The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannika, 2021-03-09 05:22:50

กองกำลังเอสเอส หน่วยพิฆาตแห่งนาซีThe SS Nazi’s Elite Force

èĀÐùĀÜ×òéèúèśāÐòÿãāø
ëĈśČùöÖúāÓöāðòĈśČôÿïĈðăêŠÜÜāðāéòòâāÐāòèĀÐüŚāè

กองกําลังเอสเอส หน วยพิฆาตแห งนาซี
The SS Nazi’s Elite Force
พันเอกศนิโรจน ธรรมยศ: เขียน
ราคา 265 บาท

ข อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
ศนิโรจน ธรรมยศ, พ.อ.
กองกําลังเอสเอส หน วยพิฆาตแห งนาซี = The SS Nazi’s elite force.--กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ ป, 2564.
260 หน า.
1. สงครามโลก, ค.ศ. 1939-1945. 2. นาซี. I. ชื่อเรื่อง.
940.53
ISBN 978-616-301-731-4
© ข อความในหนังสือเล มนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558
การคัดลอกส วนใดๆ ในหนังสือเล มนี้ไปเผยแพร ไม ว าในรูปแบบใดต องได รับอนุญาตจากเจ าของลิขสิทธิ์ก อน
ยกเว นเพื่อการอ างอิง การวิจารณ และประชาสัมพันธ

บรรณาธิการอํานวยการ : คธาวุฒิ เกนุ ย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผู ช วยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน
บรรณาธิการเล ม : วันพุทธ รักษ สุดตา
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา
เลขากองบรรณาธิการ : กันยารัตน ทานะเวช
หัวหน าฝ ายพิสูจน อักษร : สวภัทร เพ็ชรรัตน
ฝ ายพิสูจน อักษร : วนัชพร เขียวชอุ ม สุธารัตน วรรณถาวร
รูปเล ม : ประเสริฐศักดิ์ ประดิษฐเกษร
ออกแบบปก : Rabbithood Studio
ผู อํานวยการฝ ายการตลาด : นุชนันท ทักษิณาบัณฑิต
ผู จัดการฝ ายการตลาด : ชิตพล จันสด
ผู จัดการทั่วไป : เวชพงษ รัตนมาลี
จัดพิมพ โดย : บริษัท ยิปซี กรุ ป จํากัด เลขที่ 37/145 รามคําแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร 0 2728 0939 ต อ 108
www.gypsygroup.net
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID: @gypzy
พิมพ ที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จํากัด โทร. 0 2147 3175-6
จัดจําหน ายโดย : บริษัท อมรินทร บุ ค เซ็นเตอร จํากัด
108 หมู ที่ 2 ถ.บางกรวย-จงถนอม ต.มหาสวัสดิ์
อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130
โทร. 0 2423 9999 โทรสาร 0 2449 9222, 0 2449 9500-6
Homepage: http://www.naiin.com
สนใจสั่งซื้อหนังสือจํานวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สํานักพิมพ ลดราคาพิเศษ ติดต อ โทร. 0 2728 0939

The SS Nazi’s Elite Force



กองกำลังเอสเอส

หน่วยพิฆำตแห่งนำซี






















































พันเอกศนิโรจน์ ธรรมยศ



ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์
































ทุกสมรภูมิย่อมมีกองทัพทีแข็งแกร่ง กองทัพนำซีเยอรมันก็เช่นกัน
ื่

ในช่วงสงครามโลกครั้งท 2 มีกองก�าลังของนาซีที่มีชอเสยงในนาม “กอง



ั้
ึ้

ก�าลังเอสเอส” กองก�าลังนี้จัดตงขนเมื่อ ค.ศ. 1923 เริ่มตนมีก�าลงพลเพียง 120

นาย ภารกิจหลกคืออารักขาส่วนตัวหรือ “องครกษ์” ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์


และบุคคลส�าคัญของพรรคนาซีเป็นหลก เมื่อเวลาผ่านไปเข้าสู่การท�า
สงครามโลกครั้งที่ 2 กาลังพลได้เพมขึ้นเป็นหลักหมืนและหลักแสน จน


ิ่
กระทั่ง ค.ศ. 1945 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายของสงคราม ก�าลังพลเอสเอสเพิ่มถึงเกือบ



หลักลานนาย แตกยอยเปนหนวยตางๆ มากมายถึง 38 กองพล กลายเปน



กองทัพส�าคัญทีขับเคลื่อนนาซีเข้าสู่สนามรบอย่างเต็มก�าลัง


ความพิเศษของกองก�าลังนี้เริ่มตั้งแต่คุณสมบติการเกณฑ์นายทหาร
แต่ละนาย ต้องมีสรีระร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อชาติก�าเนิดเป็นชาว
อารยนโดยห้ามมีสายเลือดชาวยิวเจือปนเด็ดขาด เมื่อได้รับคัดเลอกแล้วต้อง





ถูกฝกอยางหนัก สรางทักษะการรบทางรางกายและจิตใจภายใตสภาวะกดดัน




รวมถึงมีความเคร่งครัดเรื่องระเบียบวนัยสูงมาก เพื่อสร้างทหารเอสเอสให้

เป็น “นกรบอารยัน” ที่แข็งแกร่งตามนโยบายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

หนังสอเล่มนี้พาผู้อ่านท�าความร้จักจุดเริมต้นของกองก�าลังที่เคยได้


ชื่อว่าแข็งแกร่งที่สุดของนาซี เปิดกลยุทธ์การรบพุ่งในสมรภูมิของกองพล
ต่างๆ กับฝ่ายสัมพันธมิตร เช่น สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส
โปแลนด์ ฯลฯ จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของทกกองพลเมื่อถึงจุดสิ้นสด


สงครามโลกครังที่ 2


ตราบใดที่ชื่อเสยงและบทบาทของ “นาซี” และ “อดอล์ฟ ฮิตเลอร์”


ยังถูกจดจ�าไว้เป็นบทเรียนของมนุษยชาต “กองก�าลงเอสเอส” ก็ยังคงอยู่

ในประวัติศาสตร์สงครามโลก ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้เป็นกรณีศึกษาต่อไป
เช่นกัน


ส�ำนักพิมพ์ยิปซ ี

ค�ำน�ำผู้เขียน































กองก�ำลังเอสเอสเป็นกองก�ำลังที่มีบทบำทอย่ำงมำกในกำรก้ำวขึ้นสู่อ�ำนำจ
ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทงยงมบทบาทในการธ�ารงไว้ซึ่งอ�านาจ


ั้

ในการควบคุมวิถีชีวิตแทบทกลมหายใจของชาวเยอรมนและประชากร

ในดินแดนยึดครอง เป็นอ�านาจที่สามารถก�าหนด “ความเป็น ความตาย”
ของผู้คนนับล้านๆ คน ก่อนที่กองก�าลังนี้จะสิ้นสุดอ�านาจลงพร้อมกับการ
ล่มสลายของอาณาจักรไรช์ที่ 3
จึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเรื่องราวของกองก�าลังเอสเอสนับเป็นปัจจัย


ส�าคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งในการศึกษาประวัติศาสตร์สงคราม ทั้งชวประวัติ
ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ บทบาทของพรรคนาซี และเรองราวแห่งสงครามโลก
ื่
ครั้งที่ 2


ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเรื่อง “กองก�ำลังเอสเอส” เลมนี้จะ



เป็นประโยชน์ส�าหรับผู้สนใจในการศึกษาประวัติศาสตร์สงคราม หรือแม้
กระทั่งอ่านเพื่อเพิ่มพูนความรู้ หรือเพื่อความบันเทิง อีกทั้งผู้เขียนขอขอบคุณ


ส�านักพิมพ์ยิปซีที่ให้การสนับสนนจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ หากมีสิ่งใดที่



ผิดพลาด ขาดตกบกพรอง ผูเขียนขอนอมรับความผิดพลาดดังกลาว แลวจะ


น�าไปปรับปรุงแก้ไขผลงานต่างๆ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ศนิโรจน์ ธรรมยศ





สำรบัญ


13 บทที 1 ปฐมบท

39 บทที 2 ภารกิจและการจดองค์กรของกองก�าลังเอสเอส


99 บทที 3 กองพลเอสเอสที่มีชื่อเสียง

157 บทที่ 4 สมรภูมิเลือดของทหารเอสเอส


197 บทที 5 บันทกอ�ามหิตของกองก�าลังเอสเอส
223 บทที 6 บุคคลสาคัญของกองก�าลังเอสเอส


