The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pannika, 2020-09-08 03:43:40

ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์

ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์
HISTORY OF SCIENCE


ศุภวิทย์ ถาวรบุตร: เขียน
ราคา 385 บาท
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำานักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
ศุภวิทย์ ถาวรบุตร.
ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ = History of Science.-- กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป, 2563.
372 หน้า.
1. วิทยาศาสตร์--ประวัติ. I. ชื่อเรื่อง.
509
ISBN 978-616-301-718-5

© ข้อความในหนังสือเล่มนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558
การคัดลอกส่วนใดๆ ในหนังสือเล่มนี้ไปเผยแพร่ไม่ว่าในรูปแบบใดต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน
ยกเว้นเพื่อการอ้างอิง การวิจารณ์ และประชาสัมพันธ์
บรรณาธิการอำานวยการ : คธาวุฒิ เกนุ้ย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน์
บรรณาธิการเล่ม : สวิณี แสงสิทธิชัย
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา นันทนา วุฒิ
นักศึกษาฝึกงาน : ประภัสสร สุโคตร ชนิสรา ทองขำา ศิยานนท์ หัตถะมา
หัวหน้าฝ่ายพิสูจน์อักษร : สวภัทร เพ็ชรรัตน์
ฝ่ายพิสูจน์อักษร : วนัชพร เขียวชอุ่ม สุธารัตน์ วรรณถาวร
รูปเล่ม : Evolution Art
ออกแบบปก : Rabbithood Studio
ผู้อำานวยการฝ่ายการตลาด : นุชนันท์ ทักษิณาบัณฑิต
ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : ชิตพล จันสด
ผู้จัดการทั่วไป : เวชพงษ์ รัตนมาลี
จัดพิมพ์โดย : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำากัด เลขที่ 37/145 รามคำาแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร. 0 2728 0939 ต่อ 108
พิมพ์ที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำากัด โทร. 0 2147 3175-6
จัดจำาหน่าย : บริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำากัด โทร. 0 2728 0939
www.gypsygroup.net
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID: @gypzy

สนใจสั่งซื้อหนังสือจำานวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สำานักพิมพ์ลดราคาพิเศษ ติดต่อ โทร. 0 2728 0939

ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร ์




ศุภวิทย์ ถาวรบุตร


คานาสานักพิมพ ์









ท�ำไมนิยำยไซไฟทีเรำเคยได้อ่ำนกันนันถึงไม่ได้มีแค่เรืองเทคโนโลยีล�ำๆ
หรือทฤษฎีวิทยำศำสตร์เข้ำใจยำกเท่ำนัน ถ้ำอ่ำนดีๆ จะสังเกตได้ว่ำนิยำยไซไฟ



มีเรืองกำรสร้ำงโลกใหม่ สังคม ศำสนำ และปรัชญำเข้ำมำเกียวข้องเสมอ
ค�ำถำมด้ำนบนเป็นค�ำถำมหลักทีเรำต้องกำรตอบ เรำอยู่ในยุคสมัยที ่

ขำดวิทยำศำสตร์ไม่ได้อีกต่อไป มนุษย์อยู่ติดกับเทคโนโลยีจนไม่สำมำรถย้อน
กลับไปใช้ชีวิตแบบเดิมได้อีกต่อไป นันหมำยควำมว่ำวิทยำศำสตร์อยู่คู่กับยุค


สมัยตังแต่ยุคหินจนถึงปัจจุบัน หลำยคนอำจคิดว่ำกำรศึกษำวิทยำศำสตร์เป็น
เรืองของอนำคต เรำกลำยเป็นโลกทีนิยำยวิทยำศำสตร์พูดถึงเมือสิบปีก่อน



ทุกคนมุ่งหน้ำศึกษำวิทยำศำสตร์เพืออนำคตทีดีขึน กระนันวิทยำศำสตร์





ไม่ได้บ่งบอกถึงแค่ศำสตร์ทำงวิทย์ หรือเป็นศำสตร์เพืออนำคตเท่ำนัน

กำรศึกษำวิทยำศำสตร์แบบมองย้อนกลับไปในอดีตนันกลับท�ำให้เห็นสภำพสังคม

แนวคิด ศรัทธำควำมเชือ ควำมรู้ควำมเข้ำใจ ตลอดจนจินตนำกำร และกรอบ

ภูมิปัญญำของยุคสมัย ประเด็นเหล่ำนีช่วยเพิ่มเติมแง่มุมอันน่ำสนใจให้กับ



ประวัติศำสตร์นับแต่อดีตจนถึงกำรวิเครำะห์โลกสมัยใหม่ได้ ซึงเป็นกำรย�ำเตือน

และสนับสนุนว่ำวิทยำศำสตร์ไม่ใช่แค่เรืองเทคโนโลยีหรือเทคนิคทำงวิทยำศำสตร์


เท่ำนัน และสุดท้ำยแล้ว เมือเรำอ่ำนหนังสือเล่มนีจึงตอบข้อสงสัยได้ว่ำ

ท�ำไมหนังสือนิยำยไซไฟหรือนิยำยวิทยำศำสตร์จึงไม่ได้มีแค่เรืองเทคโนโลยี

แต่กลับมีเรืองควำมเชือ ปรัชญำ ศำสนำ และสังคมเกียวอยู่ด้วยเสมอ



สานักพิมพ์ยิปซี


บทคัดย่อ







ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ในหนังสือเล่มนีเรียบเรียงตำมวิวัฒนำกำร
ของสังคมตะวันตก เนื้อหำหลักกล่ำวถึงกำรแสวงหำควำมจริงในกรอบปรัชญำ

ธรรมชำตินับตังแต่อำรยธรรมโบรำณ จุดเด่นและควำมก้ำวหน้ำของปรัชญำ
ธรรมชำติในยุคคลำสสิก กำรหลอมรวมปรัชญำธรรมชำติกับศำสนำในสมัย


