบราณ: ชีวิตในหนึ่งวันของผู้คนที่นั่น
24 Hours in Ancient Athens: A Day in the Life of the People who Lived There
ฟิลิป มาทิสซาค: เขียน
ชาครีย์นรทิพย์ - บังอร เสวิกุล: แปล
ราคา 350 บาท
All rights reserved.
Copyright © Philip Matyszak 2019
Thai translation right © 2020 by Gypsy Publishing Co.,Ltd.
© ข้อความในหนังสือเล่มนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558
การคัดลอกส่วนใดๆ ในหนังสือเล่มนี้ไปเผยแพร่ไม่ว่าในรูปแบบใดต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน
ยกเว้นเพื่อการอ้างอิง การวิจารณ์ และประชาสัมพันธ์
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำานักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
มาทิสซาค, ฟิลิป.
24 ชั่วโมงในเอเธนส์โบราณ: ชีวิตในหนึ่งวันของผู้คนที่นั่น = 24 Hours in Ancient Athens: A Day in the Life
of the People who Lived There.-- กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป, 2563.
352 หน้า.
1. กรีซ--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว. 2. กรีซ--ความเป็นอยู่และประเพณี. I. ชาครีย์นรทิพย์ เสวิกุล, ผู้แปล.
II. บังอร เสวิกุล, ผู้แปลร่วม. III. ชื่อเรื่อง.
914.95
ISBN 978-616-301-721-5
บรรณาธิการอำานวยการ : คธาวุฒิ เกนุ้ย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน์
บรรณาธิการเล่ม : สินีนาถ เศรษฐพิศาล
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา นันทนา วุฒิ
หัวหน้าฝ่ายพิสูจน์อักษร : สวภัทร เพ็ชรรัตน์
ฝ่ายพิสูจน์อักษร : วนัชพร เขียวชอุ่ม สุธารัตน์ วรรณถาวร
พิสูจน์อักษร : จารุณี นาคสกุล
ปก/รูปเล่ม : Evolution Art
ผู้อำานวยการฝ่ายการตลาด : นุชนันท์ ทักษิณาบัณฑิต
ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : ชิตพล จันสด
ผู้จัดการทั่วไป : เวชพงษ์ รัตนมาลี
จัดพิมพ์โดย : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำากัด เลขที่ 37/145 รามคำาแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร. 0 2728 0939 ต่อ 108
พิมพ์ที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำากัด โทร. 0 2147 3175-6
จัดจำาหน่าย : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำากัด โทร. 0 2728 0939
www.gypsygroup.net
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID: @gypzy

สนใจสั่งซื้อหนังสือจำานวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สำานักพิมพ์ลดราคาพิเศษ ติดต่อ โทร. 0 2728 0939


24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ




ชีวิตในหน่งวันของผู้คนท่น่น














ฟิลิป มาทิสซาค: เขียน

ชาครีย์นรทิพย์ - บังอร เสวิกุล: แปล


คานาสานักพิมพ์






ห้าร้อยปีก่อนคริสตกาล ถือเป็นยุคทองของเอเธนส์ แม้ไม่ใช่

นครรัฐแห่งนักรบเช่นสปาร์ตา แต่ถ้ากล่าวกันด้วยเร่องศิลปะและ
วิทยาการแล้ว ถือได้ว่าเอเธนส์ไม่เป็นรองใคร เพราะหลังส้นสงคราม



กบสปาร์ตาแล้วกนบเป็นยคเรองปัญญาของเหล่านกคดนกเขยน







ศิลปะและวิทยาการสาคัญๆ ท้งหลายล้วนกาเนิดข้นท่เมืองน้ เรียก







ได้ว่าเอเธนส์เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้แทบทุกแขนง ท้งปรัชญา


ศิลปะ วรรณคดี คณิตศาสตร์ หรือแม้กระท่งการกีฬา อีกท้งยังเป็น
ช่วงรุ่งเรืองท่สุดในทุกด้าน ผู้คนจากต่างดินแดนและต่างอารยธรรม

ล้วนมุ่งหมายเดินทางมายังเอเธนส์ จะพูดว่าเอเธนส์คืออู่อารยธรรม

อันทรงอิทธิพล - โดยเฉพาะอย่างย่งต่อโลกตะวันตก - ก็ว่าได้
แต่เป็นทน่าเสียดายว่ายคทองนมีระยะเวลาแค่เพียงช่วงส้นๆ






หากมีเคร่องไทม์แมชชีนพาเราย้อนกาลเวลากลับไปได้ก็คงดีไม่น้อย


เพราะความรุ่งเรืองของอารยธรรมต่างๆ เหล่าน้นไม่อาจโดยสารกาล


เวลามาจนถึงยุคน้ให้เราเห็นหรือสัมผัสได้ ท้งสถาปัตยกรรม งานเขียน





บ้างก็ผุพังหรือสูญหาย ส่งท่ทาให้เราได้รับรู้เก่ยวกับยุคทองน้ก็มีเพียง

หลักฐานทางโบราณคดีหรือบันทึกจากเหล่านักประวัติศาสตร์ท่ถูก

ถายทอดตอๆ กนมาผานชองทางอนหลากหลาย ทงคาบอกเลา ทางการ











ศึกษา หรือสารคดี และการนาเสนอท่เปิดกว้างและเข้าถึงได้ง่าย






สาหรับยุคสมัยน้คือการเล่าผ่านตัวอักษร ซ่งหน่งในจานวนข้อเขียน
เหล่าน้นก็คือหนังสือเล่มน้ท่คุณกาลังถืออยู่ในมือ




24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ เป็นหนังสือเล่มท่ 3 ในชุด



24 Hours in Ancient History (อีกสองเล่มคือ 24 ช่วโมงในโรม
โบราณ และ 24 ชั่วโมงในอียิปต์โบราณ) เขียนโดย ฟิลิป มาทิสซาค


นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ ผู้เช่ยวชาญเร่องกรีก-โรมัน
เราจะได้ใช้เวลา 24 ช่วโมงไปกับชาวเอเธนส์โบราณ 24 คนจาก



หลากชนช้นของสังคม ต้งแต่ทาสสาวไปถึงเหล่านักการปกครอง เร่อง

ของเฮไทรากับนักปรัชญาและผู้คนจากหลายอาชีพ เราจะพบบทบาท

ของตัวละครแตกต่างกันออกไปในแต่ละตอน นอกจากน้พวกเขา
เหล่าน้นจะพาเราเดินลัดเลาะดเมือง เลียบเดินไปตามแนวลอง วอลล์




จากท่าเรอแห่งเมองพเรอสส่เอเธนส์ เข้าเยยมชมมหาวหารพาร์เธนอน






บนเนนอโครโพลส ดระเบียงจิตรกรรม (Painted Stoa) ในอโกรา





ฯลฯ อีกท้งเราจะได้เข้าใจทัศนคติความรู้สึกนึกคิด หรือกระท่งความ


เช่อในเร่องเทพเจ้าของชาวเมืองเอเธนส์ผ่านการสอดส่องดูกิจวัตรใน
แต่ละวันของพวกเขา การสังสรรค์ในทาเวิร์น การถกเถียงทางปัญญา
ของเหล่าผู้แทน หรือความเมามายหลังงานซิมโพเซียม ฯลฯ
การได้สัมผัสประวัติศาสตร์ผ่านจินตนาการและมุมมองของ
ฟิลิป มาทิสซาค นับว่าเป็นการเสพตัวอักษรท่ให้ความเพลิดเพลิน


ไม่น้อย ด้วยกลวิธีสร้างตัวละครและการเล่าเร่องท่คล้ายมีเส้นใยบางๆ




ซ่อนอยู่ในเร่องเล่าซ่งเช่อมโยงเร่องราวท้ง 24 เร่องเข้าไว้ด้วยกัน



ทาให้การอ่านงานประวัติศาสตร์ไม่ใช่เร่องน่าเบ่ออีกต่อไป และนาท ี








ต่อจากน้ สานักพิมพ์ยิปซีจะทาหน้าท่เป็นเคร่องย้อนเวลาพาท่านกลับ



ไปยังเอเธนส์โบราณ เม่อห้าร้อยปีก่อนคริสตกาล ซ่งเป็นยุคทองของ
นครรัฐอันเคยเป็นศูนย์กลางของโลก
เท่ยวเอเธนส์โบราณให้สนุกนะครับ


สานักพิมพ์ยิปซ ี

คานาผู้แปล








เม่อพูดถึงกรีกหรือเอเธนส์ ปัจจุบันก็มีข้อมูล บทความและ
หนังสือมากมายท่บอกเล่าถึงประวัติศาสตร์กรีกและเอเธนส์ในแง่มุม

ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นตานานเทพปกรณัมกรีกโบราณและวีรบุรุษผู้กล้าหาญ