255 หนังสออ้างอิง

258 บรรณานุกรมภาพ



บทที่ 1


ปฐมบท


























































13



ปฐมบท































ทันทีที่เสยงปืนในแนวรบต่ำงๆ สงบลงในวันท 11 พฤศจิกำยน ค.ศ. 1918
ี่


อันเป็นสัญญาณบ่งบอกให้โลกได้รับรู้ว่าสงครามโลกครังที่ 1 หรือ “มหา
สงคราม” (The Great War) ได้ยุติลงแล้ว พร้อมด้วยความพ่ายแพ้ของ
ประเทศเยอรมนี ส่วนฝ่ายสมพันธมิตรประกอบด้วยอังกฤษ ฝรั่งเศส

สหรัฐอเมริกา อิตาลี ฯลฯ เป็นผ้ก�าชัยชนะขั้นเด็ดขาด ซึ่งต่อมาได้ร่วมกัน

ื่

ร่างสนธิสัญญาแวร์ซาย (The Treaty of Versailles) ขึ้น เพอจ�ากัดสทธิ
และอ�านาจของเยอรมนีในการเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพของมวลมนุษยชาติ

รวมทั้งยังใชเปนมาตรการลงโทษในความสญเสียอันใหญหลวงที่ฝายเยอรมัน





ได้ก่อขึนในสงครามครั้งนี้
วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 เกิดการลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย

และมีผลบังคับใช้ทันที ส่งผลให้กองทัพเยอรมันอันเกรยงไกรถูกจ�ากัด
ขนาดให้เล็กลง หน่วยทหารต่างๆ ถูกยุบ ก�าลังพลที่ท�าการรบอยู่ในแนวหน้า

จ�านวนมากมายถูกปลดประจาการ คงเหลือเพียงกองก�าลังทหารที่ใช้ในการ
15

กองกำลังเอสเอส




รักษาความสงบเรยบร้อยภายในประเทศเท่านั้น อกทั้งฝ่ายสมพันธมิตรยัง

ส่งก�าลังทหารเข้ายึดครองดินแดนที่ถูกเยอรมนียึดครองในช่วงสงครามและ
ดินแดนในประเทศเยอรมนีเอง เพื่อเป็นการชดใช้ค่าปฏิกรรมสงคราม

อาณาจักรเยอรมันอันยิ่งใหญ่และน่าภาคภูมิใจของชาวเยอรมันจึงต้อง

สูญสิ้นเกียรติยศและศักดิ์ศรเป็นอย่างมาก
ี่
ในห้วงเวลานี้เองท อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ชายร่างเล็ก ผม
ด�า นัยน์ตาสีน�้าตาล ทหารผ่านศกชาวออสเตรียสังกัดกรมบาวาเรยนที่ 16


ของกองทัพบกเยอรมัน ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญในแนวหน้าของ
ั้
ั้

สงครามโลกครังที่ 1 ครงแล้วครงเล่า อีกทั้งยังพร้อมที่จะรับมอบภารกิจท ี่
เต็มไปด้วยอันตรายโดยไม่มีเงื่อนไข ความกล้าหาญดังกล่าวท�าให้อดอล์ฟ

ฮิตเลอร์ได้รับเหรียญกล้าหาญกางเขนเหล็ก ซึ่งเป็นเหรียญแห่งความ
ภาคภูมิใจที่เขาประดับติดตวเสมอจนกระทั่งวาระสุดท้าย


ในขณะสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงนั้นเปนเวลาที่อดอลฟ ฮิตเลอร ์


ก�าลังเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลสนาม เนื่องจากได้รับบาดเจบจาก
การถูกโจมตีด้วยแก๊สพิษของฝ่ายอังกฤษ โดยส่วนตัวแล้วเขาก็เหมือนกับ
ทหารเยอรมันส่วนใหญ่ที่ยังมความเชื่อมั่นอย่างเต็มเปี่ยมว่าเยอรมันไม่ได้



ี่
เป็นผู้แพ้สงคราม ทหารในแนวรบยังคงมความพร้อมทจะท�าการต่อสู้ต่อไป
ี่

หากแต่ความพ่ายแพ้ของเยอรมันทเกิดขึ้นในครังนี้มีสาเหตุมาจาก “ศัตรู
ที่อยู่ภายใน” (Enemy Within) มากกว่าความพ่ายแพ้ต่อแสนยานุภาพ
ของกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร อดอล์ฟ ฮิตเลอร์เชื่อว่าศัตรูทอยู่ภายใน
ี่

กระท�าการหักหลังประชาชน ลบหล่เกียรติยศศักดิ์ศรีอันเกรียงไกรของ
กองทัพ ตลอดจนมีพฤติกรรมทคดโกงแผ่นดนเยอรมนี ก็คือพวกยิว พวก
ี่

คอมมิวนิสตหรือลัทธิมารกซิสต ตลอดจนบรรดานักการเมืองที่มุงแตกอบโกย





และโกงกินประเทศทั้งหลายนั่นเอง
นอกจากความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 จะสร้างความไม่พอใจ
ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์และชาวเยอรมันแล้ว ยังส่งผลให้สถานการณ์ภายใน
16

ปฐมบท


ประเทศเยอรมนีเกิดความระส�่าระสาย ทั้งจากความกดดันของสนธิสัญญา
แวร์ซายและจากเศรษฐกิจตกต�่าอันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกและการ

จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมากมายมหาศาลในฐานะผู้แพ้สงคราม รวม
ทั้งยังเป็นห้วงเวลาเดียวกับที่ลัทธิคอมมิวนิสต์เริ่มฉายแสงอันแรงกล้าขึ้นใน
สังคมโลกตะวันตก อันเนื่องมาจากกลุ่มนิยมแนวความคิดของคาร์ล มาร์กซ์
(Karl Marx) บิดาแห่งลัทธิคอมมิวนิสต์ประสบความส�าเร็จอย่างมากในการ

ี่
โค่นล้มราชวงศ์ “โรมานอฟ” ของพระเจ้าซาร์นิโคลัสท 2 แห่งรัสเซย แล้ว


ลุกลามแผ่ขยายตวเข้าสู่ยุโรปอย่างรวดเรวราวกับไฟลามท่ง ส�าหรับใน

ี่
เยอรมนีก็เช่นเดียวกันทมีการจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์นิยมซ้ายจัดขึ้นและ
ท�าการเคลื่อนไหวอย่างเปิดเผยเพอเป็นพรรคทางเลือกในการแก้ไขปัญหา


เศรษฐกิจทก�าลังย�่าแย่อยู่ในขณะนั้น เป็นที่น่าสังเกตว่าแนวความคิดการ
ี่
ปฏิวัติทางชนชั้นของระบอบคอมมิวนิสต์นับเป็นปฏิปักษ์ต่อกลุ่มชาตินิยม
ฝ่ายขวาซึ่งมีสมาชิกส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลางและนายทุนรายย่อย ชนชั้น
กลางเหล่านี้ต่างหวั่นเกรงว่าพวกตนจะสูญเสียทรัพย์สินและผลประโยชน์

ส่วนตว เนื่องจากถูกรัฐบาลยึดไปเป็นทรัพย์สินส่วนรวมเพื่อน�าไปเกื้อหนุน
ชนชั้นกรรมาชพ เหตุผลดงกล่าวท�าให้ชนชั้นกลางต่างพากันต่อต้านทฤษฎี


และแนวความคิดการต่อส้ทางชนชนของคาร์ล มาร์กซ์ และหันมาสนับสนุน

ั้
แนวคิดแบบชาตินิยมฝ่ายขวา
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ไม่ต่างไปจากชนชั้นกลางส่วนใหญ่ของเยอรมนีที่
สนับสนนกล่มลัทธิชาตินิยมฝ่ายขวาอย่างออกนอกหน้าเพื่อต่อต้านฝ่ายตรง



ข้ามที่มีทงพวกคอมมิวนิสต์และกลุ่มนิยมประชาธปไตย สงคมเยอรมันเกิด
ั้

การแบ่งฝักแบ่งฝ่ายในห้วงเวลาดังกล่าว บ้านเมืองแตกแยกทางความคิด
อย่างรุนแรง มีการปราศรัยตามสถานที่สาธารณะและโรงเบียร์ต่างๆ เพื่อเผย
แพร่แนวความคิดของลัทธิฝ่ายตน ตลอดจนข่มขู่คุกคามประชาชนทั่วไป

อย่างไม่เลือกหน้า สังคมเยอรมันแปรสภาพไปสู่ความเป็นกลียุคที่บ้านเมือง
แทบจะไร้กฎเกณฑ์และกฎหมาย การปะทะกนตามท้องถนนและสถานที่


17

กองกำลังเอสเอส




























ขบวนกองก�าลังเอสเอของพรรคนาซี ขณะเดินแถวบนถนนในเมืองนเรมเบิร์ก
(Nuremberg) ช่วงปี ค.ศ. 1929