กลำง จุดเปลียนในช่วงกำรปฏิวัติวิทยำศำสตร์ กำรแตกแขนงของควำมรู้ใน

ศตวรรษที 18 และ 19 เทคโนโลยีกับควำมนึกคิดของสังคมทั้งก่อนสมัยใหม่


และสมัยใหม่ ไล่มำจนถึงควำมท้ำทำยในศตวรรษที 20 ทังหมดบ่งชีว่ำ

วิทยำศำสตร์สัมพันธ์กับควำมเป็นไปในอดีต แนวคิดและค�ำอธิบำยเชิงวิทยำ
ศำสตร์ทุกๆ เรืองเกิดขึนในช่วงเวลำใดเวลำหนึง เพรำะขึนกับมุมมอง ค�ำถำม






บริบท ปัจจัย และเงือนไข ทีเป็นอยู่ ณ ขณะนัน เมือมองในเชิงประวัติศำสตร์



ทังปรัชญำธรรมชำติและวิทยำศำสตร์จึงเป็นหลักฐำนบ่งบอกสถำนะของ
ควำมรู้ควำมคิดซึงยึดโยงกับปัจจัยแวดล้อมในสังคมด้วย

เรืองเล่ำเกียวกับวิทยำศำสตร์เผชิญกับค�ำถำมเชิงประวัติศำสตร์นิพนธ์




เช่นเดียวกับประวัติศำสตร์เรืองอืนๆ อดีตของวิทยำศำสตร์ถูกตีควำม ก�ำหนด

ควำมหมำย วิเครำะห์และวิพำกษ์ เกิดเป็นมุมมองทีแตกต่ำงในกำรอธิบำย
ทิศทำงของประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ แต่ไม่ว่ำแนวโน้มทำงประวัติศำสตร์

นิพนธ์จะเป็นเช่นใด ควำมเข้ำใจเกียวกับเหตุกำรณ์ส�ำคัญหรือเรืองรำวทีเป็น


หมุดหมำยในประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ซึงประมวลไว้ในหนังสือเล่มนียังเป็น




พืนฐำนทีต้องท�ำควำมเข้ำใจ


ค�าน�าผ้เขียน


ในการพิมพ์ครังที 2





โอกำสเขียนค�ำน�ำของ ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับกำรพิมพ์ครัง

ที 2 มำถึงเร็วกว่ำทีผู้เขียนคำดไว้ ผู้เขียนรู้สึกขอบคุณส�ำนักพิมพ์ รวมทังผู้อ่ำน





ทีเห็นคุณค่ำของหนังสือเล่มนี ยิงไปกว่ำนันเป็นโอกำสทบทวนบำงประเด็นทีอยำก




สือสำรผ่ำนหน้ำค�ำน�ำ ซึงแม้จะเขียนใหม่แต่ก็ต้องพยำยำมท�ำหน้ำทีให้ได้เหมือน



กับค�ำน�ำในกำรพิมพ์ครังแรก

ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์มักถูกตังค�ำถำมว่ำมันคืออะไร? เรียนเกียวกับ

อะไร? ค�ำถำมนีไม่ค่อยเกิดกับประวัติศำสตร์อืนๆ โดยเฉพำะประวัติศำสตร์ชำติ



นอกจำกนีเคยมีผู้บอกกล่ำวกับผู้เขียนถึง ขนบ ของกำรเรียนประวัติศำสตร์
ทีมักสอนกันว่ำ หำกจะเรียนให้ได้ดีควรเรียนรู้ภำษำเพิมเติมอีกสักภำษำ เพือจะ





ใช้ภำษำนันไปค้นคว้ำเอกสำรหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ในภำษำนันๆ
แต่จนถึงบัดนีผู้เขียนก็ยังไม่มีควำมรู้ภำษำทีสำมถึงขันทีใช้กำรได้ อย่ำงไร




ก็ตำม มีบำงแง่มุมจำกประสบกำรณ์ของผู้เขียนทีอำจโยงกลับไปตอบค�ำถำมเกียว


กับประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ข้ำงต้น

ผู้เขียนเคยเอ่ยถำมเรืองทฤษฎีบทพีทำโกรัส คนส่วนมำกซึงผ่ำนกำรเรียน

มัธยมต้นมำล้วนตอบได้ว่ำมันคือ a + b = c และรู้ว่ำเป็นควำมสัมพันธ์ของ
2
2
2
ด้ำนบนสำมเหลียมมุมฉำก ปลำยทำงของทฤษฎีบทนีส�ำหรับคนส่วนมำกในระบบ


กำรศึกษำคือ โจทย์เกียวกับควำมสูงของเสำธง ควำมสูงของตึก หรือเรขำคณิต


อืนๆ ทีใช้ควำมรู้เรืองสำมเหลียมมุมฉำก พ้นจำกนันแล้วก็ไม่ต้องไปคิดถึงมันอีก






แต่เมือผู้เขียนชีว่ำทฤษฎีบทนี้มำจำกชือของนักคณิตศำสตร์กรีก รู้หรือไม่

ว่ำเขำมีอำยุขัยอยู่ในช่วงประมำณ 500 ปีก่อนคริสตกำล แน่นอนทีคนส่วนมำก




ไม่รู้ข้อมูลนี ในกำรบรรยำยครังหนึงเมือผู้เขียนบอกอีกว่ำในสมัยของพีทำโกรัส

เขำไม่มีตัวเลขฮินดูอำรบิกใช้แบบสมัยเรำ แล้วเขำขบคิดทฤษฎีนีอย่ำงไร? และ


ทฤษฎีนีเกียวกับรำกทีสอง เขำคิดมันไดอยำงไรในยคทีชำวกรีกไมมีระบบทศนิยม









ใช้? ข้อส�ำคัญทีสุดคือในยุคสมัยของเขำใช้ภำษำกรีกโบรำณ แต่เรำในปัจจุบัน
ก�ำลัง อ่าน ควำมคิดของเขำซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลำหนึ่งทำงประวัติศำสตร์โดยที่เรำ


ไม่รู้ภำษำกรีกโบรำณเลย แล้วเรำ อ่าน สิงทีเขำคิดได้อย่ำงไร? เรำ เข้าใจ สมกำร


นันจนน�ำไปใช้ต่อได้อย่ำงไรโดยทีเรำไม่รู้จักภำษำกรีก?