กับการผจญภัยอันน่าต่นเต้น หรือบันทึกหลักปรัชญาและการเมืองท่ถือ


ได้ว่าเป็นรากฐานส�าคัญของอารยธรรมของโลกตะวันตก

แต่ในหนังสือเล่มน้ ฟิลิป มาทิสซาค ผู้เป็นนักเขียน นัก











ประวติศาสตร์ผ้เชยวชาญด้านกรก-โรมน ซงมีผลงานทได้รบการยอมรบ

อย่างกว้างขวาง จะพาเรามองเอเธนส์จากมิติภาพกว้าง เจาะลึกลงไปสู่

มิติรากหญ้าของผู้คนธรรมดาๆ ท่ต่างใช้ชีวิตอยู่ในเอเธนส์โบราณในช่วง

เวลา 1 วน ซ่งจะช่วยให้ผู้อ่านได้สัมผัสกับวิถีชีวิตปกติของผู้คนในยุคน้น


อันครอบคลุมมิติต่างๆ ของชีวิตไม่ว่าจะเป็นครอบครัว การท�าสงคราม
การแพทย์ การสังสรรค์ ศาสนา เศรษฐกิจและการเมือง จนสามารถ
เห็นภาพได้อย่างชัดเจนราวกับได้หลุดเข้าไปร่วมอยู่ในเหตุการณ์



เหล่าน้นด้วยตนเอง ซ่งจะช่วยทาให้เข้าใจแนวคิดและการดาเนินวิถ ี

ชีวิตของคนในยุคดังกล่าวได้ดีขึ้น และสะท้อนให้เห็นว่า ไม่ว่าโลกและ

สภาพแวดล้อมจะเปล่ยนไปอย่างไร และเทคโนโลยีจะมีวิวัฒนาการ
ไปมากขนาดไหน แต่ท้ายที่สุดแล้วมนุษย์ก็ยังคงสนใจ ห่วงกังวล และ
ได้รับผลกระทบจากเรื่องเดิมๆ อยู่ไม่เปลี่ยนแปลง

การแปลเหตุการณ์ต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ นับเป็นเรื่อง





ท่ท้าทายไม่น้อย เพราะครอบคลุมศาสตร์และศิลป์ทหลากหลาย ต้งแต่การ
ปราศรัย การฝึกรบ การถกหลักปรัชญา ไปจนถึงแนวคิดทางวิศวกรรม
การละคร การทูต การทาธุรกิจ จนไปถึงการผ่าตัด อีกท้งน่เป็นการทางาน





ร่วมกันในฐานะผู้แปลร่วมเป็นคร้งแรกของพวกเราท้งสอง (หลังจากท ี ่

ชาครีย์นรทิพย์ฯ เคยทาแต่หน้าท่นักเขียน/นักแปลเด่ยว และบังอรฯ



เคยทาหน้าท่ผู้ตรวจทานต้นฉบับเป็นหลัก) ซ่งในแง่ดีก็คือ การผสาน



พลังความคิด มุมมองและประสบการณ์ที่แตกต่างเพื่อภารกิจนี้


พวกเราท้งสองรู้สึกเป็นเกียรติอย่างย่งท่ได้รับความไว้วางใจจาก




สานักพิมพ์ยิปซีให้แปลหนังสือเล่มน้ และหวังเป็นอย่างย่งว่าท่านผู้อ่าน

จะมีความสุขและสนุกกับเร่องราวในเล่มเช่นเดียวกับท่พวกเรามีความ


สุขในการถ่ายทอดเร่องราว มุมมองและนัยของฟิลิป มาทิสซาค ออก
มาเป็นภาษาไทย โดยขอขอบคุณคุณวาสนา ชูรัตน์ ที่ให้โอกาสพวกเรา
ได้ท�างานร่วมกันเป็นครั้งแรก และขอขอบคุณคุณสินีนาถ เศรษฐพิศาล
บรรณาธิการเล่ม ท่ได้มีโอกาสร่วมงานกันกับชาครีย์นรทิพย์ฯ เป็น

เล่มท่สามแล้ว และช่วยแนะนาและเติมเต็มให้หนังสือเล่มน้มีความ



สมบูรณ์แบบขึ้น และขอขอบพระคุณท่านผู้อ่านทุกท่าน ณ ที่นี้


และ ณ บัดน้ ถึงเวลาแล้ว ท่พวกเราจะขอเชิญทุกท่านร่วมเดินทาง
พร้อมกัน เพื่อไปดูว่า คนเอเธนส์สมัยนั้น มีความเป็นอยู่กันอย่างไร
ด้วยความขอบคุณและความปรารถนาดี
ชาครีย์นรทิพย์ - บังอร เสวิกุล
อังการา – กุมภาพันธ์ 2563

สารบัญ





บทนา 13
ช่ ัวโมงท่ ีเจ็ดของรัตติกาล (00.00-01.00)

ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร 16

ช่ ัวโมงท่ ีแปดของรัตติกาล (01.00-02.00)


เม่อนางทาสเล่นละคร 35
ช่ ัวโมงท่ ีเก้าของรัตติกาล (02.00-03.00)

เม่อหมอออกรักษานักบวชหญิงอาร์เรฟอรอย 49

ช่ ัวโมงท่ ีสิบของรัตติกาล (03.00-04.00)

ผู้บัญชาการกองเรือออกเดินทาง 62
ช่ ัวโมงท่ ีสิบเอ็ดของรัตติกาล (04.00-05.00)


ทาสขุดเหมืองเร่มงาน 75

ช่ ัวโมงท่ ีสิบสองของรัตติกาล (05.00-06.00)




จิตรกรเคร่องปั้นดินเผาเร่มงานช้นใหม่ 88

ช่ ัวโมงท่ ่ ึ
ีหนงของสุริยกาล (06.00-07.00)
เม่อแม่มดร่ายมนต์ 100

ช่ ัวโมงท่ ีสองของสุริยกาล (07.00-08.00)

ครูฝึกมวยปลาเตรียมการสอน 114



ช่ ัวโมงท่ ีสามของสุริยกาล (08.00-09.00)




แม่ค้าปลาเร่มต้งแผง 127
ช่ ัวโมงท่ ่ ี
ีสของสุริยกาล (09.00-10.00)
ผู้มาเยือนช่วยชีวิตคน 141
ช่ ัวโมงท่ ีห้าของสุริยกาล (10.00-11.00)

แม่บ้านระเริงชู้ 156

ช่ ัวโมงท่ ีหกของสุริยกาล (11.00-12.00)



ทหารม้าสารวจกองกาลัง 170
ช่ ัวโมงท่ ีเจ็ดของสุริยกาล (12.00-13.00)


ท่านผู้แทนพักเท่ยง 184
ช่ ัวโมงท่ ีแปดของสุริยกาล (13.00-14.00)


ทาสสาวเร่มวิตกกังวล 198
ช่ ัวโมงท่ ีเก้าของสุริยกาล (14.00-15.00)

นักว่งส่งสาส์นมุ่งหน้าสู่สปาร์ตา 210

ช่ ัวโมงท่ ีสิบของสุริยกาล (15.00-16.00)

พลทหารฮอปไลต์ขุ่นเคือง 223

ช่ ัวโมงท่ ีสิบเอ็ดของสุริยกาล (16.00-17.00)

กัปตันเรือเข้าเทียบท่า 237

ช่ ัวโมงท่ ีสิบสองของสุริยกาล (17.00-18.00)


นักผังเมืองถูกซักฟอก 248
ช่ ัวโมงท่ ่ ึ
ีหนงของรัตติกาล (18.00-19.00)

เฮไทราเตรียมตัว 262
ช่ ัวโมงท่ ีสองของรัตติกาล (19.00-20.00)



พ่อค้ามะเด่อเตรียมส่งสินค้าเถ่อน 275
ช่ ัวโมงท่ ีสามของรัตติกาล (20.00-21.00)

จารชนสปาร์ตาค้นพบขุมทรัพย์ 287

ช่ ัวโมงท่ ่ ี
ีสของรัตติกาล (21.00-22.00)
แขกงานวิวาห์ขับไล่คนเจ้าปัญหา 300

ช่ ัวโมงท่ ีห้าของรัตติกาล (22.00-23.00)

เจ้าสาวเดินทางสู่บ้านใหม่ 314

ช่ ัวโมงท่ ีหกของรัตติกาล (23.00-24.00)


นักราดาบแสดงความรัก 326
บทส่งท้าย 337


ท่มาของภาพประกอบ 339
ดัชนี 342

หมายเหตุการถอดเสียง



การถอดเสียงกรีกในหนังสือเล่มน้ใช้วิธีการถอดคาจากอักษรโรมัน แต่ท้งนี้จะ
คงเสียงตามการออกเสียงของกรีกโบราณร่วมด้วย ดังน้นในบางคาจะมีการออกเสียงท ี ่