ั่

สาธารณะมีปรากฏให้เห็นอยู่ทวไปแทบทุกวน กล่มชาตนยมฝ่ายขวาได้เข้า


โจมตีสหภาพแรงงานและกลุ่มธุรกิจซึ่งเป็นหัวหอกของพวกคอมมิวนิสต์อย่าง
ต่อเนื่อง ในขณะทฝ่ายคอมมิวนิสต์ก็ท�าการตอบโต้อย่างรุนแรงเช่นกัน
ี่
ความสับสนวุ่นวายต่างๆ ดังกล่าวท�าให้พระเจ้าไคเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2
ประกาศสละราชสมบัติในวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ก่อนทจะเสด็จ
ี่

ลี้ภัยไปยังต่างประเทศ จกรวรรดิเยอรมันอันยิ่งใหญ่จึงถึงกาลล่มสลายและ
แปรสภาพเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ (The Weimar Republic) ปกครองด้วย
รัฐธรรมนูญไวมาร์ที่ก�าหนดให้ประธานาธิบดีมีอ�านาจสูงสุดในการปกครอง
ประเทศ ท�าการบริหารประเทศด้วยระบบรัฐสภาที่มีผู้แทนราษฎรมาจากการ
ั้
เลือกตงในระบบสัดส่วน
ช่วงเวลานี้นับเป็นระยะเวลาแห่งสุญญากาศทางการเมืองในประเทศ

เยอรมนอย่างแท้จริง เพราะมีความพยายามทั้งกลุ่มชาตินยมฝ่ายขวา กลุ่ม

18

ปฐมบท


นิยมประชาธิปไตย และกลุ่มคอมมิวนิสต์ฝ่ายซ้ายที่จะเข้าครอบครองอ�านาจ
ในการบริหารประเทศ จนเกิดความวุ่นวายและการก่อการจลาจลลุกลาม


ไปทั่ว อันเป็นสภาวการณ์สุ่มเสยงที่จะน�าเยอรมนไปส่สงครามกลางเมือง



ในที่สด
ในห้วงเวลาวิกฤตนี้เองได้มีบุคคลส�าคัญ 2 คนปรากฏตัวขึ้นในหน้า

ประวัติศาสตร์และได้สร้างความเปลี่ยนแปลงในชะตากรรมของสาธารณรฐ
ไวมาร์อย่างสิ้นเชิง
บุคคลแรกคือ อันตัน เดร็กซ์เลอร์ (Anton Drexler) นายช่าง
ซ่อมเครื่องจักรและรางรถไฟจากองค์กรรถไฟในกรุงเบอร์ลิน ผู้ซึ่งไม่สามารถ
เข้าร่วมในสงครามโลกครังที่ 1 ได้ เพราะแพทย์ลงความเหนว่าสุขภาพของ


เขาไม่แข็งแรง เดร็กซ์เลอร์จึงหันมาเคลื่อนไหวทางการเมืองร่วมกับ

พรรคการเมืองทีชื่อ “พรรคปิตุภูมิเยอรมัน” (German Fatherland Party)
ในช่วงปลายสงครามโลกครงที่ 1 โดยแนวความคิดทางการเมืองของ
ั้
ี่
เดร็กซ์เลอร์นั้นเป็นพวก “อุดมคตินิยม” (Idealism) ทมีเป้าหมายในการ
สร้างสันติภาพอันบริสุทธิ์และยิ่งใหญ่ให้กบเยอรมนี แต่อีกมุมหนึ่งเขากลับ

เป็นพวกชาตินิยมขวาจัดที่สนับสนุนการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างสังคมอันบริสุทธิ์

ด้วยวิธีการรุนแรงแบบ “ขวาสดโต่ง” เขาได้รวบรวมกลุ่มบุคคลทเคลื่อนไหว

ี่


ทางการเมืองกล่มเล็กๆ สองกลุ่มเข้าด้วยกัน แล้วตังพรรคการเมืองที่มีชื่อว่า
“พรรคแรงงานเยอรมัน” หรอ “ด็อยทช์เชอ อาร์ไบเทอร์พาร์ไท” (Deutsche

Arbeiter Partei: DAP) เรียกโดยย่อ “เดอาเพ” ในวันที่ 5 มกราคม ค.ศ.
1919 ที่นครมิวนิก กล่าวกันว่าความมหัศจรรย์ของเดร็กซ์เลอร์คือความ
สามารถในการก่อตั้งพรรคแรงงานเยอรมันได้โดยที่ไม่มีทรัพย์สินใดๆ เลย
นอกจากกล่องใส่บหรซิการ์ของสมาชิกพรรคเท่านั้น อย่างไรกตาม แม้จะ
ี่


เป็นพรรคที่ไม่มีทุนรอนใดๆ แต่สิ่งที่เปลี่ยนประวัติศาสตร์โลกในอนาคต

อันใกล้ก็คอพรรคแรงงานเยอรมันนี้เองที่เป็นจุดก�าเนิดทางการเมืองของ
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์


19


กองกำลังเอสเอส


บุคคลที่สองที่ปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์เยอรมันคือ แอร์นสต์
ยูลิอุส กุนเธอร์ เริฮ์ม (Ernst Julius Günther Röhm) ผู้ซึ่งมีรูปร่างอ้วน

เตี้ย แต่กลบเต็มไปด้วยความทะเยอทะยานสูงส่งตรงข้ามกับร่างกายของเขา
อย่างสิ้นเชิง เริฮ์มนี้เองที่เป็นกลไกส�าคัญในการผลักดันให้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ก้าวขึนสู่ความเป็นเผด็จการที่โลกจะต้องจดจาไปอีกนานเท่านาน



เริฮ์มเป็นทหารผ่านศึกยศร้อยเอก สังกดกองทัพบกเยอรมัน ผู้ซึ่ง


ได้รับบาดเจ็บจากการรบถง 3 ครั้ง และสงครามก็ได้ฝากแผลเป็นจากกระสน



ปืนบรเวณแก้มของเขาอีกด้วย โดยบุคลิกส่วนตัวแล้ว เรฮ์มเป็นคนหวแข็ง


ไม่ชอบการประนีประนอม พูดจาโผงผาง นิยมชมชอบชีวตการผจญภย
ที่เสี่ยงอันตราย และที่ส�าคัญคือเป็นพวกรกร่วมเพศซึ่งเป็นสิ่งที่อดอล์ฟ



ฮิตเลอร์เกลียดชงเป็นอย่างมาก


หลังจากสงครามสิ้นสุดลง เริฮ์มไม่ได้ถกปลดประจ�าการแต่อย่างใด

หากแต่ยังคงประจ�าการอยู่ในกองทัพบกหรือ “ไรช์แวร์” (Reichswehr)
ของสาธารณรัฐไวมาร์ โดยด�ารงต�าแหน่งเป็นหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการของกอง

ก�าลัง “ไฟรคอร์ปส์” (Freikorps) ซึงเป็นกองก�าลังรักษาดินแดนประจ�าแคว้น

บาวาเรีย ภายใต้การน�าของพลเอกฟรันซ์ ริตเทอร์ ฟอน เอปป์ (Franz
Ritter von Epp) มีที่ตั้งอยู่ที่นครมิวนิก เมืองหลวงของแคว้นบาวาเรย

ไฟรคอร์ปส์เป็นกองก�าลงทหารที่ตั้งขึ้นเพื่อปราบปรามการก่อความไม่สงบ


มีผลงานที่โดดเด่น เช่น การส่งก�าลงทหารเข้าโค่นล้มสาธารณรัฐโซเวียต
มิวนิก (Munich Soviet Republic) ทพวกคอมมิวนสต์พยายามจัดตั้งขน
ี่
ึ้

ในแคว้นบาวาเรียเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 เป็นต้น

เป็นทีน่าสังเกตว่าในยามทบ้านเมืองว่นวายสับสน แบ่งฝักแบ่งฝ่าย

ี่

อยู่นี้ เริฮ์มผ้ซึ่งมีความทะเยอทะยานเป็นทุนเดิมอยู่แล้วก็มีความฝันที่จะจัด

ตั้งกองก�าลังปฏวัติทมีตนเองเป็นผู้น�าด้วย หากแต่รัฐบาลในกรงเบอร์ลินได้

ี่
สืบทราบขาวระแคะระคายเกยวกับความพยายามในการจัดตงกองก�าลังปฏิวัติ
ั้

ี่

ดังกล่าว จึงมค�าสั่งให้ยุบหน่วยต่างๆ ในภูมิภาคของกองทัพเยอรมันลงใน
20

ปฐมบท



ช่วงต้นปี ค.ศ. 1921 ท�าให้ความฝันของเรฮ์มต้องพังทลายลงอย่างสิ้นเชง ิ
ช่วงนี้เริฮ์มได้รับมอบภารกิจอย่างลับๆ จากกองก�าลังไฟรคอร์ปส์
ให้รวบรวมกระสุนและอาวุธในแคว้นมิวนิกและพนที่ใกล้เคียงเพื่อใช้
ื้
สนับสนุนกล่มที่จงรกภักดต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และกลุ่มชาตินิยม