ลองใช้ตัวอย่ำงในเชิงวิทยำศำสตร์บ้ำง หำกถำมคนทัวไปเกียวกับกำร
หำยใจ แทบทุกคนทีเคยเรียนมำย่อมตอบได้ว่ำ เรำหำยใจเข้ำเพือรับออกซิเจน



หำยใจออกจะปล่อยคำร์บอนไดออกไซด์ ส�ำหรับคนส่วนมำกสำมำรถรับร้และ
จดจ�ำควำมต่ำงของก๊ำซในลมหำยใจทังสองได้แล้ว โดยไม่ต้องรู้ไปถึงสมกำร


เคมี C H O +6O 6CO +6H O ซึงอธิบำยผลของปฏิกิริยำทีปล่อย

6 12 6 2 2 2

คำร์บอนไดออกไซด์และไอน�ำมำพร้อมลมหำยใจออก ผู้เขียนเองแม้จะเคยเรียน

เคมีมำบ้ำงแต่เมือพ้นจำกกำรสอบก็ไม่ได้ใช้สมกำรนีอีก

แต่ในสมกำรเคมีมีมิติทำงประวัติศำสตร์แฝงอยู่เช่นกัน สมกำรนีเกิดขึน


ไม่เร็วกว่ำศตวรรษที่ 18 ก่อนหน้ำนั้นยังไม่มี ภาษา ทำงเคมีที่เขียนควำมสัมพันธ์
ด้วยสมกำร หรือกำรก�ำหนดอะตอมและโมเลกุลต่ำงๆ ด้วยสัดส่วนทีแน่นอน กำร



ทีเรำอ่ำนสมกำรเคมีข้ำงต้นออก ในแง่หนึงเรำก�ำลังอ่ำน หลักฐาน ทำงควำมคิด




ทีก่อตัวขึนในช่วงศตวรรษที 18–19 นักเคมีชำวฝรังเศสอย่ำงลำวัวซิแอร์เริม

อธิบำยกำรเผำไหม้ด้วยกฎบำงประกำร ผู้เรียนเคมีปัจจุบันเข้ำใจสิ่งที่เขำคิดไม่ใช่
เพรำะรู้ภำษำฝรังเศสแต่เพรำะรู้ว่ำตัวอักษรต่ำงๆ ในสมกำรเคมีนันก�ำลังสือถึง



อะไร สรุปแล้ว เรำอ่ำนสำระในสมกำรได้ไม่ใช่เพรำะไวยำกรณ์ของภำษำอังกฤษ
ฝรังเศส หรือละติน แต่อ่ำนออกเพรำะสมกำรแสดงไวยำกรณ์ของกำรคิดในเชิง



วิทยำศำสตร์ทีตกทอดมำถึงสมัยหลัง นอกจำกนียังส�ำรวจย้อนไปในอดีตได้เช่น

กันว่ำ ก่อนจะถึงจุดเปลียนในศตวรรษที 18 คนทีสนใจศึกษำเรืองกำรเผำไหม้



หรือธำตุต่ำงๆ วนเวียนกับวิธีคิดแบบใด เหตุใดจึงปิดกันภำษำและไวยำกรณ์แบบ

เคมีสมัยใหม่
ทังสองตัวอย่ำงทียกมำบ่งบอกลักษณะของประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์


และหนังสือเล่มนี นันคือเป็นกำรศึกษำประวัติศำสตร์ควำมคิด ผู้อ่ำนหลำยท่ำน



อำจจะคุ้นเคยกับชือของพีทำโกรัส อริสโตเติล อไควนัส กำลิเลโอ นิวตัน
แมกซ์เวลล์ ดำร์วิน หรือไอน์สไตน์ และรู้ด้วยว่ำผลงำนชินเอกของพวกเขำคือ




อะไร (ผ้อ่ำนบำงท่ำนคงแก้สมกำรได้เก่งกว่ำผ้เขียนอย่ำงแน่นอน) แต่เชือว่ำ



น้อยคนทีจะเคยลองจับรำยชื่อเหล่ำนีกับผลงำนของพวกเขำวำงลงในมิติทำง



ประวัติศำสตร์ หรือตังค�ำถำมว่ำท�ำไมยุคสมัยหนึงๆ จึงเกิดควำมคิดแบบนี กำร
เสนอผลงำนทำงควำมคิดออกมำในแต่ละช่วงเผชิญกับอุปสรรคใด
ผู้เขียนหยิบยกทฤษฎีบทพีทำโกรัสและสมกำรกำรเผำไหม้เพือจะชีว่ำองค์


ควำมร้ทำงวิทยำศำสตร์สัมพันธ์กับอดีตและเต็มไปด้วยเรืองรำวทีมีสีสัน และเป็น




ไปได้ทีจะลองอ่ำนแง่มุมนีของวิทยำศำสตร์ด้วยควำมรู้สึกทีเป็นมิตรผ่ำนหนังสือ






เล่มนี อีกทังผู้เขียนปรับแก้บำงจุดให้เหมำะกับผู้อ่ำนทัวไปมำกยิงขึน


แม้จะเป็นกำรเขียนค�ำน�ำครังใหม่ ผู้เขียนยังอยำกขอบคุณอำจำรย์ธำวิต
สุขพำนิช และอำจำรย์สมศักดิ เจียมธีรสกุล ดังเช่นเคย ทังสองท่ำนอำจไม่ใช่


ผลผลิตของ สายวิทย์ ในสังคมไทย แต่หลำยประเด็นในหนังสือนีได้จำกทีผู้เขียน


เคยเรียนและสนทนำกับพวกท่ำน ท้ำยทีสุดขอขอบคุณส�ำนักพิมพ์ยิปซีทีเปิด



โอกำสให้เผยแพร่ผลงำนชินนีในวงกว้ำง

ศุภวิทย์ ถาวรบุตร
กุมภาพันธ์ 2563

สารบัญ







เรือง หน้ำ




บทที 1 พืนฐานแนวคิดในการศึกษาประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ 13
1.1 อำรัมภบท 13
1.2 เส้นแบ่งวิทยำศำสตร์กับเทคโนโลยี 17
1.3 วิทยำศำสตร์ในเส้นทำงประวัติศำสตร์ 21
1.4 ปรัชญำธรรมชำติกับวิทยำศำสตร์ 24