ต่างออกไปจากตัวเขียนภาษาอังกฤษ โดยอิงจากเสียงของตัวอักษรกรีกร่วมด้วย เช่น ค�า
ว่า Athena (Ἀθηνᾶ) จะถอดเป็น อเธนา อย่างไรก็ดี การถอดเสียงนี้อาจไม่ถูกต้อง


สมบูรณ์หรือตรงตามการออกเสียงของกรีกโบราณทุกประการ เน่องจากบางเสียงน้นเป็น
เสียงควบพยางค์ การถอดแยกเสียงเป็นภาษาไทยจึงค่อนข้างท�าได้ยาก แต่ก็ได้พยายาม
ถอดตามเสยงทใกล้เคยงทสด กระนนแล้ว ไม่อยากให้ผ้อ่านถอเป็นจรงเป็นจงกบการ














ออกเสียงกรีกที่ว่ามานี้ เพราะอาจท�าให้อรรถรสที่ควรจะได้จากการอ่านหายไป


บทนา








ขอต้อนรับเข้าสู่เอเธนส์ เมื่อ 416 ปีก่อนคริสต์ศักราช เดือนนี้

1
เป็นเดือนเอลาเฟโบลิออน ก่อนหน้าเทศกาลการละครดิโอนีเซียท่ย่ง

ใหญ่ (ช่วงต้นเดือนเมษายน) ณ เวลาน้ นครเอเธนส์ มีประชากรประมาณ

30,000 คน ซึ่งเป็นอัตราอัจฉริยะเฉลี่ยต่อพื้นที่หนึ่งตารางฟุต มากกว่า
ในห้วงเวลาอื่นใดของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ

ในขณะท่นครเอเธนส์กาลังวนเวียนอยู่กับสงครามคร้งสาคัญท ่ ี




ก�าลังจะเกิดขึ้น อันจะน�ามาซึ่งจุดจบของยุคทองอันเรืองรอง เราจะใช้
เวลา 24 ชั่วโมงอยู่กับสามัญชนชาวเอเธนส์ ซึ่งในบางจังหวะก็อาจจะ



ไปพานพบกับผู้ย่งใหญ่หรือมีช่อเสียงของมหานครแห่งน้ - ซ่งไม่ได้อยู่ใน

ฐานะของยอดบุรุษท่มีความรู้ความสามารถอันปราดเปร่อง แต่ในฐานะ


ปุถุชนที่มีความห่วงกังวลเหมือนคนอื่นทั่วไป - เพราะในความจริงแล้ว
อัจฉริยะบุคคลก็ใช้เวลาในการเป็นอัจฉริยะเพียงน้อยนิดเท่านั้น และที่


จริงแล้ว พวกเขาก็เป็นคนธรรมดาๆ ท่ต้องไปห้องนา ทะเลาะกับคู่สมรส

หรือชื่นชอบการดื่มเหล้ากับเพื่อนๆ ไม่ต่างไปจากเราๆ
ในบันทึกโบราณ เราจะพบเจอกับชาวเอเธนส์ธรรมดาๆ ก็ต่อ
เม่อพวกเขามีปฏิสัมพันธ์กับผู้ที่มีความโดดเด่นเป็นเอกของเอเธนส์

เท่านั้น แต่หนังสือเล่มนี้จะจับสถานการณ์กลับหัวกลับหาง โดยเราจะ




1 เดือนเอลาเฟโบลิออน (Elaphebolion) เป็นเดือนตามปฏิทินกรีก นับตังแต่ปลายเดือนมีนาคมถึงกลางเดือน
เมษายน - ผู้แปล

13

24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ





พบกับอัจฉริยะบุคคลของเอเธนส์ ก็ในยามท่พวกเขามีปฏิสัมพันธ์กับ
ชาวเอเธนส์ธรรมดาๆ ที่ก�าลังใช้ชีวิตตามปกติเท่านั้น





ในบางบทท่หนังสือเล่มน้ไม่ได้เขียนข้นจากการจาลองเหตุการณ์
ทางประวัติศาสตร์ โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นข้อความจากบันทึกโบราณ

ท่ถูกนามาปรับและนาเสนอใหม่ด้วยมุมมองของสามัญชนชาวเอเธนส์




ซ่งหากบทไหนใช้วิธีเขียนแบบน้ ผู้เขียนก็จะให้ข้อมูลกากับเอาว่าจะ

สามารถหาแหล่งข้อมูลต้นฉบับได้จากที่ไหน


การจาลองเหตการณ์ทางประวัตศาสตร์ บางคร้งก็ต้องอาศัยการ




คาดเดา แต่ท้งหมดก็ต้งอยู่บนสมมุติฐานและข้อมูลจากการวิจัยท่ดีท่สุด


เท่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน แต่ละชั่วโมงในหนึ่งวันของชาวเอเธนส์เหล่านี้ ถูก

ออกแบบมาเพ่อให้สามารถสัมผัสได้ - และหากเป็นไปได้ก็จะเป็นไป







ตามถอยคาบอกกลาวของชาวเอเธนสเหลาน้เอง - ถงประสบการณของ

พวกเขาในการอาศัยอยู่ในเมืองที่อลังการ ไม่เคยหยุดนิ่ง ยอดเยี่ยมแต่
ไร้ซึ่งศีลธรรม ในยุคที่เรืองอ�านาจมากที่สุดแห่งนี้


วันน้ ในฤดูใบไม้ผลิ 416 ปีก่อนคริสต์ศักราช เอเธนส์กาลัง
เพลิดเพลินกับความสงบสุขช่วคราวภายหลังจากสงครามเพโลพอนน ี

2
เซียน ระหว่าง 431 - 404 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งสร้างความเสียหาย

อย่างใหญ่หลวง การยุติการทาสงครามรอบแรกเกิดข้นภายหลังจาก

การเจรจาสันติภาพแห่งนิคีอัส เม่อห้าปีก่อนหน้าน้ และแม้จะมีการ


โจมตีจากสปาร์ตาอย่างต่อเนื่อง จนไร่นาและสวนผักผลไม้ของเอเธนส์


ถูกทาลายลง แต่เอเธนส์ก็ผงาดข้นและเข้มแข็งกว่ายุคไหนๆ จนถึง

2 สงครามเพโลพอนนีเซียน (Peloponnesian War) เกิดขึนใน 431-404 ปีก่อนคริสตกาล เป็นสงครามระหว่าง


จักรวรรดิเอเธนส์กับสันนิบาตเพโลพอนนีเซียนทีน�าโดยสปาร์ตา สงครามนีแบ่งออกเป็นสามช่วง สงครามช่วง


ทีสามซึงเป็นสงครามครังสุดท้ายนันเอเธนส์เป็นฝ่ายแพ้สงคราม - บรรณาธิการ


14

บทน�ำ




ขนาดที่อัลคีบิอาดีส - จอมวายร้ายแห่งวงการการเมืองเอเธนส์ - ก�าลัง

พยายามโน้มน้าวให้เอเธนส์พิจารณาการบุกยึดครองซิซิลี ซ่งเป็นปฏิบัต ิ
การที่บ้าบิ่นไม่น้อย







สภาวการณ์ท่ระสาระสายในชวงแห่งการเปลยนผ่านของยคสมย




ด้วยนวัตกรรมและการเมืองท่ท้าทาย และในช่วงท่ผลงานอันย่งใหญ่
ท่สุดของอารยธรรมตะวันตกกาลังถูกเสริมสร้างข้นด้วยระบบทาสและ



อ�านาจ การกดขี่ของลัทธิจักรพรรดินิยม ชาวเอเธนส์ตาด�าๆ ก็พยายาม
ใช้ชีวิตของพวกเขาในแต่ละวันไปตามปกติ ในช่วงเวลาที่ไม่ปกติเลย
และนี่คือเรื่องราวของพวกเขาเหล่านี้
































15





ชวโมงทเจ็ดของรัตติกาล
(00.00-01.00)



ความทรงจาของ
ยามเฝ้าวิหาร








ในนครเอเธนส์มีคนไร้ศาสนาท่ไม่เช่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริงเพียง

หยิบมือ ซ่งคนเหล่าน้นอาจเปล่ยนใจหากเพียงได้มีโอกาสสลับท ่ ี




1

แลกงานกับเพนตาร์คีสชาวเอเลน ในห้วงน้ เขารับหน้าท่เป็นยามกะดึก




เฝ้าวิหารพาร์เธนอน วิหารศักด์สิทธ์ท่ต้งอยู่บนเนินใจกลางอโครโพลิส








ป้อมปราการบนเขาสงชน และในยามเทยงคนเช่นน เพนตาร์คส
ตระหนักดีถึงการมีอยู่ของเทพีองค์ที่ยืนตระหง่านอยู่ด้านหลังของเขา