ขวาจัด รวมทั้งยังไดรับมอบหมายใหจัดตั้งหนวยขาวกรองที่มีภารกิจแทรกซึม
เข้าไปในพรรคการเมืองต่างๆ เพอสืบหาข่าวที่เป็นภัยคุกคามความมั่นคงของ
ื่
สาธารณรัฐไวมาร์





















แอร์นสต์ เริฮ์ม (คนซ้ายมือ) ผู้บัญชาการกองก�าลังเอสเอพร้อมกับนายทหารกองก�าลัง


เอสเอสทั่วไปหรออัลล์เกอไมเนอ-เอสเอส (ชุดด�า) ในช่วงที่กองก�าลงทั้งสองยังคงมี
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน







การคลกคลในงานดานการขาวท�าใหเรฮมมีความประทบใจในนโยบาย



ของพรรคแรงงานเยอรมันที่มีเดร็กซ์เลอร์เป็นผู้น�า จนถึงขันสมัครเข้าเป็น
สมาชิกพรรคดังกล่าวในปี ค.ศ. 1919 ณ ที่นนี่เองที่เส้นทางชวิตของเขาก�าลัง
ี้



จะน�าพาไปพบกบอนาคตท่านผู้น�าสงสุดของเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
21


กองกำลังเอสเอส


ทางด้านอดอล์ฟ ฮิตเลอร์นั้น ภายหลังจากสงครามโลกครังที่ 1 สิ้น
สุดลง เขาก็ถูกปลดประจ�าการจากกองทัพและตกอยู่ในสภาวะตกงาน
เคว้งคว้าง แต่ด้วยความเป็นทหารผ่านศึก เขาจึงได้รับการคัดเลือกให้เข้าฝึก

เป็นก�าลังพลในกองก�าลังไฟรคอร์ปส์ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 กล่าว
กันว่าการฝึกฝนในหน่วยดังกล่าวนี้เองที่ท�าให้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผ้ซึ่งมีแนว

ความคิดชาตินิยมขวาจัดและมีแนวความคิดในการแบ่งแยกทางชาติพันธุ์
เป็นทุนเดิมอยู่แล้วได้รับการปลุกเร้าอย่างต่อเนื่องและจริงจัง จนน�าไปสู่

ี่

ความชาตินิยมและเลยเถิดไปสู่ “ความคลั่งชาติ” ทม่งท�าลายล้างชาติพันธุ์ที่
ี่
ด้อยกว่าให้หมดสิ้นไปจากสังคมโลกในทสุด

เมื่อสาเร็จการฝึกแล้ว อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็เรมปฏิบัติภารกิจในกอง
ิ่
ก�าลังไฟรคอร์ปส์ทันที จนกระทงในเดือนกันยายนปีเดียวกัน เขากได้รับ



มอบภารกิจให้แฝงตัวเข้าไปด�าเนินการสืบหาข้อมูลของพรรคแรงงานเยอรมัน

ที่กาลังถูกจบตามองว่าเป็นภัยคุกคามความมั่นคงของชาติ อีกทั้งยังมี

แนวโน้มที่จะก่อความไม่สงบขึ้น
แต่ปรากฏว่าเมื่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์แฝงตัวเข้าสืบข่าวในพรรคแรงงาน
ั้
เยอรมันในการปราศรัยครงหนึ่ง เขากลับประทบใจในแนวความคิดของ

เดร็กซ์เลอร์ซึ่งต่อต้านพวกนายทุนยิวและพวกคอมมิวนิสต์มาร์กซิสต์ อัน
ตรงกับแนวความคิดของตนเองเป็นอย่างมาก และต่อมาอีกไม่นานแนวความ
คิดเหล่านี้จะกลายเป็นแกนกลางของยุทธศาสตร์แห่งพรรคนาซี เป็นที่น่า
สังเกตว่าเมื่อแรกพบกบอดอล์ฟ ฮิตเลอร์นั้น เดร็กซ์เลอร์ได้บรรยายถึง


ลักษณะของเขาว่าเป็น “...คนตัวเลกๆ ที่หาสาระแก่นสารไม่ได้...”
อย่างไรก็ตาม “...คนตัวเล็กๆ ที่หาสาระแก่นสารไม่ได้...” คนนี้ก็มี
ความประทับใจในนโยบายของพรรคแรงงานเยอรมันจนถึงกับสมัครเข้าร่วม
เป็นสมาชิกพรรค พร้อมทั้งได้รับการฝึกฝนศิลปะการพูดจากเดร็กซ์เลอร์

ประกอบกับบุคลกส่วนตัวที่มีความเป็นผู้น�า ตลอดจนพรสวรรค์และทักษะ

การพูดที่ทรงอิทธิพล สามารถสร้างพลังและความรู้สึกร่วมในหมู่ผู้ฟังได้เป็น


22

ปฐมบท


อย่างดี จนสามารถโน้มน้าวและชักน�าผู้คนให้โน้มเอียงคล้อยตามได้อย่าง
น่าอัศจรรย์ ด้วยความสามารถดังกล่าวนี้เองที่ท�าให้สมาชิกพรรคแรงงาน

เยอรมันหันมาสนับสนุนอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จนบดบังรัศมของเดร็กซ์เลอร์ได้
อย่างไม่ยากเย็น
ในที่สุดบุคคลที่เดร็กซ์เลอร์เคยปรามาสว่าหาสาระแก่นสารไม่ได้ก็

กลายเป็นบุคคลที่มอิทธิพลในพรรคเป็นอย่างมาก และเมื่อโอกาสมาถึง
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ประกาศรวมพรรคแรงงานเยอรมันเข้ากับพรรคกรรมกร

ชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiter
Partei: NSDAP) จนกลายเป็นพรรคกรรมกรชาตสังคมนิยมเยอรมันหรือ

“พรรคนาซี” เพียงพรรคเดียวในที่สุด
ในช่วงนี้เริฮ์มซึ่งเป็นสมาชิกคนหนึ่งของพรรคได้ก้าวเข้ามาสนับสนุน
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์อย่างเต็มที่ ส่งผลให้พรรคนาซีเติบโตอย่างรวดเร็ว กระทั่ง

ในวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1921 อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ได้ก่อตั้งกองกาลังติดอาวุธ

กึ่งทหารของพรรคนาซีขึ้นเป็นกองก�าลังแรก มีนามหน่วยว่า “กองก�าลัง

เอสเอ” หรอ “ชตูรมอพไทลุง” (SA—Sturmabteilung Storm Attachment /
:



Assault Division) โดยมอบหมายให้เริฮ์มเป็นผ้บงคับบัญชาของกองกาลัง




ั้

เอสเอนี้ ก�าลังพลทงหมดจะแต่งกายด้วยเสื้อเชิ้ตสนาตาล สวมรองเท้าบู๊ต
ส�าหรับขี่ม้าสด�า จนได้สมญาว่า “พวกเชิ้ตน�้าตาล” (Brownshirts)

วัตถุประสงค์ที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์จัดตั้งกองก�าลังเอสเอขึ้นนั้นก็เพื่อ
ใช้เป็นกองก�าลังในแนวหน้าเหมือนทหารราบในสนามรบ ท�าการปะทะต่อสู้
และปฏิบัติการทุกรูปแบบเฉกเช่นเดียวกับนักรบบนท้องถนน โดยเฉพาะการ
ยกก�าลังพลเข้าท�าลายการปราศรัย ตลอดจนอาคารสถานที่ของฝ่ายตรงข้าม
อย่างเปิดเผย เพราะในขณะนั้นการปราศรัยของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และบรรดา
แกนน�าของพรรคนาซีเองมักจะถูกก่อกวนและท�าร้ายจากกลุ่มคอมมิวนิสต์
อยู่เนืองๆ




23


กองกำลังเอสเอส

























































อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในเครื่องแบบสีน�้าตาลของกองก�าลังเอสเอช่วงก่อตั้งพรรคนาซี