บทที 2 สารวจอารยธรรมตะวันตกโบราณ 27

2.1 มนุษย์กับธรรมชำติในสังคมบุพกำล 28
2.2 พัฒนำกำรเชิงวิทยำศำสตร์ในยุคส�ำริด 32
ก) อำรยธรรมอียิปต์ 32
ข) อำรยธรรมเมโสโปเตเมีย 34
2.3 ภำพรวมวิทยำศำสตร์ก่อนสมัยกรีก 36




บทที 3 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์สมัยคลาสสิก 39
3.1 นักปรำชญ์สมัยไอโอเนีย 40

ก) กลุ่มนักปรำชญ์ไมเลตุส 41
ข) ส�ำนักพีทำโกรัส 45
ค) กลุ่มอะตอมิสต์ 50

3.2 สองปรำชญ์แห่งเอเธนส์ 52
ก) เพลโต 52
ข) อริสโตเติล 59

3.3 สมัยเฮลเลนิสติก 66
ก) อำร์คิมีดีส 70
ข) ดำรำศำสตร์ 74

ค) กำรแพทย์ 84
3.4 ภำพรวมวิทยำศำสตร์สมัยคลำสสิก 89



บทที 4 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์สมัยกลาง 93

4.1 บริบททำงภูมิปัญญำเมือย่ำงเข้ำสมัยกลำง 93

4.2 เทคโนโลยีในสมัยกลำง 98

4.3 ลัทธิอัสสมำจำรย์ 102

4.4 กำรบันทอนเสถียรภำพในปรัชญำธรรมชำติ 112


บทที 5 การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ 123
5.1 จำรีตทำงวิทยำศำสตร์ 3 สกุล 123
ก) จำรีตชีวภำพ 124

ข) จำรีตไสยเวท 130
ค) จำรีตจักรกล 133
5.2 ผลงำนตำมแนวทำงกำรทดลอง 135
5.3 ผลงำนตำมแนวทำงคณิตศำสตร์ 150

5.4 ข้ออภิปรำยเกียวกับกำรปฏิวัติวิทยำศำสตร์ 170



บทที 6 วิทยาศาสตร์กับยุคแห่งเหตุผล 177
6.1 ควำมชอบธรรมของวิทยำศำสตร์ 178
ก) เหตุผล 178
ข) กฎธรรมชำติ 183

6.2 คณิตศำสตร์กับธรรมชำติ 186
6.3 ประชำคมวิทยำศำสตร์ 192



บทที 7 การแตกตัวขององค์ความรู้หลังศตวรรษที 17 199
7.1 ทิศทำงภำยหลังกำรปฏิวัติวิทยำศำสตร์ 201
7.2 ปริมำณและกำรวัด 209

ก) เงือนไขและควำมจ�ำเป็น 209

ข) พัฒนำกำรของระบบกำรวัด 213
7.3 เส้นสมมติ 222

7.4 ออกสู่ภำยนอก : ดำรำศำสตร์ 228
7.5 เข้ำสู่ภำยใน : ธรณีวิทยำ 233




บทที 8 การค้นพบอันยิงใหญ่แห่งยุคสมัย 245

8.1 กำรปฏิวัติทำงเคมี 247
8.2 วิทยำศำสตร์กำยภำพ 256

ก) จำกไฟฟ้ำสู่คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ำ 257
ข) จำกควำมร้อนสู่อุณหพลศำสตร์ 264
8.3 วิทยำศำสตร์ว่ำด้วยชีวิต 271

8.4 ชำร์ลส์ ดำร์วิน กับทฤษฎีวิวัฒนำกำร 280
8.5 ประดิษฐกรรมและเทคโนโลยี 290


บทที 9 วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที 20 โดยสังเขป 313


9.1 สู่พรมแดนควำมรู้ใหม่ 315
9.2 กำรด�ำรงอยู่ของวิทยำศำสตร์ในบริบทสังคม 337




บทที 10 บทส่งท้าย 347

บรรณานุกรม 359



ดัชนี 363



1



พ้นฐานแนวคิดในการศึกษา

ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร ์












1.1 อารัมภบท



ในปัจจุบันนีเรำแทบจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่ำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีเกียวข้อง


กับวิถีกำรด�ำเนินชีวิตของมนุษยชำติอย่ำงมำกมำยมหำศำล เห็นได้จำกมนุษย์



มีควำมสะดวกสบำยและมีมำตรฐำนกำรด�ำรงชีวิตทีดีขึน มีอำยุขัยเฉลียยำวนำน




ขึน มีอัตรำกำรรอดชีวิตสูงขึน สำมำรถเดินทำงไปยังทีหมำยต่ำงๆ ทัวโลกใน

เวลำอันสัน รู้จักประดิษฐ์สิงอ�ำนวยควำมสะดวก ยำนพำหนะ อุปกรณ์สือสำร



ตลอดจนเครืองมืออิเล็กทรอนิกส์ทังหลำย เพรำะควำมก้ำวหน้ำเหล่ำนี วิถีกำร


ด�ำเนินชีวิตของมนุษย์จึงแตกต่ำงกันอย่ำงมำกในแต่ละยุคสมัย อย่ำงเช่น กำร



ใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเรืองปกติธรรมดำส�ำหรับโลกในต้นศตวรรษที 21 แต่เมือ


ย้อนกลับไปเพียงครึงศตวรรษ รำวกลำงศตวรรษที 20 เครือข่ำยโทรศัพท์ยัง
อำศัยสำยโทรศัพท์เป็นหลักอยู่
แค่พิจำรณำควำมเปลียนแปลงทำงเทคโนโลยีในช่วง 50-60 ปี ยังเกิด