แสงวูบวาบจากตะเกียงนามันส่องให้เงาของเทพีทาบลงตรง


หน้าเขา และทาให้เงาของหมวกสัมฤทธ์ขยับไหวเล็กน้อย ราวกับว่า


เทพีอเธนากาลังเอียงคอพินิจพิจารณามนุษย์ตัวน้อยท่อยู่ในอาณาเขต

ของพระองค์ เพนตาร์คีสค่อนข้างม่นใจว่า ดวงตาของรูปปั้นเทพีอเธนาท ี ่


สว่างไสวเป็นสีฟ้าใสด่งอัญมณีลาพิส ลาซูล ในยามกลางวันนั้น บัดน้ ได้


2


กลับคืนเป็นสีท่แท้จริง น่นคือ สีเทาโลหะ เหมือนสีท้องฟ้านครเอเธนส์ใน
1 เอเลน (Elean) เป็นค�าเรียกพลเมืองของเอลิส (Elis) อยู่ทางตอนใต้ของกรีซ - ผู้แปล


2 ลาพิส ลาซูลี (lapis lazuli) อัญมณีสีน�าเงินสดซึงถือเป็นของหายากในสมัยนั้น เป็นหินทีเป็นสัญลักษณ์แห่ง

พลังและอ�านาจ - บรรณาธิการ
16


ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร



ห้วงเวลาก่อนพระอาทิตย์ข้น ประชาชนขนานนามนางว่า เทพีพระเนตร

สีเทา นางคือเทพอเธนาผู้ศักดิ์สิทธิ์ ธิดาแห่งเมธา และเทพีแห่งสมรภูมิ

เพนตาร์คีสค่อยๆ หันหลังกลับไปมองจนเห็นเงาของรูปปั้น





เทพีสะท้อนในบ่อนามันเล่อมพรายซ่งอยู่ท่ปลายเท้าของนาง และโดย



ไม่จาเป็นต้องแหงนหน้าข้นมองเบ้องบน เพนตาร์คีสรู้ดีว่า รูปปั้นของ
เทพีอเธนาน้นสูงมาก สูงกว่าผู้ชายเก้าเท่า และผิวของนางเป็นสีขาว




งาช้าง เรยวแขนซดยนออกมาด้านหน้า ราวกบกาลงหยบยนชยชนะ









เป็นรางวัล และความจริงก็เป็นเช่นน้น เพราะเทพีอเธนาได้ย้ายหอก


ทองคาคู่กายมาวางพิงไหล่เพ่อท่เทพีไนกี เทพีบุคลาธิษฐานแห่งชัยชนะ

จะสามารถพ�านักพักอยู่บนฝ่ามือของพระองค์
ชัยชนะเป็นสิ่งบอบบาง ซึ่งสามารถจะติดปีกทองค�าและโบยบิน


หายไปได้ในช่วพริบตา ดังน้น จึงนับเป็นเร่องน่าอุ่นใจท่ได้รู้ว่าอเธนา


จะประทับอยู่ท่น่และปกป้องนครของพระองค์ตลอดไป เทพีสวมชุด


เพพลอส ดังสตรีสูงศักด์ของเอเธนส์ ชุดเพพลอสน้ เป็นชุดผ้าท่สวม




คล้องลงมาจากไหล่ รัดผ้าคาดบริเวณเอว แล้วปล่อยชายผ้าให้ตกพล้วส ู่

ขอเทาอยางสงางาม ชุดเพพลอสของสามัญชนจะเปนผาขนแกะเรียบๆ





ท่ปราศจากการย้อมสี ในขณะท่เศรษฐินีอาจสวมชุดเพพลอสสีม่วงท ี ่


ทอมาจากผ้าลินิน แต่มีเพียงเทพีอเธนา ธิดาองค์โปรดของมหาเทพซูส

ราชาแห่งทวยเทพและสหายของเหล่าวีรบุรุษเท่าน้นท่สวมชุดเพพลอส

ทองค�าบริสุทธิ์
เพนตาร์คีสก้าวถอยหลังเล็กน้อย เพ่อจะได้มองเห็นพระพักตร์



ของเทพีได้ชัดเจนข้น ในคาคืนน้พระพักตร์ของอเธนาแลดูเคร่งขรึม


กว่าปกติ บางทีพระองค์อาจจะหวนนึกย้อนกลับไปถึงวันหน่งกว่าช่ว


ชีวิตก่อนหน้าน้ ท่พระองค์ได้บังเกิดข้นจากนามือของศิลปินอัจฉริยะ





17


24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ





เทพีอเธนาผูศักดิ์สิทธิ์จุติจากเศียรของมหาเทพซูส แตสังขารที่พระองค ์
ทรงประทับอยู่นั้นคือประติมากรรมอันน่าทึ่งในวิหารแห่งนี้ ซึ่งสร้างขึ้น

เพ่อถวายแด่พระองค์แต่ผู้เดียว ซ่งรังสรรค์ข้นโดยฟิดิอัส ประติมากร


ผู้ย่งใหญ่ไม่เพียงของยุคน้ และในความเห็นท่ค่อนข้างลาเอียงของ




เพนตาร์คีสแล้วเขายังเป็นประติมากรที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลด้วย

ประติมากรรมของฟิดิอัส เป็นศิลปะที่งดงามสมบูรณ์แบบที่สุด
เท่าที่มนุษย์เคยเห็นมา
เด โอราตอเร (De Oratore), • 2.9 โดย ซิเซโร 3









และแม้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ข้นมากมายนับต้งแต่วันน้น
แต่เทพีอเธนายังคงประทับอยู่อย่างโดดเด่นเป็นสง่า กระนั้นประชาชน
ก็เข้าถึงพระองค์ได้ รูปปั้นของพระองค์แลดูยิ่งใหญ่เกรียงไกรในช่วงวัน

แต่กลับดูราวมีชีวิตใต้แสงคบไฟในยามกลางคืน เม่อพระองค์ยืนเฝ้ายาม
เคียงข้างกับเพนตาร์คีสเช่นนี้


เพนตาร์คีสได้มีโอกาสพบกับฟิดิอัสคร้งแรกเม่อเกือบ 17 ปีก่อน
ที่เมืองเอลิส เมืองเล็กๆ ในคาบสมุทรเพโลพอนนีส และแม้ในยามนั้น
เพนตาร์คีสจะยังอ่อนวัยอยู่ แต่ก็มีช่อเสียงไม่น้อยด้านกีฬา และด้วยเหต ุ

น้ เขาจึงได้รับการต้อนรับให้เข้าไปในห้องทางานของฟิดิอัส ประติมากร


ระดับปรมาจารย์ ซึ่งฟิดิอัสอธิบายว่า การที่ได้ปั้นประติมากรรมเหมือน



3 เด โอราตอเร (De Oratore หรือ The Orator) เป็นงานรวมบทสนทนาทางการเมืองของซิเซโร (Marcvs
Tvllivs Cicero นักปรัชญาการเมืองชาวโรมันโบราณช่วง 106-43 ปีก่อนคริสตกาล) - บรรณาธิการ


18

ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร







ของเทพีผู้ย่งใหญ่แห่งกรีกน้น ถือเป็นเอกสิทธ์ท่น้อยคนนักจะได้รับ



เกียรติ และท่เมืองเอลิสน้เองท่ประติมากรเอกจากกรุงเอเธนส์ได้รับการ


ว่าจ้างให้ปั้นผลงานช้นโบแดงของเขา น่นก็คือรูปปั้นของมหาเทพซูส


ผู้ย่งใหญ่ ผู้อุปถัมภ์การแข่งขันโอลิมปิก (ซ่งในยุคน้น เมืองเอลิสมีหน้าท ่ ี


จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก)




เพนตาร์คีสจาได้ว่า ฟิดิอัสเดินวนไปวนมาในพ้นท่ทางานท่เปื้อน


ฝุ่นและกลาดเกล่อนไปด้วยเศษตัวอย่างหินอ่อน งา และไม้สนซีดาร์ท ่ ี
หายาก พลางพึมพ�ากับตัวเอง โดยลืมนึกถึงแขกผู้อ่อนวัยว่า “ในห้วง




เวลาท่เขาตัดสินใจเร่องราวอันมีความสาคัญย่ง น่นคือจังหวะท่จะแสดง




ให้เขาเห็น ความย่งใหญ่ของเขาน้นขึงขังและน่าเกรงขามเป็นอย่างย่ง...