24

ปฐมบท


นอกจากนี้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็มีความหวาดระแวงต่อกองทัพเยอรมัน
เป็นอย่างมากว่าจะสนับสนุนตนเองและพรรคนาซีอย่างเต็มที่หรือไม่ เพราะ
มีผู้น�ากองทัพบกเยอรมันบางคนได้รับความนิยมจากประชาชนชาวเยอรมัน


ไม่น้อยเช่นเดียวกัน ท�าให้เขาตดสินใจจดตั้งกองกาลังเอสเอขน

ึ้

ขณะเดียวกันเริฮ์มกลายเป็นผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในพรรคนาซี
อาศัยความเป็นผู้กว้างขวางในวงการทหาร ท�าการติดต่อประสานงานกับ
องค์กรข้างเคียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการระดมก�าลังผู้สนับสนุน
กล่มชาตินิยมฝ่ายขวา ตลอดจนบรรดาทหารผ่านศึกและองค์กรกึ่งทหาร

จ�านวนกว่า 100,000 คนเข้าร่วมกับพรรคนาซีในงานเฉลิมฉลองวันชาติ
เยอรมันช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1923 ซึ่งสร้างความตื่นตะลงในความ


ยิ่งใหญ่และเกรียงไกรของพรรคนาซีให้กับชาวเยอรมันผู้ก�าลงสิ้นหวังและ

รัฐบาลไวมาร์ทีก�าลังสบสนเป็นอย่างมาก เป็นที่น่าสังเกตว่าการผงาดขนมา

ึ้
ของพรรคนาซีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์นันเป็นส่วนหนึ่งในความฝันของเริฮ์ม

ที่ต้องการจะใช้พรรคนาซีเป็นฐานในการสร้างกองก�าลังติดอาวุธของตนเอง
ขึ้น เขาเชื่อว่าจะสามารถชักใยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ให้เป็นเสมือนบันไดในการ
ึ่
ก้าวขึนสู่อ�านาจของเขาได้ และกองก�าลังเอสเอก็คือหนงในความฝันของเขา

นั่นเอง

บทบาทของเรฮ์มโดดเด่นและทวีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เขาเป็นผู้แนะน�า
นายทหารระดับสูง เช่น จอมพลเอริคช์ ลูเดนดอร์ฟฟ์ (Erich Ludendorff)
และจอมพลฟรันซ์ ริตเทอร์ ฟอน เอปป์ ให้เข้ามาร่วมกับพรรคนาซีเป็น

ผลส�าเร็จ บุคคลสาคัญทั้งสองมีความสนิทสนมกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ

พร้อมให้การสนับสนุนแนวทางของเขาอย่างเต็มท ี่


การเข้ามาของนายทหารระดบสูงส่งผลให้พรรคนาซีได้รับการยอมรบ
ี่
จากประชาชนเป็นอย่างมาก เพราะเยอรมันเป็นสังคมทมีพนฐานของการให้
ื้
เกียรตกองทัพเป็นทนเดิมอยู่แล้ว ทงยังท�าให้พรรคนาซีได้รับการสนับสนุน
ั้



ทางการเงินผ่านความมีชื่อเสยงของบรรดานายทหารเหล่านั้นอีกด้วย เงินทุน
25

กองกำลังเอสเอส




ต่างๆ ส่งผลให้อดอล์ฟ ฮตเลอร์สามารถพฒนาพรรคนาซีได้อย่างรวดเร็ว
และมีประสิทธภาพ

ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1923 อันตรายจากการก่อกวนของพวกคอม-
มิวนิสต์และฝ่ายตรงข้ามมีมากขน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์จึงตั้งหน่วย “สตาพส์


วาคเคอ” (Stabswache Berlin) ขนเพื่อเป็นหน่วยรักษาความปลอดภัยของ
ึ้
ตนเอง มีก�าลังพลเพียง 120 นายเท่านั้น หน่วยนี้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชา
ของกองก�าลังเอสเอและได้มีการเปลี่ยนนามหน่วยเป็น “สตอสสทรุพพ์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์” (Stosstrupp Adolf Hitler) ในปีเดียวกัน
ึ่
จนกระทั่งในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1925 หรือเกือบ 3 ปีครงหลังจาก
การก่อตั้งกองก�าลังเอสเอ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ปรับโครงสร้างหน่วย “สตอสส
ทรุพพ์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์” ใหม่ พร้อมใช้นามหน่วยว่า “เอสเอส-สตาพส์
วาคเคอ” (SS-Stabswache) อันเป็นจุดเริ่มต้นของการก่อตั้ง “กองก�าลัง

เอสเอส” หรือ “ชูทซ์ชตัฟเฟิล” (SS-Schutzstaffel: Protection Squad-
ron / Defence Corps) ขน โดยมอบหมายคนสนิทของเขาอีกคนหนึ่งคือ
ึ้

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Himmler) เป็นผู้บังคับบัญชา เป็นที่น่าสังเกต
ว่าหน่วยเอสเอส-สตาพส์วาคเคอไม่ได้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของกอง

ก�าลังเอสเออีกต่อไปแล้ว หากแต่อยู่ภายใต้การสั่งการของไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์
และกองก�าลังเอสเอส
ั้
วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งกองก�าลังเอสเอสนนแตกต่างจากกอง
ก�าลังเอสเอ กองก�าลังเอสเอสจะมีภารกิจที่แคบกว่ากองก�าลังเอสเอ มุ่งเน้น

ภารกิจเป็นกองก�าลังอารักขาส่วนตัวหรือ “องครักษ์” ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
และบุคคลสาคัญของพรรคนาซีเป็นหลัก จะท�าการปะทะก็ต่อเมอบุคคล
ื่

ี่
ส�าคัญเหล่านั้นถกรุมท�าร้ายหรืออยู่ในสภาวะทสุ่มเสี่ยงต่ออันตรายเท่านั้น

ต่อมาในปี ค.ศ. 1933 หน่วยเอสเอส-สตาพส์วาคเคอได้เปลี่ยนนาม
หน่วยเป็น “เอสเอส-สตาพส์วาคเคอ เบอร์ลิน” (SS-Stabswache Berlin)
และเป็น “กองก�าลังเอสเอส-ซอนเดอร์คอมมานโด ซอสเซิน” (SS-Sonder-


26

ปฐมบท


























หน่วยเอสเอส-สตาพส์วาคเคอ จ�านวน 120 นาย
ต้นก�าเนิดของ “กรมเอสเอส-ไลบ์ชตันดาร์เทอ เอสเอส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์” เป็นกองก�าลัง

องครักษ์ประจาตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ภาพนี้ถ่ายบริเวณหน้ากองบัญชาการพรรคนาซี

ในเมืองมวนิกช่วงปี ค.ศ. 1930
kommando Zossen) หรือบางครั้งเรียกว่า “กองก�าลังเอสเอส-ซอนเดอร์

คอมมานโด ยูเทอร์บอก” (SS-Sonderkommando Juterbog)
จากนนก็มการยกระดับกองก�าลังเอสเอสดังกล่าวให้มีสถานะเป็น
ั้


หน่วยระดับกรม คือมก�าลังพลในระดับกองพันอยู่ภายใต้การบังคับบญชา

จ�านวน 3 กองพัน พร้อมกับเปลี่ยนนามหน่วยเป็น “กรมเอสเอส-อดอล์ฟ
ฮิตเลอร์ ชตนดาร์เทอ” (SS-Adolf Hitler Standarte) และในที่สุดก็เปลี่ยน

นามอีกครงเป็น “กรมเอสเอส-ไลบ์ชตันดาร์เทอ เอสเอส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์”
ั้

(SS-Leibstandarte SS Adolf Hitler) ท�าหน้าทีคุ้มกันอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

แต่งกายด้วยเครื่องแบบสด�าอันสง่างามและมีสิทธิพเศษในการติดแถบ

ชื่อของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ไว้ที่ปลายแขนเสื้อด้านซ้าย กรมดังกล่าวคือต้น
ก�าเนิดของกองพลยานเกราะเอสเอสท 1 ไลบ์ชตันดาร์เทอ เอสเอส อดอล์ฟ
ี่

27


กองกำลังเอสเอส

ฮิตเลอร์ (The 1 SS Panzer Division Leibstandarte SS Adolf Hitler)
st
ในปี ค.ศ. 1941 นั่นเอง
อย่างไรก็ตาม ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าหากเปรียบเทียบกองก�าลังเอสเอ

และกองก�าลังเอสเอสแล้ว กองก�าลังเอสเอของเริฮ์มยังคงมีบทบาทอย่างมาก

จนแทบบดบังรศมีของกองก�าลังเอสเอสเกือบหมดสน ทั้งนเพราะกองก�าลัง
ิ้


เอสเอมีส่วนส�าคัญในการผลักดันให้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก้าวสู่ความสาเร็จ โดย