ช่องว่ำงระหว่ำงยุคสมัยทีดูจะทิงช่วงห่ำงกันขนำดนี หำกใช้ข้อพิจำรณำเดิมโดย



อำศัยเทคโนโลยีเป็นตัวบ่งชีระดับกำรพัฒนำของสังคมมนุษย์และย้อนกลับไป

เปรียบเทียบกับช่วงเวลำทีห่ำงจำกปัจจุบันนับศตวรรษหรือสหัสวรรษ จะยิงเห็น

ควำมเปลียนแปลงในประวัติศำสตร์อย่ำงเห็นได้ชัด จำกยุคก่อนประวัติศำสตร์




ทีมนุษย์เริมรู้จักประดิษฐ์เครืองมือจำกหิน รู้จักใช้ไฟ และสร้ำงสิงประดิษฐ์ที ่


14 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์





ส�ำคัญๆ อย่ำงล้อ หรือภำชนะดินเผำ สิงเหล่ำนันย่อมเทียบไม่ได้กับยุคสมัย



ปัจจุบันทีมนุษย์เรำไปไกลถึงขันสร้ำงโทรศัพท์มือถือทีใช้ระบบอินเทอร์เน็ต
รองรับสังคมในโลกเสมือนจริง และสำมำรถส่งผ่ำนข้อมูลของปัจเจกชนอย่ำง


รวดเร็วเช่นทีเป็นอยู่ในปัจจุบัน ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีบำงส่วนเชือมโยง
กับกำรขยำยตัวขององค์ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์ และดูจะเป็นสำเหตุหนึงให้

เกิดควำมโน้มเอียงทีจะก�ำหนดควำมหมำยของวิทยำศำสตร์ว่ำเป็น องค์ความรู้

ซึงน�าไปพัฒนาต่อยอดเป็นเทคโนโลยีได้

ประเด็นทีกล่ำวมำอำจจะยิงซับซ้อนมำกขึนเมือรวมค�ำว่ำวิทยำศำสตร์




เข้ำกับค�ำว่ำประวัติศำสตร์ กลำยเป็น ‘ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์’ (history

of science) เพรำะหำกพิจำรณำจำกปัจจัยเรืองเทคโนโลยีตำมทีกล่ำวมำ

ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์จะหมำยถึงกำรศึกษำกำรประดิษฐ์คิดค้นสิงต่ำงๆ


ตังแต่สมัยอดีตใช่หรือไม่ เช่น ศึกษำว่ำมนุษย์เริมรู้จักใช้ไฟเมือไร หลักฐำน




กำรใช้ล้อเป็นเครืองทุ่นแรงของมนุษย์เริมในสมัยใดและในแถบดินแดนใด ฯลฯ
แต่ก็อำจมีค�ำถำมตำมมำอีกว่ำหำกขอบเขตกำรศึกษำเป็นไปตำมนัน ค�ำว่ำ

ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์จะไปต่ำงอะไรกับกำรศึกษำ ‘ประวัติศำสตร์

เทคโนโลยี’ (history of technology) หรือ ‘ประวัติศำสตร์ของสิงประดิษฐ์’

(history of innovations) นอกจำกนีกำรใช้ค�ำว่ำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ควบคู่กันยังมีให้เห็นในอีกหลำยบริบท ชวนให้พำกันคล้อยตำมว่ำวิทยำศำสตร์



กับเทคโนโลยีมีควำมหมำยทีทดแทนกันและกันได้ ทังหมดนีอำจชวนให้ขบคิด
ในเบืองต้นว่ำ หำกศึกษำประวัติศำสตร์หรือพัฒนำกำรของวิทยำศำสตร์ควบคู่

ไปกับพัฒนำกำรของเทคโนโลยีนัน ควรจะต้องเชือมโยงกันอย่ำงไรบ้ำง





เมือพิจำรณำข้อเท็จจริงในอดีต มีอีกหลำยเรืองรำวทีบ่งบอกว่ำควำม

ก้ำวหน้ำของสังคมมนุษย์ไม่ได้เกิดจำกกำรประดิษฐ์เสมอไป ตังแต่อดีตกำล


มนุษย์มีควำมรู้เกียวกับควำมเปลียนแปลงของฤดูกำล มีกำรก�ำหนดปฏิทิน มี


ควำมรู้เรืองทิศ เรียนรู้ควำมผันแปรของสิงแวดล้อมอย่ำงปรำกฏกำรณ์น�ำขึน






น�ำลงซึงเกียวข้องกับกำรเพำะปลูกในเขตทีรำบลุ่มแม่น�ำ ในแง่หนึง ควำมรู้




เหล่ำนีเป็นผลจำกกำรสังเกต สังสม และถ่ำยทอดจำกรุ่นสู่รุ่น ซึงช่วยให้มนุษย์


ปรับตัวกับสภำพแวดล้อมทำงธรรมชำติได้ดีขึน เป็นควำมรู้ทีมนุษย์ได้น�ำมำใช้


History of Science 15





ประโยชน์ เช่น กำรสังเกตฤดูกำลเพือท�ำกำรเพำะปลูกหรือเก็บเกียว กำรเดิน
เรือ นำฬิกำแดด ฯลฯ ควำมรู้บำงด้ำนช่วยอ�ำนวยควำมสะดวกแต่เป็นควำมรู้



ทีไม่ต้องอำศัยสิงประดิษฐ์ใดๆ เข้ำช่วยเหลือ หรือต่อให้เป็นสิงประดิษฐ์อย่ำง

นำฬิกำแดดก็ไม่ได้มีกลไกในเชิงจักรกลอันซับซ้อน เมือมองให้กว้ำงขึน

พัฒนำกำรของวิทยำศำสตร์ควรหมำยรวมถึงควำมส�ำเร็จทีมนุษย์ท�ำควำมเข้ำใจ



เรืองรำวรอบตัวอีกจ�ำนวนมำก ไม่ใช่เฉพำะควำมส�ำเร็จทีมีเทคโนโลยีเป็น
ประจักษ์พยำนเท่ำนั้น
ด้วยบรรทัดฐำนในปัจจบัน วิทยำศำสตร์ช่วยไขข้อข้องใจให้มนษย์ใน


เรืองเกียวกับโลกธรรมชำติ (natural world) อย่ำงเช่นควำมเข้ำใจเรืองโลก



หมุนรอบตัวเองท�ำให้เกิดกลำงวันและกลำงคืน โลกโคจรรอบดวงอำทิตย์หนึง ่
รอบใช้เวลำหนึงปีหรือ 365 วัน มนุษย์หำยใจเพือรับก๊ำซออกซิเจนและปล่อย


ก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ พืชเป็นสิงมีชีวิตทีอำศัยกำรสังเครำะห์ด้วยแสงและ