ใช่แล้ว!” ฟิดิอัสร่ายบทกวีจากอีเลียด 4
บุตรของครอนัสเอ่ยปากกล่าว พลางก้มศีรษะต�่าและขมวดคิ้ว
และผมที่ชโลมน�้ามันของเทพผู้ยิ่งใหญ่
ปรกลงมาจากเศียรศักดิ์สิทธิ์
พลอยให้โอลิมปัสต้องสั่นคลอน 5
“นั่นแหละ โฮเมอร์เขียนไว้อย่างถูกต้องแล้ว เทพซูสจะประทับ
บนบัลลังก์ และข้าจะปั้นพระองค์ดั่งที่ข้าปั้นเทพีอเธนา งามอร่ามด้วย
ทองคาและงาช้าง บนเศียรของพระองค์จะประดับมงกุฎ ไม่สิมงกุฎ

ดอกไม้ต่างหาก ข้าจะท�าให้มงกุฎนั้นเป็นดั่งรากของต้นมะกอก เพราะ







4 อีเลียด (Iliad) มหากาพย์ชินเอกของโฮเมอร์ ซึงเล่าเรืองราวของสงครามกรุงทรอยในช่วงปีทีสิบอันเป็นปีที ่


สินสุดสงคราม - ผู้แปล
5 Homer, Iliad 1.528 - ผู้เขียน
19

24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ




เทพีอเธนา เทพแห่งต้นมะกอก จุติมาจากพระนลาฏน้น อันจะเป็นท ี ่

ประดับของมงกุฎดอกไม้

ผู้มีชัยจากกีฬาโอลิมปิกย่อมได้รับชัยชนะ ดังน้น ข้าจะปั้นให้เทพ

ซูสทรงถือเทพไนกีเช่นกัน (ข้าหวังว่าเทพีอเธนาคงไม่ถือสาข้า) และใน

พระหัตถ์อีกข้างหน่ง เทพซูสจะทรงถือคทา ซ่งข้าจะผลักดันให้คณะ


กรรมการหางบประมาณให้เพียงพอท่ข้าจะประดับคทาดังกล่าวด้วย



เพชรนลจินดาแทบทุกชนด และท่ยอดคทากจะเป็นอย่างอ่นไปไม่ได้


นอกเสียจากอินทรี และทองค�า! ฉลองพระองค์ต้องเป็นสีทอง ประดับ
ด้วยลวดลายสัตว์นานาชนิดและดอกไม้นานาพันธุ์ ข้าว่าน่าจะเป็นดอก
ลิลลี่ เพราะดอกลิลลี่แกะสลักออกมาสวยดี”

และดอกลิลล่ก็แกะสลักออกมาสวยจริงๆ 12 ปีหลังจากท ี ่





ประตมากรรมมหาเทพซสของฟิดอสได้เปิดตวต่อสาธารณชนแห่ง


โอลิมเปีย ซ่งตกตะลึงและปลาบปล้มในความงดงามของมัน รูปปั้นมหา
เทพซูสแห่งโอลิมเปียก็กลายเป็นหน่งในส่งมหัศจรรย์ของโลกอันเป็น


ท่รู้จักในยุคน้น รวมไปถึงพีระมิดท่ย่งใหญ่แห่งกีซา และสวนลอยแห่ง




บาบิโลน แต่กระน้น ความจริงก็คือ ชาวเอลิสเป็นหน้บญคุณนครเอเธนส์







ไม่น้อยสาหรับผลงานช้นโบแดงน้ แต่ไม่ใช่เป็นหน้บุญคุณในความย่ง

ใหญ่ของเอเธนส์ หากแต่เป็นเอเธนส์ ณ จุดท่เลวร้ายท่สุด ด้วยความ



อิจฉาริษยา การลอบแทงข้างหลัง และนักการเมืองท่พูดจาปลุกปั่น
ประชาชน
20


ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร





ดูเหมือนว่า ฟิดิอัสจะเป็นศิลปินคนเดียวท่สามารถสะท้อน
มหาเทพซูสได้อย่างแท้จริง ข้าเดินทางมาชมประติมากรรมของเขาด้วย
ความคาดหวังที่สูงส่ง แต่เขาก็ท�าได้ดีกว่าที่ข้าคาดหวังไว้มากเหลือเกิน

ลูซูส เอมิลิอุส เพาลุส, ผู้พิชิตมาเซดอน,
(L. Aemilius Paullus, conqueror of Macedon)
จาก The Histories • 30.10 โดย พอลีบิอุส (Polybius)




ในยามน้น ฟิดิอัสยังหนุ่มแน่นอยู่ และสงครามเปอร์เซียก็เพ่ง




จะจบลงไปไม่นาน พ้นท่ของนครเอเธนส์ส่วนใหญ่ยังเป็นซากปรักหัก

พังจากการถูกบุกยึดเม่อ 480 ปีก่อนคริสตกาลโดยกองทัพเปอร์เซียท ี ่
พยายามสร้างความเสียหายแก่มหานครให้มากท่สุด ความเคียดแค้น


ของกองทพเปอรเซยพงเปาไปทอโครโพลส ปอมปราการทตงอยบนเขา















สูงเป็นหลัก เพราะชาวเปอร์เซียซึ่งบูชาไฟ ไม่มีความจ�าเป็นใดที่จะต้อง
ใช้วิหารของเทพีอเธนา จึงได้ท�าลายมันลง

เพริคลีส รัฐบุรุษ นักปราศรัย และนายพลผู้มีช่อเสียงและทรง


อิทธิพลอย่างสูงแห่งนครรัฐเอเธนส์ ได้ก้าวข้นมามีบทนาในระบอบ
ประชาธิปไตยของเอเธนส์ ไม่ใช่เพียงเพราะต�าแหน่งหรือหน้าที่ที่ได้รับ

ผ่านการเลือกต้ง หากแต่เพราะอานุภาพแห่งบุคลิกภาพของเขาล้วนๆ




และเขากตดสนใจวาอโครโพลสและวหารอเธนาจะตองไดรบการบรณะ






ข้นใหม่ โดยจะเป็นการรังสรรค์ให้เป็นส่งปลูกสร้างท่ย่งใหญ่กว่าส่งอ่น






ใดในโลก โดยวิหารแห่งใหม่จะใช้เฉพาะวัสดุชั้นเยี่ยมเท่านั้น ก�าแพงจะ


สร้างด้วยหินอ่อนเพนเทลิค ในขณะท่คานหลังคาจะทาจากไม้ซีดาร์
และกระเบื้องชุบทองค�า
21

24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ







สัดส่วนทองคา (The golden ratio)
แบ่งเส้นตรงออกเป็นสองส่วน โดยแบ่งในสัดส่วนของเส้นยาว
หารด้วยเส้นส้น แล้วจะได้สัดส่วนเท่ากับความยาวของเส้นท้งหมด


หารด้วยเส้นท่ยาวกว่า โดยอัตราส่วนระหว่างเส้นท่ยาวกว่ากับเส้นท ี ่



6


ส้นกว่า คือ 1.618 (เช่นเดียวกับค่าพี [pi] ซ่งเป็นค่าทศนิยมท่มีตัวเลขยาว
ต่อเนื่องกันไม่มีที่สิ้นสุด)
สัดส่วนทองคาน้ ใช้ท้งในงานภาคศิลปกรรมศาสตร์และ




วิศวกรรมศาสตร์ น่นหมายถึงภาคสถาปัตยกรรมศาสตร์ ซ่งก็คือการ

ผสมผสานศิลปกรรมและวิศวกรรม ความยาวและความกว้างของ
พาร์เธนอน เป็นไปตามสูตรสัดส่วนทองค�า ซึ่งก็ไม่เป็นที่น่าแปลกใจนัก










เพราะผ้ทค้นพบสตรสัดส่วนทองคาน กคอฟิดอส โดยในสมการทาง

คณิตศาสตร์ อัตราส่วนดังกล่าวได้รับการนาเสนอด้วยอักษรกรีกว่า

ฟี (Φ) อันเป็นอักษรตัวแรกของชื่อฟิดิอัส


สาหรับรูปปั้นประดับประดาอ่นๆ น้นจะใช้หินอ่อนจากเกาะ

พารอส ซ่งถือว่าเป็นหินอ่อนเน้องามท่สุดชนิดหน่งของโลกท่รู้กันใน





เวลาน้น ประติมากรรมเทพีอเธนาจะเป็นศูนย์กลางของวิหารใจกลาง


อโครโพลิส และอโครโพลิสก็คือหัวใจของกรุงเอเธนส์ แต่สาหรับงาน



ประติมากรรมท่ย่งใหญ่ขนาดน้ ลาพังเพียงหินอ่อนย่อมไม่พอ ดังน้น



ช้นงานจะต้องทาจากงาช้างและทองคาแท้ และในความอลังการของ


ประติมากรรมเทพีอเธนานั้น ผู้คนจะได้เห็นความยิ่งใหญ่ของเมืองและ
ประชาชนชาวเอเธนส์
6 ค่าพี (pi) เป็นค�าในภาษากรีกของค่าพาย (π) - บรรณาธิการ
22

ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร







มีการจัดต้งคณะกรรมการท่ประกอบด้วยกรรมการ 3 คน ข้นมา
ควบคุมดูแลการก่อสร้างงานประติมากรรมชิ้นนี้ โดยกรรมการคนหนึ่ง



จะรับผิดชอบเร่องการหาแรงงานและการจัดซ้อวัสดุสาหรับการก่อสร้าง

ส่วนกรรมการอีกคนหน่งรับผิดชอบรายละเอียดด้านสถาปัตยกรรมและ
วิศวกรรม และกรรมการคนท่สามมีหน้าท่รวบรวมรายละเอียดต่างๆ




ท้งหมดให้ออกมาเป็นผลงานท่งดงามด้วยศิลปะเพียงหน่งเดียว โดย

กรรมการคนที่สามนั้นก็คือตัวฟิดิอัสเอง

ไม่มีใครปฏิเสธว่าฟิดิอัสและผู้ร่วมงานของเขาทาหน้าท่ได้อย่าง

ยอดเย่ยม แต่ในชวขณะแห่งความทระนงหลงตน ฟิดอสระเรงไปกบ







การตามใจตนเองและเอาอกเอาใจเพริคลีสผู้ให้การอุปถัมภ์เขา โดยใน
แผงหินแกะสลักช้นหน่งท่บอกเล่าเร่องราวการทาสงครามระหว่างชาว







เอเธนส์กับชาวอเมซอน ฟิดิอัสแกะสลักรูปตนเองเป็นนักรบท่กาลัง
7


เขว้ยงหินใส่ศัตรู มิหนาซายังเติมภาพแกะสลักเหมือนของเพริคลีสใน


การท�าสงครามกับนักรบอเมซอนด้วย แต่ที่เลวร้ายไปกว่านั้น มีข่าวลือ


ว่าฟิดิอัสได้ชักชวนให้สตรีชนช้นสูงมาเย่ยมชมผลงานของเขาในระหว่าง




การแกะสลก ซงแท้จรงแล้วคอข้ออ้างในการเปิดโอกาสให้เพรคลสได้



เกี้ยวพาราสีสตรีเหล่านั้น
ศัตรูของเพริคลีสจึงคิดว่า พวกเขาสามารถทาร้ายเพริคลีส


ได้ด้วยการกาจดฟิดอส ดังนน จึงมการโน้มน้าวคนงานของฟิดอส









คนหน่งพูดให้การว่าฟิดิอัสลักลอบขโมยทองคาท่จัดสรรไว้สาหรับใช้



เป็นพัสตราภรณ์ของเทพีอเธนา ซ่งทองคาเหล่าน้นก็มีมากมายก่ายกอง



เป็นภูเขาเลากา และในความเป็นจริงแล้ว ประติมากรรมอเธนาแห่ง

7 อเมซอน (Amazon) ชนเผ่าในต�านานกรีกโบราณ ซึงกล่าวกันว่าเป็นเผ่านักรบหญิงทีมีพละก�าลังและทักษะ

การรบเทียบเทียมชาย - บรรณาธิการ
23


24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ



วิหารพาร์เธนอน มิได้เป็นแค่เพียงสัญลักษณ์แห่งเกียรติภูมิของนครรัฐ
เอเธนส์เท่านั้น หากแต่ยังท�าหน้าที่เป็นธนาคารกลางของมหานครด้วย



โดยทองคาจากอาภรณ์ของเทพี สามารถแยกช้นส่วนออกมาใช้ในยาม



ฉุกเฉินเพ่อนาไปใช้จ่ายสาหรับเรือและทหาร - แต่มีข้อแม้ว่า จะต้อง
น�าทองดังกล่าวกลับมาคืนในภายหลัง และโดยแท้แล้ว เคลลา (cella-
ห้องที่จัดวางประติมากรรมนั้น) มีลักษณะพิเศษประการหนึ่งที่ต่างจาก
ห้องรูปแบบเดียวกันในวิหารอ่นๆ เพราะมีการแบ่งสัดส่วนของห้องเป็น

สองส่วน ซึ่งห้องที่สองของวิหารแห่งนี้จะอยู่ด้านหลังรูปปั้นเทพี มีการ
รักษาความปลอดภัยหนาแน่น เพราะเป็นห้องเก็บทองคา เหรียญเงิน

และเครื่องบรรณาการจากเมืองขึ้นของอาณาจักรเอเธนส์

เพริคลีสมองการณ์ไกลถึงความสุ่มเส่ยงท่จะเกิดการยักยอก



ฉ้อฉล หรอความเป็นไปได้ในการถกตงข้อกล่าวหาเพราะเหตุผลทาง










การเมอง ดังนน เขาจึงสงการให้ฟิดอัสออกแบบให้พสตราภรณ์ของ





เทพีอเธนาถอดแยกช้นออกมาช่งนาหนักได้ทุกเม่อในคราวจาเป็น ซ่ง


ฟิดิอัสก็ได้ทาตามน้น และสามารถพิสูจน์ได้ว่า ทองคาท้งหมดยังอยู่




เช่นเดิมไม่มีขาด
“โอ้...” ผู้ช่วยจอมทรยศของฟิดิอัสเอ่ย “ข้าบอกว่าทองคา

หรือ? จริงๆ แล้วข้าหมายถึงงาช้างต่างหาก ฟิดิอัสลักลอบขโมยงาช้าง

บางส่วนจากท่ใช้ในการสร้างรูปปั้น” งาช้างถือเป็นส่วนสาคัญของ

รูปปั้นที่ไม่สามารถแยกส่วนมาชั่งน�้าหนักได้ และเมื่อฟิดิอัสไม่สามารถ

พิสูจน์ความบริสุทธ์ของตน เขาจึงถูกตัดสินโทษว่าผิดและถูกจับโยน
เข้าคุกโดยทันที
เพนตาร์คีสไม่เคยรู้ว่าฟิดิอัสออกจากคุกของเอเธนส์และมาถึง
เมืองเอลิสในเพโลพอนนีส และกลายมาเป็นหัวหน้าประติมากรในงาน
24


ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร





























ฟิดิอัสแสดงแบบจาลองเทพีอเธนา
ช้นงานประติมากรรมมหากาพย์ของเขาต่อคณะกรรมการ


สร้างรูปปั้นของมหาเทพซูสได้อย่างไร แต่เช่อได้ว่า เพริคลีสอยู่เบ้องหลัง



แผนการน้อย่างแน่นอน เพราะแม้ฟิดอัสจะออกเดนทางอย่างกะทันหน



แต่งานก่อสร้างวิหารพาร์เธนอนก็ยังคงต้องดาเนินต่อไป ซ่งน่นหมาย



ความว่า ฟิดิอัสยังเป็นที่ต้องการอยู่ โดยเขาได้ทิ้งลูกศิษย์ลูกหารุ่นใหม่


ไว้ท่กรุงเอเธนส์ ซ่งต้องเผชิญกับความท้าทายในการสะสางภารกิจท ี ่
อาจารย์ของพวกเขาได้ริเริ่มไว้ให้แล้วเสร็จ
เพนตาร์คีสจ�าได้ว่า ในยุคนั้น มีผู้ส่งสาส์นจากเอเธนส์แวะเวียน


เข้ามายังท่ทางานของฟิดิอัสท่เมืองเอลิสไม่ขาดสาย และส่วนใหญ่



จะโผล่มาแบบไม่ร้กาลเทศะ และมกจะมคาถามเกยวกบสดส่วนของ






รูปปั้นต่างๆ รวมถึงค�าถามที่ว่าจะจัดเรียงรูปปั้นเหล่านั้นอย่างไร จะใช้



หินชนิดไหนมาทาฐานช้นงาน และรายละเอียดปลีกย่อยอ่นๆ นับพัน และ
25


24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ





เม่อเวลาผ่านไป การได้รับฟังเร่องราวของโครงการตลอดช่วงพัฒนาการ



ข้นต้น ทาให้เพนตาร์คีสเร่มหมกมุ่นกับวิหารพาร์เธนอนไม่น้อยไปกว่า
ฟิดิอัสเลย เขาจะต้องได้เห็นส่งก่อสร้างอันย่งใหญ่และรูปปั้นเทพีอเธนา






ท่อลังการ ซ่งเกือบเป็นต้นเหตุทาให้อาจารย์ของเขาส้นช่อด้วยตาของ

ตัวเอง นอกจากน้น เขายังประดังประเดไปด้วยความฉงนสนเท่ห์ว่า


รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ มากมายท่เขาได้รับฟังมาน้น ในภาพแห่งความ

เป็นจริงแล้วจะออกมามีหน้าตาเช่นไร

ฟิดอสจาใจอนญาตให้ลกศษย์ของเขาออกเดนทางไป แต่กด้วย







ความลังเลใจอย่างมาก เพราะในห้วงที่ผ่านมา พวกเขาทั้งสองได้กลาย
เป็นคู่รักกันแล้ว และในเวลาต่อมา เพนตาร์คีสก็พบว่าฟิดิอัสได้ทาผิดซา