เฉพาะอย่างยิ่งเริฮ์มผู้อย่เคียงข้างอดอล์ฟ ฮิตเลอร์มาโดยตลอด ความ

ี่
มุ่งมั่นและเด็ดเดี่ยวของเขาทมีต่อพรรคนาซีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ส่งผลให้
สมาชิกของกองก�าลังเอสเอคอยต่อสู้และเผชิญหน้ากับกองก�าลังติดอาวุธ
ของพวกคอมมิวนิสต์ที่เป็นเสี้ยนหนามของพรรคนาซีอย่างห้าวหาญในทุก

สถานการณ์ ส่วนในการเลือกตั้งทั่วประเทศนั้น พวกเอสเอกกระท�าทุกวิถี


ทางเพื่อให้ประชาชนลงคะแนนเสยงให้พรรคนาซี ทั้งการข่มข่ การสร้างความ

หวาดกลัว รวมถงการท�าลายการหาเสียง การปราศรย และเผาท�าลายโปสเตอร์



สื่อสิงพิมพ์ต่างๆ ของพรรคการเมองฝ่ายตรงข้ามอีกด้วย

เป็นที่น่าสังเกตว่าแม้จะมีกองก�าลงเอสเอที่แข็งแกร่งค�้าบัลลังก์


อยู่แล้ว แต่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก็ยังคงจัดตงกองก�าลังเอสเอสขึ้นมาอีก สาเหตุ
ประการหนึ่งเพราะกองก�าลังเอสเอของเริฮ์มมีลักษณะและภาพลักษณ์ที่เป็น
ภัยคุกคามต่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง มีพฤติกรรมข่มขู่ประชาชน
ไม่เว้นวัน ไม่ต่างจากอันธพาลข้างถนน อีกทั้งยังมีจ�านวนก�าลังพลที่เพิ่ม

ขึ้นนับแสนนายอย่างรวดเร็ว ซึ่งประการหลังนีท�าให้กองก�าลังเอสเอไม่เป็น
ที่ยอมรับจากกองทัพเยอรมันที่ก�าลงวิตกกังวลถึงการเพิ่มขึ้นของก�าลังพล

ของเอสเอจนมีท่าทีว่าจะกลายเป็นกองก�าลังที่คานอ�านาจของกองทัพใน
อนาคต
ดังนั้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์จึงตั้งกองก�าลงเอสเอสขึ้นมาทับซ้อนกับ

กองก�าลังเอสเอ โดยใช้หน่วยเอสเอส-สตาพส์วาคเคอซึ่งเป็นหน่วยทมีการ
ี่

คัดเลือกบคคลที่เขาไว้วางใจมากที่สุด น�ามาเป็นแกนกลางในการก่อตั้งกอง

28

ปฐมบท


ก�าลังเอสเอส และยังด�ารงภารกิจเดิมคือการเป็นเสมือนองครักษ์ประจ�าตัว


ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แต่คราวนี้กองก�าลังเอสเอสจะต้องเป็นเอกเทศ ไม่ขน
ตรงต่อส่วนราชการใดๆ ไม่มีใครสั่งการได้นอกจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และ

ั้



ฮิมมเลอร ผูซึ่งไดรับมอบอ�านาจจากเขาเทานน การตั้งกองก�าลงเอสเอสขึ้นมา




จึงท�าให้เกิดการทบซ้อนกับกองก�าลังเอสเอของเริฮ์มอย่างหลกเลี่ยงไม่ได้
โดยเฉพาะอ�านาจของฮิมม์เลอร์และเริฮ์มที่มีการคานอ�านาจกันอย่างชัดเจน
ต่อมาในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 ได้เกิดเหตุวางเพลงรัฐสภา

ของเยอรมนี ส่งผลให้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ออกค�าสั่งเพื่อการปกป้องประชาชน
และอ�านาจรัฐ ค�าสั่งนี้มอบอ�านาจการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ

ทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ต�ารวจให้กับกองก�าลงเอสเอและกองก�าลังเอสเอสใน

ฐานะผ้ช่วยเจ้าพนักงานตามกฎหมาย ก�าลังพลเอสเอจ�านวนกว่า 25,000 นาย
และก�าลงพลเอสเอสอีกกว่า 15,000 นายได้รับการแจกจ่ายอาวุธยุทโธปกรณ์

พร้อมกับได้รบค�าสั่งให้เข้าร่วมปฏิบัติภารกิจกับเจ้าหน้าทต�ารวจ อีกทั้งยัง

ี่
สามารถใช้อ�านาจเทียบเท่าเจ้าหน้าที่ต�ารวจในการจับกุมและคุมขังบุคคลที่
ต้องสงสัยว่ามีแนวคิดหรือความประพฤติที่เป็นภยต่อความมั่นคงของรัฐ



อย่างไรก็ตาม กองก�าลงเอสเอและเอสเอสต่างใช้อ�านาจหน้าทีอย่าง
เลยเถดหรอเกินเลยจากขอบเขตความรับผิดชอบของตน ด้วยการบุกเข้า


จับกุมบุคคลระดับแกนน�าของพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามกับพรรคนาซีเป็น
จ�านวนมากทั้งฝ่ายประชาธิปไตยและฝ่ายคอมมิวนิสต์ ทั้งๆ ที่บุคคลเหล่า
นั้นไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์การวางเพลิงรฐสภาแต่อย่างใด บุคคล

ผู้เคราะห์ร้ายเหล่านี้ถูกส่งไปคุมขงที่ค่ายคนเถอน (Wild Man Camp) ซึ่ง

ื่
อยู่ในความควบคุมของกองก�าลังเอสเอ ค่ายคนเถื่อนนบเป็นค่ายกักกันรุ่น

แรกๆ ของพรรคนาซีที่ทดลองในการกักขังบุคคลผู้ที่ “ไม่มีวิสัยทัศน์ของ
ความเป็นผู้เจริญ” โดยเฉพาะความศิวิไลซ์ตามแบบฉบับของพรรคนาซี

รวมไปถึงกักขังบุคคลผู้ที่ก่ออาชญากรรมหรือมีความประพฤติที่เต็มไปด้วย
ความโหดเหี้ยมต่างๆ ยังไม่ใช่ค่ายกักกันชาวยิวแต่อย่างใด


29

กองกำลังเอสเอส















































ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ (คนหน้าซ้ายมือ) ผู้บัญชาการสูงสุดกองก�าลังเอสเอส
ในเครื่องแบบของกองก�าลังเอสเอสทั่วไปหรืออัลล์เกอไมเนอ-เอสเอส



ต่อมาอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ออกค�าสั่งลงวันที 26 เมษายน ค.ศ. 1933

ให้จัดตั้งหน่วย “เกไฮเมอ สตาทส์โพลไซอัมท์” (Geheime Staats-
polizeiamt) หรือเรียกย่อๆ ว่า “เกสตาปา” (Gestapa) ซึ่งต่อมาเปลี่ยน


30

ปฐมบท


นามหน่วยเป็น “เกไฮเมอ สตาทส์โพลิไซ” (Geheime Staatspolizei) หรือ
ี่

“เกสตาโป” (Gestapo) อันเป็นหน่วยงานต�ารวจลับทขึ้นชื่อลอชาเป็นอย่าง

มากดังจะได้กล่าวรายละเอยดในบทต่อไป เกสตาโปเป็นหน่วยงานในการ
รักษาความปลอดภัยของพรรคนาซีที่มีอ�านาจในการจับกุมบุคคลที่ต่อต้าน
พรรคแล้วส่งตวไปกักขังที่ค่ายคนเถอนดังกล่าวอีกด้วย
ื่

จะเห็นได้ว่าในช่วงแรกๆ นั้นกองก�าลังเอสเอสมีรากฐานจากการ
เป็นกองก�าลังกึ่งทหาร ท�าหน้าที่อารกขาบคคลส�าคัญของพรรคนาซี และ


ในที่สุดเมื่อภารกิจขยายตัวมากขึ้นก็ได้มีการพัฒนากองก�าลังเอสเอสให้มี

รูปแบบที่เป็นสากล ทั้งรูปแบบการจัดหน่วยและอัตราชนยศตามแบบของ


กองทัพ รวมทั้งยังมุ่งเน้นความมีระเบียบวินยที่เข้มงวดเป็นอย่างมาก เพราะ
กองก�าลังเอสเอของเริฮ์มนั้นมีจุดด้อยในเรื่องของความมีระเบียบวินัย ท�าให้
การสงการและการบังคบบัญชากระท�าได้ยาก