คำยก๊ำซออกซิเจนให้มนุษย์ แต่ควำมรู้เหล่ำนีก็มีมิติทำงประวัติศำสตร์ เพรำะจำก

ทียกตัวอย่ำงมำ สังคมมนุษย์เพิงตระหนักถึงข้อเท็จจริงบำงข้อในระยะเวลำไม่

นำนนักเมือเทียบกับช่วงยำวนำนหลำยพันปีของอำรยธรรม เนืองจำกกำรศึกษำ



โลกธรรมชำติต้องอำศัยกำรรับรู้ด้วยประสำทสัมผัส และตลอดระยะทีผ่ำนมำ



ประสำทสัมผัสของมนุษย์นันแทบจะไม่เปลียนแปลงเลย หรือหำกเปลียนก็คง

มีในระดับทีน้อยมำก ไม่ว่ำมนุษย์สมัยโบรำณหรือมนุษย์ปัจจุบันหำกยืนมอง
แผ่นดินทีทอดยำวออกไปคงมองเห็นเหมือนๆ กันว่ำตนยืนอยู่บนพืนรำบทีแผ่




กว้ำงออกไปเป็นผืนดินอันกว้ำงใหญ่ มำกกว่ำจะบอกตนเองว่ำก�ำลังยืนอยู่ทีจุด
หนึงบนเปลือกโลกทีโค้งมน มนษย์ทังสองยคยังมองเห็นวัตถตกส่พืนโลก








มำกกว่ำจะคิดไปว่ำวัตถุก�ำลังวิงเข้ำสู่ศูนย์กลำงของโลก จึงเห็นได้ว่ำเส้นแบ่งที ่




เกิดขึนเมือมนษย์ก้ำวส่โลกสมัยใหม่คือควำมส�ำเร็จในกำรสร้ำงค�ำอธิบำย




ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติทีขัดแย้งกับสำยตำหรือประสำทสัมผัสมำกขึนเรือยๆ


แต่มนุษย์ก็ยอมรับในค�ำอธิบำยนัน แม้จะเป็นค�ำอธิบำยทีก้ำวข้ำมขีดขันควำม

รับรู้ของตัวเองก็ตำม อีกทังมนุษย์เรำยังน�ำไปสอนในระบบโรงเรียนจนเป็นเรื่อง





ปกติ สรุปง่ำยๆ ว่ำ เมือประสำทสัมผัสไม่ได้เปลียนแปลงไป สิงทีสร้ำงข้อแตกต่ำง
ระหว่ำงยุคสมัยคือวิธีหำค�ำอธิบำยและท�ำควำมเข้ำใจปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ

16 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์



เมือเรืองรำวเหล่ำนีตระหนักรู้ได้ง่ำยขึนในสังคมก็มักส่งผลให้มิติทำง






ประวัติศำสตร์ของมันถูกมองข้ำมไป เช่น เรำอำจไม่สนใจจะตังค�ำถำมเกียวกับ

อำรยธรรมโบรำณเป็นพันๆ ปี หรือไม่ทรำบว่ำเรืองโลกโคจรรอบดวงอำทิตย์


นันจะก�ำหนดเรืองระยะเวลำหนึงปีปฏิทินอย่ำงไร อำศัยเพียงสังเกตกำร




เปลียนแปลงของฤดูกำลเท่ำนันหรือไม่ ในทำงประวัติศำสตร์ ไม่ใช่เรืองง่ำยนัก
ทีจะเสนอค�ำอธิบำยใดๆ ซึงค้ำนกับสำยตำและประสำทสัมผัส กว่ำจะสถำปนำ


ควำมรู้บำงชุดอย่ำงโลกโคจรรอบดวงอำทิตย์ หรือโลหิตในร่ำงกำยมีกำรไหล
เวียนได้นัน ต้องผ่ำนกำรโค่นล้มและหักล้ำงกับกรอบควำมคิดเดิมในอดีตอย่ำง

ยำกล�ำบำก



ดังนัน กำรศึกษำกำรเปลียนโลกทัศน์ครังส�ำคัญในประวัติศำสตร์ของ

มนุษยชำติถือเป็นอีกประเด็นหนึงทีอยู่ในควำมสนใจของประวัติศำสตร์




วิทยำศำสตร์ โดยม่งท�ำควำมเข้ำใจว่ำกำรเปลียนแปลงทำงควำมคิดพวกนีมำ


จำกกำรค้นพบหรือวิธีแสวงหำค�ำตอบทีต่ำงไปจำกแนวคิดดังเดิมอย่ำงไร กำร


ยอมรับควำมคิดใหม่ๆ มีเงือนไขอะไรเกียวข้องบ้ำง เหล่ำนักคิดซึงมีประสำท

สัมผัสเหมือนกับคนทัวไปกลับรังสรรค์ทฤษฎีทีขัดแย้งกับประสำทสัมผัสและ


กำรรับรู้ของตนขึนมำได้อย่ำงไร และทีส�ำคัญทีสุดคือพัฒนำกำรขององค์ควำมรู้





ตลอดจนวิธีแสวงหำควำมจริงในประเด็นไหนบ้ำงทีนับเป็นจุดเปลียนในแวดวง
วิทยำศำสตร์


ค�ำถำมทียกมำเป็นประเด็นนีต้องกำรทีจะกระตุ้นควำมคิดและควำม


สงสัยเพือเปิดประเด็นว่ำสิงทีควรคิด ควรถำม และควรแสวงหำค�ำตอบจำก




เรืองรำวของประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์มีอะไรบ้ำง เมือขบคิดทังจำกแนวค�ำถำม






ทีผ่ำนมำและจำกข้อถกเถียงอืนๆ ทีเกียวข้อง เรำอำจตังเป็นประเด็นหลักได้ 4

ประเด็น นันก็คือ
1) วิทยำศำสตร์สัมพันธ์กับเทคโนโลยีอย่ำงไร โดยเฉพำะในมิติทำง
ประวัติศำสตร์ กำรศึกษำประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์จะมองเห็น
บทบำทของเทคโนโลยีแทรกอยู่ตรงไหนบ้ำง
2) ค�ำว่ำวิทยำศำสตร์เป็นผลผลิตในสมัยหลังแล้ว เมือศึกษำผ่ำน