สองเพอสนองกเลสของตนในการสรางช้นงานมหาเทพซูส เหมอนครงท ่ ี




ได้เกิดข้นกับการสร้างเทพีอเธนา เพราะเด็กหนุ่มผู้รับรางวัลตรงฐานชิ้น
งานนั้นเป็นภาพแกะรูปของเพนตาร์คีส

แล้วเราจะกล่าวถึงนครเอเธนส์อย่างไรดีเล่า สาหรับชายหนุ่มจาก
บ้านนอกอย่างเพนตาร์คีสนั้น นครเอเธนส์รุ่งโรจน์เสียเหลือเกิน มันน่า
ต่นตาต่นใจท่ต้องเดินฝ่าฝูงชนในอโกรา และได้ยินบทสนทนาในสาเนียง




8


ของท้งชาวซีราคิวส์ และชาวเปอร์เซีย ผสมผสานกับการพึมพาอย่าง
9



ป่าเถ่อนของทาสชาวเธรซทแทบเปลือยเปล่า ทเมืองเอลสน้นผ้คนเข้า





นอนแทบจะทันทีท่พระอาทิตย์ตกดิน แต่ในกรุงเอเธนส์กลับยังมีการ







สังสรรค์ท่ามกลางแสงจากคบไฟต้งแต่ยาคายันดึกด่นค่อนคืน มีท้ง



นักแสดงตามท้องถนนและนกกายกรรมท่จัดการแสดงของตน ขณะ
8 อโกรา (Agora) - พืนทีสาธารณะใจกลางเมือง - ผู้แปล


9 ซีราคิวส์ (Syracuse) เป็นเมืองเก่าแก่ในสมัยกรีกโบราณ อยู่ในทะเลไอโอเนียน เป็นเมืองทีเต็มไปด้วย


ประวัติศาสตร์กรีกทังด้านวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม - บรรณาธิการ
26


ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร




เดียวกันเหล่านักปรัชญาน่งถกกันถึงความหมายของความจริงตาม
โถงทางเดินที่รายล้อมด้วยเสาหินที่ห่างกันเพียงไม่กี่หลา





อับราฮัม ซูส ลินคอล์น

ส�าหรับผู้ที่สนใจใคร่รู้ว่า รูปปั้นเทพซูสมีหน้าตาเช่นไร ก็ควรที่
จะไปเยี่ยมชมวิหารสไตล์กรีกที่มีอยู่มากมายในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (ชาว








อเมริกนรุ่นบกเบิกร้และเข้าใจกรกยคคลาสสิคดีทเดียว) ท่อนุสาวรีย์

ลินคอล์นเมโมเรียล (The Lincoln Memorial) มีท้งงานแกะสลักฝาผนัง
เสาหินอ่อนแบบดอริก (Doric) และรูปปั้นประธานาธิบดีลินคอล์น
ซ่งน่งอยู่บนเก้าอ้ราวกับเป็นบัลลังก์ในท่วงท่าเหมือนเทพซูสท่ลอกแบบ




มาอย่างจงใจ (แต่ด้วยความสูงราว 6 เมตรเพียงเล็กน้อย ท�าให้รูปปั้น
ของประธานาธิบดีลินคอล์นมีขนาดเล็กกว่ารูปปั้นเทพซูสจากฝีมือของ
ฟิดิอัสคร่งหน่ง) และแน่นอนว่า อาคารท่ประทับของรูปปั้นประธานาธิบด ี





ลินคอล์นนั้นมีความใกล้เคียงกับอัตราส่วนทองคาของฟิดิอัส ท่ 57.8 คูณ
36.1 เมตร)
กลุ่มผู้ใช้ภาษามือ (sign language) บางคนเชื่อว่า ประติมากร
ผู้สร้างรูปปั้นของประธานาธิบดีลินคอล์นก็มีความคล้ายคลึงกับฟิดิอัส

ไม่น้อย ท่ไม่สามารถห้ามใจตนเองให้แฝงข้อความลับลงในช้นงานได้

เพราะนิ้วของประธานาธิบดีลินคอล์นที่นั่งอยู่นั้น ว่ากันว่า ส่งสัญญาณ

“เอ.แอล.” (A. L.) ในภาษามือ ซ่งเป็นไปได้ว่า เป็นการส่งสารถึง
บุตรชายที่หูหนวก







27


24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ



เพนตาร์คีสเช่อว่าเขากลายเป็นชาวเอเธนส์ทันทีท่เรือของเขา



เทียบท่าเมืองพิเรอัส ท่าเรือของนครเอเธนส์น้นแน่นหนาไปด้วยเรือ
มากมาย ต้งแต่เรือหาปลาลาเล็กๆ ไปจนถึงเรือพ่อค้าล�ามหึมา และ


10
เรือตรีรีม ที่ดูราวกับฉลามซึ่งเคลื่อนกายเข้าสู่ด้านในของท่าเรืออย่าง
ปราดเปรียว ชายหนุ่มแทบไม่สามารถละสายตาจากความคึกคักเบ้อง

หน้าและบรรยากาศยุ่งเหยิงที่เต็มไปด้วยความมุ่งมั่น
ต่อมา เขาถึงเข้าใจว่า น่นไม่ได้เป็นอารมณ์ความรู้สึกท่เกิดข้น



เฉพาะกับท่าเรือพิเรอัสเท่าน้น แต่มันเป็นบรรยากาศของนครเอเธนส์




ทงเมอง ประชาชนของเมองเอเธนส์อาจไม่ร้ว่าเมองของพวกเขากาลง





จะพัฒนาไปในทิศทางใด หรือจะมุ่งไปถึงจุดหมายปลายทางอย่างไร
แต่ที่แน่ๆ เมืองของพวกเขาจะต้องไปถึงเป้าหมายอย่างรวดเร็วรุดหน้า
และน�าสมัยกว่าที่ชาวเมืองอื่นๆ เคยรู้จักมาแน่นอน มันเป็นห้วงเวลาที่
อะไรๆ ก็ดูจะเป็นไปได้เสียทุกอย่าง
11
เพนตาร์คีสเช่าห้องพักด้านบนของทาเวิร์น เล็กๆ ของฟานาโกรา
และเดเมทริออส ใกล้ๆ วิหารแห่งมหาเทพซูส บนเส้นทางที่อยู่ระหว่าง
ท่าเรือพิเรอัสกับนครเอเธนส์ ในช่วงกลางวัน เขาจะเดินวนเวียนอยู่
รอบๆ อโครโพลิส สนทนาวิสาสะแลกเปล่ยนเร่องราวของฟิดิอัส


เพ่อทาความรู้จักกับเหล่าประติมากร จิตรกรและช่างสลักหินท่รวม




กลุ่มกันอยู่บริเวณน้น และในระหว่างท่ช่างฝีมือลงมือทางานน้น ส่ง








ก่อสร้างท่งดงามท่สุดในโลกก็กาลังก่อตัวข้นต่อหน้าต่อตาเขา เช่นน้แล้ว

เพนตาร์คีสจะจากกรุงเอเธนส์ไปได้อย่างไร
10 เรือตรีรีม (trireme) เรือกรีกสมัยโบราณ มีรูปทรงเรียว - ผู้แปล



11 ทาเวิร์น (tavern) สถานทีบริการขายเครืองดืมและอาหารคล้ายๆ โรงเตียม เป็นสถานทีใช้พบปะสังสรรค์


แต่ไม่มีบริการทีพัก ในบางท้องถิ่นทาเวิร์นอาจรวมทีพักไว้ด้วย ความหมายเดิมของทาเวิร์นในภาษากรีกนัน



หมายถึงเพิงริมทาง - บรรณาธิการ
28


ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร



ในช่วงบ่ายแก่ๆ และช่วงคา เพนตาร์คีสจะทางานหาเงินเก็บ ด้วย



การช่วยงานในทาเวิร์น และในเวลาระหว่างงาน เขาจะบอกเล่าฝากฝัง
ให้กับใครก็ตามท่ใส่ใจจะฟังได้รับรู้ถึงทิวทัศน์และความงดงามของ




วิหารพาร์เธนอน และเขาก็ได้พบกับผู้ฟังท่ยินดีจะรับฟังเขาทุกเม่อ น่นก ็
คือเซเลนไดน์ ลูกสาวเจ้าของทาเวิร์น เซเลนไดน์เป็นชื่อของดอกไม้ป่า
12


สีเหลือง และเพนตาร์คีสก็พบว่าหญิงสาวผู้น้ งดงามสมช่อไม่แพ้ดอกไม้
ป่าเลยทีเดียว
และในท่สุดเซเลนไดน์ก็กลายเป็นท่รู้จักอย่างเป็นทางการว่า