ั่
นอกจากกองก�าลังเอสเอสจะมภารกิจในการอารักขาบุคคลส�าคัญ


อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ยังขยายขอบเขตการปฏิบัตงานออกไปจนถึงการป้องกัน
พรรคนาซีในภาพรวมทั้งหมด ทั้งด้านการข่าว การประชาสัมพันธ์ การวาง


ี่



หนวยทหารเอสเอสในพื้นทส�าคัญหรือพื้นที่ลอแหลมและสุมเสยงตอการบอน


ท�าลายของฝ่ายตรงข้าม โดยมอบหมายให้ฮิมม์เลอร์เป็นผู้รับผิดชอบในฐานะ
ผู้บัญชาการสูงสุดกองก�าลังเอสเอส ก่อนที่จะแผ่ขยายอ�านาจเข้าครอบคลุม

ในทุกเสี้ยววิถชีวิตของประชาชนชาวเยอรมัน รวมทงกองทพเยอรมนอีกด้วย
ั้



จนอาจกล่าวได้ว่ากองก�าลงเอสเอสมีอ�านาจในลักษณะ “รัฐทซ้อนอยู่ภายใน
ี่
รัฐ” เพราะมอ�านาจเหนือกว่ารัฐบาลของประเทศเยอรมนีเสียอีก

จะเห็นได้ว่ากองก�าลังเอสเอสมีการพัฒนาขึ้นอย่างช้าๆ แต่มั่นคง
และไม่เคยหยุดนิ่ง แตกต่างจากกองก�าลังเอสเอที่ขยายตัวอย่างหวือหวา โดด

เด่น รวดเรว และมีพฤตกรรมอันโฉ่งฉ่างเป็นที่หวาดหวั่นของผู้คนจ�านวน

มาก ทั้งนี้เนองจากพื้นฐานของกองก�าลังเอสเอสมาจากองค์กรใต้ดิน มิใช่


อันธพาลตามท้องถนน ท�าให้ต่อสู้อย่างเป็นระบบ มแบบแผนและการปฏิบัติ

31

กองกำลังเอสเอส


งานอย่างเป็นขั้นตอน ก�าลังพลของเอสเอสจะได้รับการคัดเลือกมาเป็นอย่าง

ดี เป็นเด็กหนุ่มที่มีร่างกายแข็งแรงสมบรณ์ เป็นชนชาติ “อารยัน” ที่มีผม
ทอง นัยน์ตาสีฟ้า ตามแนวความคิดและอุดมการณ์ “ชาตพันธุ์เหนือมนุษย์”








ของอดอลฟ ฮิตเลอร มีความสงางาม นาเกรงขาม ไดรับการปลกฝงอุดมการณ ์
แบบ “ขวาจัด” รวมไปถึงมีความจงรักภักดีต่อท่านผู้น�าอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ื่

อย่างปราศจากเงอนไขหรือข้อกังขาใดๆ ทั้งสิน
นอกจากนี้กองก�าลังเอสเอสยังพ่งเป้าหมายในการเกณฑ์สมาชิกจาก

กลุ่มนักศึกษาหรือผู้ที่มีการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย เพราะเล็งเห็นว่าคน

เหล่านี้เป็นกลุ่มบุคคลที่มพื้นฐานการศึกษาดี เห็นได้จากตัวอย่างของหน่วย
รักษาความปลอดภัยของ ไรน์ฮาร์ด ไฮดริช (Reinhard Heydrich) บคคล




ส�าคัญอีกคนหนึ่งของกองกาลังเอสเอสซึ่งใช้วธีการรับสมัครนักกฎหมาย
นักวิชาการ และนักเศรษฐศาสตร์เข้ามาอยู่ในหน่วยของตนเป็นจ�านวนมาก
จนกลายเป็นที่ยอมรับจากสังคมภายนอก ทงในด้านภาพลักษณ์และผล
ั้
สัมฤทธิ์ของภารกิจ สิ่งเหล่านี้ท�าให้มีการวิเคราะห์ว่านักวิชาการและนักศึกษา

ั้

จากรวมหาวิทยาลัยมีผลท�าใหกองก�าลังเอสเอสไดรับการยอมรับจากประชาชน
และทหารของกองทัพเยอรมัน ทั้งนี้เพื่อลบภาพลักษณ์ของกองกาลังเอสเอ

ที่เป็นนักเลงหัวไม้ข้างถนน กักขฬะ รุนแรง มีพฤติกรรมข่มขู่ก้าวร้าวให้หมด
ไปจากสายตาผู้คนในสังคม
ี่
ในส่วนนี้จะเห็นถึงความแตกต่างจากกองก�าลังเอสเอของเริฮ์มทมี

พื้นฐานมาจากคนว่างงาน อดีตทหารผ่านศึก และชนชันกรรมาชีพ (Working
Class) ท�าให้ควบคุมได้ยาก มีพฤติกรรมเกกมะเหรกเกเร ส่วนเรื่องความ
จงรกภักดีนันก็แบ่งออกเป็นฝักฝ่าย ส่วนหนึ่งภักดีต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์




อีกส่วนหนึ่งกลับจงรักภักดต่อเริฮ์ม



เมื่อกาลเวลาผ่านไป ยิ่งพรรคนาซประสบความส�าเรจมากขึ้นเท่าใด
กองก�าลังเอสเอสก็ยิ่งเตบโตอย่างรวดเร็วมากขึ้นเท่านั้น ในปี ค.ศ. 1932

กองก�าลงเอสเอสก็มีก�าลงพลเพิ่มขึ้นถึงกว่า 10,000 นาย จนฮิมม์เลอร์


32

ปฐมบท




ผู้บญชาการสูงสุดกองก�าลังเอสเอสและฝ่ายเสนาธิการของเขาต้องพฒนา
แนวทางการบริหารจัดการกองก�าลังเอสเอสที่ขยายตวอย่างก้าวกระโดดนี้ให้

มีประสิทธิภาพและคงไว้ซงมาตรฐานเดิมให้มากที่สุด
ึ่

กระทั่งในปี ค.ศ. 1933 เมื่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก้าวขึ้นส่ต�าแหน่งนายก

รัฐมนตรีหรือ Chancellor และก้าวขึ้นส่ต�าแหน่ง “ท่านผ้น�า” ของประเทศ

เยอรมนีในที่สุด ช่วงนี้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ตระหนักดีถึงศักยภาพของกอง

ก�าลังเอสเอส จึงได้มีการออกกฎหมายและข้อบญญัติที่เออต่อการรับสมัคร


ี่

บุคคลพลเรอนที่มีการคัดสรรบุคคลทมีคุณภาพเข้ามาสู่กองก�าลังเอสเอส
ตลอดจนรับโอนย้ายนายทหารผ่านศึกที่มีประสบการณ์จากสงครามโลก
ี่
ครั้งท 1 จ�านวนมากเข้ามาสังกัดในกองก�าลังของเขา จนอาจกล่าวได้ว่าการ
คัดเลือกกาลังพลของกองก�าลังเอสเอสนั้นได้คัดสรรแต่บุคคลชั้น “หัวกะทิ”

ตัดหน้ากองทัพเยอรมันอยู่ตลอดเวลา






ึ่
ี่

จดเปลยนสาคญอกประการหนงททาใหกองกาลังเอสเอสเติบโตอยาง

ี่
รวดเร็วและไร้คู่แข่งคือการแผ่ขยายความรับผิดชอบเข้าควบคุมสายงาน
ด้านการรักษาความปลอดภัยหรือ “ต�ารวจ” ทั่วทั้งประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ.
1936 ส่งผลให้กองก�าลังเอสเอสกลายเป็นองค์กรที่มีอ�านาจครอบจักรวาล
ทั้งอ�านาจทางการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สงคม จิตวิทยา วิถีชีวิต การ

ศึกษา ด้วยการเข้าควบคุมการบริหารงานในโรงงานอุตสาหกรรม ระบบ

เศรษฐกิจ การเงน การธนาคาร การค้า และแทรกตวเข้าไปในระบบสงคม



และวัฒนธรรม ศาสนา การแต่งงาน พธีการทางสังคมต่างๆ ตลอดจนยังเข้า
ควบคุมสอดส่องมูลนิธิต่างๆ ทั้งโดยตรงหรือทางอ้อม นอกจากนี้ฮิมม์เลอร์
ยังต้องการควบคุมแนวความคิดของประชาชนให้อยู่ในกรอบของพรรคนาซี
จนก้าวลึกลงไปถึงการศึกษาของเยาวชนในโรงเรียนและในองค์กรยุวชน
ฮิตเลอร์อีกด้วย
กองก�าลังเอสเอและกองก�าลังเอสเอสต่างเติบโตอย่างต่อเนื่องจน
กลายเป็นเสมือนคู่แข่งกันเองในพรรคนาซ กองก�าลังเอสเอมีเริฮ์มเป็นผู้น�า