พัฒนำกำรตังแต่อดีต กิจกรรมและส�ำนึกทำงควำมคิดแบบไหนบ้ำง

History of Science 17



ทีจะรวมไว้ในประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์


3) จุดเปลียนส�ำคัญในประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์อยู่ทีไหน มีประเด็น


อะไร และควรอธิบำยควำมเปลียนแปลงพวกนั้นกับผลกระทบที ่
เกิดขึนอย่ำงไร


4) แนวทำงเล่ำเรืองและตีควำมประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์มีแนวทำง
ไหนบ้ำง ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์มีกำรโต้แย้งหรือหักล้ำงในแง่


มุมนีหรือไม่
ประเด็นทีก�ำหนดไว้ถือเป็นค�ำถำมพืนฐำนเพือประกอบกำรศึกษำ




ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ ทีน่ำจะช่วยให้เข้ำใจถึงสำระส�ำคัญของประวัติ


ศำสตร์วิทยำศำสตร์ได้ดีขึน โดยภำพรวมแล้ว ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ทีจะ


น�ำเสนอในหนังสือเล่มนีต้องกำรสร้ำงควำมเข้ำใจเกียวกับทีมำขององค์ควำมรู้



และกำรคิดค้นต่ำงๆ เพือชีให้เห็นกำรปรับเปลียนกรอบวิธีคิด โลกทัศน์ รวม

ถึงมุมมองทีมนุษย์เรำมีต่อวิทยำศำสตร์ในบำงช่วงของอดีต ตลอดจนกำรรับมือ



กับปัญหำเฉพำะบำงอย่ำง ทังปัญหำทีเป็นรูปธรรมและนำมธรรม อย่ำงทีจะได้

เห็นต่อไปว่ำ กำรปรับตัวของมนุษย์ภำยใต้ก้ำวจังหวะต่ำงๆ ในประวัติศำสตร์




ช่วยน�ำพำสังคมไปสู่ภูมิปัญญำทีลึกซึงยิงขึนได้อย่ำงไรบ้ำง รวมไปถึงกำร
ตีควำมและให้ควำมหมำยกับประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ทีจะกล่ำวไว้ในช่วง

ท้ำยของหนังสือ
1.2 เส้นแบ่งวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี

แรกเริมควรจะต้องพิจำรณำนิยำมของวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ตำม

รำชบัณฑิตยสถำน (2556, น. 1120) ให้นิยำมว่ำ “วิทยำศำสตร์ (น.) ควำมรู้

ทีได้โดยกำรสังเกตและค้นคว้ำจำกปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติแล้วจัดเข้ำเป็น

ระเบียบ, วิชำทีค้นคว้ำได้หลักฐำนและเหตุผลแล้วจัดเข้ำเป็นระเบียบ” ขณะที ่
“เทคโนโลยี (น.) วิทยำกำรทีน�ำเอำควำมร้ทำงวิทยำศำสตร์มำใช้ให้เกิดประโยชน์


ในทำงปฏิบัติ อุตสำหกรรม เป็นต้น (อ.technology)” (รำชบัณฑิตยสถำน,

18 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์



2556, น. 580)
หำกเปรียบเทียบค�ำว่ำวิทยำศำสตร์กับนิยำมจำกแหล่งอืนๆ เช่น กำรนิยำม

ค�ำว่ำ Science หมำยถึง “The observation, identif ication, description,

experimental investigation, and theoretical explanation of
phenomena.” (Houghton Mifflin Company, 1993, p. 1221) เรำจะเห็น


ถึงจุดทีสอดคล้องกันว่ำลักษณะของวิทยำศำสตร์ต้องมีพืนฐำนจำกกำรสังเกต
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ หลังจำกผ่ำนกำรสังเกตแล้วจึงมีกระบวนกำรสร้ำง


ควำมรู้ทำงทฤษฎีขึนมำ ซึงอำจจะรวมถึงกำรสังเกตจำกกำรทดลองด้วย


ส่วนค�ำว่ำเทคโนโลยีนัน แม้จะดูเหมือนว่ำมีจุดเน้นทีกำรประยุกต์ใช้งำน
ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์ แต่หำกเทียบกับนิยำมจำกแหล่งอืนจะพบควำมน่ำ


สนใจมำกขึน เพรำะมีกำรนิยำม Technology ว่ำหมำยถึง “The application
of science, esp. to industrial or commercial objectives. / Anthro.
The body of knowledge available to a civilization that is of use

in fashioning implements, practicing manual arts and skills, and
extracting or collecting materials.” (Houghton Mifflin Company,

1993, p. 1393) โดยทัวไปในปัจจุบันมักเข้ำใจว่ำ เทคโนโลยีเป็นกำรประยุกต์



ใช้งำนควำมร้ทำงวิทยำศำสตร์ โดยเฉพำะต้องประยกต์ใช้ให้เห็นผลลัพธ์ในทำง

อุตสำหกรรมหรือเชิงพำณิชย์ แต่นิยำมทำงมำนุษยวิทยำน่ำสนใจตรงทีนิยำม



เทคโนโลยีให้หมำยถึงองค์ควำมร้ทีอำรยธรรมหนึงๆ ได้มำแล้วน�ำไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ รวมถึงกำรเพิมพูนทักษะและงำนศิลปะ กำรสกัดหรือรวบรวม

วัสดุด้วย
ดังนัน ในบริบทของกำรศึกษำอดีต ค�ำว่ำเทคโนโลยีจึงควรจะใช้โดย

กินควำมหมำยให้กว้ำง เพรำะในประวัติศำสตร์อำรยธรรมของมนุษย์ กำรรู้จัก
ใช้ไฟ กำรสร้ำงเครืองมือจำกหิน กำรหลอมเหล็ก กำรท�ำภำชนะดินเผำ กำรสกัด


สีจำกธรรมชำติเพือเขียนลำยบนภำชนะ กำรย้อมผ้ำ เครืองทอผ้ำ กำรรู้จักใช้

สมุนไพรท�ำยำ ฯลฯ ล้วนสะท้อนควำมก้ำวหน้ำเชิงเทคโนโลยีของมนุษย์ตังแต่



อดีต ด้วยนัยนี กำรเล่ำประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ในบำงครังจึงมีกำรเสนอให้