“เซเลนไดน์ภรรยาของเพนตาร์คีสชาวเอเลนผู้มาจากเมืองเอลิส” และ


เพนตาร์คีสก็เร่มเรียนรู้ด้านธุรกิจเก่ยวกับการบริหารจัดการทาเวิร์น
จากแม่ยายของเขา
เพนตาร์คีสได้กลายเป็นชาวเอเธนส์ แต่หากจะพูดให้ถูกแล้วเขา


13
เป็นชาวเมทิค เสียมากกว่า เพราะหนทางเดียวท่จะเป็นชาวเอเธนส์

อย่างเต็มตัวได้ก็คือต้องถือกาเนิดในนครเอเธนส์ มีพ่อแม่เป็นชาวเอเธนส์


เหมอนดงทมวลกล่าวเอาไว้ว่า “แมวไม่สามารถกลายเป็นหมาไปได้




ฉันใด เฉกเช่นเจ้าจะกลายเป็นชาวเอเธนส์ไม่ได้ฉันนั้น”
อย่างไรก็ดี การเป็นชาวเมทิคก็ถือว่าใกล้เคียงกับการเป็น

ชาวเอเธนส์มากท่สุดเท่าท่จะเป็นไปได้ คาว่าเมทิค ย่อมาจากคาว่า



“เมโทอิคอส” (metoikos) ซ่งมีความหมายตรงตัวว่า “ผู้เปล่ยนถ่น



พ�านักพักพิง” และแม้ว่านครรัฐเอเธนส์จะปกป้องสัญชาติของการเป็น
ชาวเอเธนส์อย่างเข้มงวด แต่กระน้น เอเธนส์ก็ขาดชาวเมทิคไม่ได้ ม ี

12 ชือดอกไม้ดังกล่าวออกเสียงตามการสะกดจากตัวอักษรภาษาอังกฤษคือ เซเลนไดน์ (Celandine) ค�านีมี ้

รากศัพท์มาจากค�ากรีกว่า χελιδών (เคลิดอน-chelidon) แปลว่านกนางแอ่น - บรรณาธิการ


13 คนต่างรัฐทีเข้ามาอาศัยอยู่ในเอเธนส์ ไม่มีสิทธิเป็นพลเมืองเอเธนส์ ซึงเปรียบได้กับสถานะของคนต่างด้าว -

ผู้แปล
29


24 ช่วโมงในเอเธนส์โบราณ



ชาวเมทิคนับหมื่นๆ คน - ทั้งพ่อค้า เสมียน บาทหลวง นักเดินเรือ และ
แน่นอนว่าก็มีเจ้าของทาเวิร์นด้วย

ชาวเอเธนส์ที่มีสายเลือดเป็นชาวเอเธนส์โดยก�าเนิด มักดูแคลน
ผู้พานักจากต่างถ่น แต่ในทางกลับกันชาวเมทิคเหล่าน้ก็ดูแคลนชาว



เอเธนส์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เพราะส่วนใหญ่แล้ว ชาวเมทิคจะมีฐานะ


รารวยกว่าชาวเอเธนส์จอมดูแคลน ชาวเอเธนส์จานวนมากเป็นเกษตรกร


ส่วนชาวต่างชาติถูกห้ามไม่ให้เป็นเจ้าของท่ดิน ซ่งหากเพียงชาวเอเธนส์




ได้รบรู้ว่าชาวเมทิคเย้ยหยนพวกเขาลบหลังบ่อยขนาดไหนว่าเป็นพวก
“เมล็ดหญ้า” ชาวเอเธนส์อาจจะลดความเย่อหยิ่งลงก็เป็นได้

ชาวเมทิคคือจักรกลท่ขับเคล่อนเศรษฐกิจของเอเธนส์ และเงิน

ภาษีของพวกเขาคือส่งท่ช่วยเสริมพลานุภาพให้กับกองเรือตรีรีมของ



เอเธนส์ท่ประกาศศักดาเกรียงไกรในท้องทะเล (ชาวเมทิคจ่ายภาษ ี
มากเป็นพิเศษเพื่อแลกกับสิทธิ์ที่จะพ�านักอยู่ในกรุงเอเธนส์) และโดยที่

เพนตาร์คีสผู้ช่วยดูแลทาเวิร์นได้เงินจากการทางานในเอเธนส์มากกว่า

รายได้จากการเป็นเจ้าของท่ดินเล็กๆ ในเมืองเอลิส เพนตาร์คีสจึง



ยอมรบสภาพอนตาต้อยในมหานครโดยไม่เสยใจแม้แต่น้อย และ ณ


ตอนนั้น เขามีลูกชายที่แข็งแรงและลูกสาวที่สุขภาพดี ทั้งยังงดงาม แต่



ลูกๆ ของเขาก็เป็นชาวเมทิคด้วย ท้งๆ ท่พวกเขาไม่เคยรู้จักบ้านหลังอ่น
เนื่องจากเกิดและโตในกรุงเอเธนส์
การเป็นชาวเมทิคทาให้เพนตาร์คีสไม่สามารถเข้าร่วมการประชุม

สภาพลเมือง (อันเป็นสิทธ์ท่สตรีและทาสถูกสงวนไว้เช่นเดียวกับชาว


ต่างด้าว) และเขาก็ไม่สามารถท�าหน้าที่ลูกขุนได้ แต่ที่แน่ๆ เขาสามารถ














ทจะดาเนนคดในศาลของกรงเอเธนสได และเมอเรวๆ น เขาไดฟองรอง


และชนะคดี จากการยื่นฟ้องผู้ประกอบการรายหนึ่งที่หลอกขายน�้าส้ม
30


ความทรงจาของยามเฝ้าวิหาร



สายชูให้เขาหลายถัง โดยหลอกว่าเป็นเหล้าองุ่น เพนตาร์คีสยังจดจา




สีหน้าเหยเกของคณะลูกขุนเม่อพวกเขาเวียนกันชิมเคร่องด่มเจ้าปัญหา
ได้ติดตา และท้ายที่สุด ศาลก็ตัดสินให้เขาได้รับเงินคืนทั้งหมด รวมถึง
ได้รับเงินสินไหมทดแทนด้วย
แม้เพนตาร์คีสจะไม่สามารถเข้าร่วมการประชุมสภาพลเมืองได้

แต่เขากลับได้รับผลกระทบจากกฎหมายต่างๆ ชาวเมทิคต้องรับราชการ
ในกองทัพแห่งนครรัฐเอเธนส์ และฝึกรบอย่างหนักหน่วงไม่น้อยไปกว่า















พลเมองชาวเอเธนสคนอนๆ เพนตารคสรารวยพอทจะซอชดเกราะเปน
ของตัวเอง ซึ่งประกอบไปด้วยเสื้อเกราะและอาวุธต่างๆ อาทิ หอกและ
14

โล่ อันทาให้เขาเป็นฮอปไลต์ อย่างเต็มตัว ซ่งทาให้เขาเป็นนักรบชั้นสูง


ของกรุงเอเธนส์ และหากเอเธนส์จะต้องท�าสงคราม เขาเอง - ไม่ว่าจะ
สมัครใจหรือไม่ก็ตาม - ก็จะต้องออกรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับชายฉกรรจ์
อื่นๆ ที่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกที่จะออกรบ
ระหว่างสงครามกับสปาร์ตา เพนตาร์คีสประจาการอยู่ท่เมือง


เธรซทาให้เขารอดพ้นจากเง้อมมือของโรคระบาดซ่งคร่าชีวิตผู้คนในนคร



เอเธนส์เป็นจ�านวนมาก เซเลนไดน์ยอดรักของเขาก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย
(ในช่วงท่เขาไม่อยู่ ทาเวิร์นของพวกเขาได้รับการดูแลโดยฟานาโกรา

- แม่ยายของเขา ซึ่งดูเหมือนว่าเธอเป็นหญิงเหนือมนุษย์ที่ไม่มีอะไรมา
ท�าร้ายได้เลย) และบัดนี้ เพนตาร์คีสผู้แม้จะเป็นชาวเมทิค แต่ก็นับเป็น
บ่าวท่ไว้ใจได้ของนครเอเธนส์ จึงไม่มีใครคลางแคลงใจในความจงรัก


ภักดีของเขาหรือสมรรถภาพทางกายของเขาในการทาหน้าท่รับใช้

มหานครในฐานะทหารเฝ้าอโครโพลิส ถึงขนาดได้เฝ้ายามถึงบริเวณ

14 ฮอปไลต์ (hoplite) คือทหารติดอาวุธของนครรัฐกรีกโบราณ ทหารเหล่านีส่วนใหญ่เป็นพลเมืองทีสามารถ

หาซือชุดเกราะและอาวุธส�าริดได้เอง - ผู้แปล

31


Click to View FlipBook Version