33

กองกำลังเอสเอส



























สัญลักษณ์กะโหลกไขว้ของกองก�าลังเอสเอส มีทีมาจากสัญลักษณ์ของกรม
ทหารม้า “ฮัสซาร์” (A Hussar Regiment) ของพระเจ้าเฟรเดอริกมหาราชแห่ง
ปรัสเซียในช่วงปี ค.ศ. 1740 นอกจากจะมีสัญลักษณ์กะโหลกไขว้แล้ว หน่วย
ึ่
ทหารดังกล่าวยังมีเครื่องแบบสีด�าซงเป็นต้นแบบเครื่องแบบสีด�าของกองก�าลัง
เอสเอสอีกด้วย



ส่วนกองก�าลังเอสเอสมีฮิมม์เลอร์, แฮร์มานน์ เกอริง (Hermann Göring)
ี้

สมาชิกคนสาคัญของพรรคนาซี และไฮดริชเป็นแกนน�า ฝ่ายหลังนมีความ
ไม่พอใจในตัวของเริฮ์มอย่างมากที่กระท�าตัวเสมือนเทียบบารมีของอดอล์ฟ
ฮิตเลอร์อยู่ตลอดเวลา อีกทั้งกองก�าลังเอสเอก็ขยายตัวจนสามารถกุมอ�านาจ

ของกองก�าลังเอสเอสได้อย่างไม่ยากเย็น โดยเฉพาะช่วงปี ค.ศ. 1933 จ�านวน
ึ้
ก�าลังพลของกองก�าลังเอสเอเพิ่มสูงขนกว่า 100,000 นาย ซึ่งดูจะมีจ�านวน
มากกว่ากองทัพเยอรมันที่ถูกจ�ากัดโดยสนธิสัญญาแวร์ซายเสียอีก นอกจาก

นี้กองก�าลังเอสเอยงมีสมาชกทั่วไปที่ให้การสนบสนุนถึงกว่า 3,000,000 คน



ดังนั้น ฮิมม์เลอร์, เกอริง และไฮดริชจงก�าหนดแผนการก�าจัดเริฮ์ม
และกองก�าลังเอสเอขึ้น โดยการสร้างสถานการณ์ว่าเริฮ์มกาลังวางแผนที่จะ

34

ปฐมบท





























กองก�าลังทหารเอสเอส (Armed SS) หรือ “วัฟเฟิน-เอสเอส” (Waffen-SS) ซึ่งเป็น

ี่
กองก�าลงติดอาวุธทางทหารของพรรคนาซี ในระหว่างปฏิบติหน้าทที่เมืองอินส์บรูค (Inns-

ึ่
bruck) ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1938 ซึ่งเป็นช่วงของการผนวกออสเตรียเข้าเป็นส่วนหนง
ของเยอรมนีตามข้อตกลง “อันชลุสส์” (An Anschluss and the “Finale” of the
republic)




ปฏิวัติยึดอ�านาจอดอลฟ ฮิตเลอร ซึ่งสรางความกังวลใจและความหวาดระแวง
ให้กับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นอย่างมาก เพราะอันที่จริงแล้วก็มีสงบ่งบอก


หลายอย่างที่ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่ากองก�าลังเอสเอมีความจงรักภักดีและ
เชื่อฟังเริฮ์มมากกว่าอดอล์ฟ ฮิตเลอร์


จนในที่สุดอดอล์ฟ ฮิตเลอร์กตัดสินใจท�าลายกองก�าลังเอสเอในวน
ที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1934 ณ โรงแรมบาด วิสเซ (Bad Wiessee) ซึ่งอยู่ห่าง
จากเมืองมิวนิกออกไปประมาณ 50 ไมล ภายใต้ชื่อยุทธการล้างเลือด (Blood

Purge) ภายหลงรู้จักกันในชื่อว่า “ราตรีแห่งมดยาว” (The Night of the


Long Knives)


35

กองกำลังเอสเอส


ปฏิบัติการในครั้งนี้ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้เข้าควบคุมขั้นตอนการ
ก�าจัดเริฮ์มและกองก�าลังเอสเอด้วยตัวของเขาเอง โดยเป็นผู้น�าทหารเอสเอส






บุกเขาจับกุมเริฮมถึงหองพัก กอนที่ธีโอดอร ไอคเคอ (Theodor Eicke) และ
มิชาเอล ลิพเพอร์ท (Michael Lippert) ซึ่งเป็นทหารเอสเอสที่อดอล์ฟ
ฮิตเลอร์ไว้ใจที่สุดได้ใช้อาวุธปืนพกยิงเริฮ์มจนเสียชีวิต พร้อมกับจับตัว
หัวหน้ากองก�าลังเอสเออีกจ�านวนกว่า 200 นายมาไต่สวน ก่อนที่จะลงโทษ
คนเหล่านี้ด้วยการยิงเป้าโดยทหารเอสเอสสังกัดหน่วยเอสเอส-ไลบ์ชตัน
ดาร์เทอ เอสเอส อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ น�าโดยโยเซฟ (เซพพ์) ดีทริช (Joseph
(Sepp) Dietrich) ทหารเอสเอสคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อีกนายหนึ่ง

เหตุการณ์ครงนี้นับเป็นการกวาดล้างเข่นฆ่ากันเองของผู้ร่วมทุกข์ร่วมสุขของ


อดอล์ฟ ฮิตเลอร์แบบถอนรากถอนโคน หลังจากนั้นก�าลังพลเอสเอบางส่วน
ได้แปรพักตร์มาเป็นกองก�าลังเอสเอสและขนตรงต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์แต่
ึ้
เพียงผู้เดียว































36





บทที่ 2


ภำรกิจและกำรจัดองค์กร


ของกองก�ำลังเอสเอส






















































39



ภำรกจและกำรจัดองค์กรของกองก�ำลังเอสเอส































หลังจำกกองกำลังเอสเอถูกก�ำจัดและลดบทบำทลงแล้ว ฮิมม์เลอร์ก็พัฒนำ

กองก�าลังเอสเอสของเขาอย่างรวดเร็ว โดยก�าหนดให้มีอัตราการจัดกอง
ก�าลังเอสเอสขึ้น มีกองก�าลงภายใต้การบังคับบัญชาจ�านวน 3 กองก�าลังหลัก

ประกอบด้วย


1. กองก�าลังเอสเอสทั่วไป (The General SS) หรือ “อัลล์เกอไมเนอ-
เอสเอส” (Allgemeine-SS) มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายตามนโยบาย


“ชาติพันธุ์บริสทธิ์” ของพรรคนาซี และกิจการด้าน “ต�ารวจ” หรือ


การรักษาความปลอดภัยทงมวล รวมไปถึงงานด้านการข่าวกรอง
ทั้งในทางลับและเปิดเผย


2. กองก�าลังทหารเอสเอส (Armed SS) หรือ “วัฟเฟิน-เอสเอส”


(Waffen-SS) มีหนาที่เปนกองก�าลังทหารติดอาวุธเชนเดียวกับหนวย


41

กองกำลังเอสเอส


ทหารในกองทัพเยอรมัน ประกอบด้วยทหารเอสเอสเหล่าต่างๆ เช่น
เหล่าทหารราบ เหล่าทหารม้ายานเกราะ เหล่าทหารปืนใหญ่ เหล่า
ทหารช่าง และเหล่าทหารสื่อสาร เป็นต้น



3. กองก�าลังเอสเอส-โทเทินคอพฟ์แฟร์เบนเดอ (SS-Totenkopfver-

bände) หรือหน่วย “กะโหลกไขว้” (The SS Death’s Head
Division) มีหน้าที่รับผิดชอบภารกิจด้านการรักษาความปลอดภัย

ค่ายกักกนต่างๆ หรือท�าหน้าที่ “ผู้คุมค่ายกักกัน” นนเอง

ั่
























อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ พร้อมด้วยไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์และแอร์นสต์ ยูลอุส กุนเธอร์ เริฮ์ม ตลอดจน

ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของกองก�าลังเอสเอและเอสเอสในงานรวมพลของพรรคนาซีที่เมือง
นูเรมเบิร์ก ค.ศ. 1933


จะเห็นได้ว่าภารกิจ การจัดการ ความมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์


ในการปฏิบัติภารกิจของกองก�าลังเอสเอสนั้น ฮิมม์เลอร์ม่งหวังให้แผ่ขยาย
ครอบคลุมเข้าไปในทุกภาคส่วนของวิถีชีวิตชาวเยอรมัน เป็นการด�าเนิน


42


Click to View FlipBook Version