มองพัฒนำกำรทีแยกจำกกันระหว่ำง จารีตสายเทคนิค (technical tradition)

History of Science 19



กับจารีตจิตวิญญาณ (spiritual tradition) (Mason, 1962, p. 11)
เนืองจำกประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์สนใจพัฒนำกำรทำงควำมคิดเป็น



ส�ำคัญ โดยเฉพำะเมือมนุษย์พยำยำมหำค�ำตอบเกียวกับธรรมชำติ จึงหลีกเลียง



ไม่ได้ทีหนังสือเล่มนีจะถือว่ำพัฒนำกำรของเทคโนโลยีเป็นเรืองรองลงไป เพรำะ

กำรใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยีในหลำยโอกำสมิได้สะท้อนควำมคิดลุ่มลึกใน

เชิงวิทยำศำสตร์แต่อย่ำงใด ยกตัวอย่ำงเช่น มนุษย์รู้จักใช้ไฟเพือให้ควำมร้อน
ให้แสงสว่ำง หรือปรุงอำหำร ก่อนที่มนุษย์จะรู้ว่ำไฟคืออะไร ซึงปัจจุบันในทำง

เคมีได้แบ่งแยกสสำรออกเป็นสำมสถำนะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊ำซ แต่

ไฟไม่เข้ำข่ำยทังสำมกรณีจึงระบุว่ำไฟเป็นสสำรประเภทพลำสมำ (plasma) หรือ
มนุษย์รู้จักปรำกฏกำรณ์ไฟฟ้ำและประยุกต์ใช้ก่อนจะรู้จักอิเล็กตรอน (electron)
ข้อสังเกตจำกตัวอย่ำงข้ำงต้นก็คือ มนุษย์สำมำรถใช้งำนเทคโนโลยีก่อน



ทีจะสถำปนำควำมรู้เชิงทฤษฎีทำงวิทยำศำสตร์ ตัวอย่ำงเพิมเติมทีน�ำมำจำก
ประวัติศำสตร์ล้วนครอบคลุมข้อเท็จจริงดังกล่ำว เช่น มนุษย์ท�ำปฏิทินขึนใช้

และนับเดือนปีได้ทังๆ ทียังเชือว่ำโลกเป็นศูนย์กลำงของจักรวำล มนุษย์รู้จัก



หลอมโลหะมำใช้งำน ไม่ว่ำจะเป็นเหล็ก ทองแดง หรือส�ำริด โดยไม่มีทฤษฎี
เกียวกับโลหะเหล่ำนีหรือตำรำงธำตุ มนุษย์ยกย่องทองค�ำเป็นโลหะมีค่ำเพรำะ


ทองค�ำไม่เป็นสนิม โดยไม่มีทฤษฎีมำรองรับว่ำเพรำะอะไรโมเลกุลของทองค�ำ
จึงท�ำปฏิกิริยำกับออกซิเจนในอำกำศยำกกว่ำโลหะอืนๆ มนุษย์ท�ำภำชนะ


ดินเผำได้โดยไม่ต้องอำศัยทฤษฎีมำรองรับว่ำกำรเผำดินเผำไปเปลียนแปลง
โครงสร้ำงของดินได้อย่ำงไร ตัวอย่ำงเหล่ำนีล้วนแสดงให้เห็นว่ำ กำรใช้


ประโยชน์จำกเทคโนโลยีตำมแนวทำงทีต้องกำรไม่จ�ำเป็นต้องมีควำมรู้เชิง

ทฤษฎีวิทยำศำสตร์ด้วยซ�ำไป ในหลำยกรณีทีกล่ำวมำ กำรปรับปรุงใช้งำนได้

ส�ำเร็จบำงอย่ำงก็ไม่ได้สะท้อนควำมลุ่มลึกในองค์ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์อยู่ดี


สิงนีเป็นเหตุผลของค�ำถำมทีว่ำ เพรำะอะไรถึงมีข้อเสนอให้จ�ำแนก จารีต


ช่างฝีมือ (craft tradition) หรือจารีตสายเทคนิคทีแฝงอยู่ในประวัติศำสตร์
วิทยำศำสตร์ออกมำให้ชัดเจน เพรำะถึงแม้กิจกรรมเชิงช่ำงจะสะท้อนควำม

ก้ำวหน้ำของอำรยธรรมมนุษย์ก็จริง แต่ส่วนหนึงในกิจกรรมนีก็ไม่เข้ำถึงนิยำม

ควำมเป็นวิทยำศำสตร์ เพรำะไม่ได้สะท้อนถึงควำมสงสัยใคร่รู้ (curiosity) ที ่

20 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์




จะศึกษำควำมรู้เชิงทฤษฎีลึกซึงลงไป จำรีตช่ำงฝีมือสำมำรถยกระดับฝีมือให้




สูงขึนได้เรือยๆ จำกภำชนะดินเผำก็เพิมกำรเขียนลำย เพิมกำรเคลือบภำชนะ
โดยสังสมเทคนิคว่ำต้องใช้สำรอะไรมำผสมเป็นสีเขียนลำยจึงจะติดกับภำชนะ


ได้ทนทำน ใช้สำรอะไรมำท�ำน�ำยำเคลือบ แม้กระบวนกำรเหล่ำนี้ปฏิเสธไม่ได้
ว่ำช่วยเสริมควำมรู้เชิงทฤษฎีได้ในทำงอ้อม อย่ำงเช่นคนรุ่นหลังๆ อำจจะใช้


เป็นข้อมูลประกอบเมือวิเครำะห์สำรเหล่ำนันในทำงเคมี แต่กำรมุ่งใช้งำนใน

ลักษณะดังกล่ำวบดบังควำมสนใจในทำงทฤษฎี เทียบกับปัจจุบันทีเรำไม่ถือว่ำ
ช่ำงไฟฟ้ำเป็นนักวิทยำศำสตร์ แม้ว่ำช่ำงไฟฟ้ำจะเดินไฟได้เก่งแค่ไหน สำมำรถ
รู้กลไกทังหมดว่ำสวิตช์ท�ำงำนอย่ำงไร สะพำนไฟท�ำงำนอย่ำงไร ฟิวส์ท�ำงำน

อย่ำงไร รู้ว่ำทองแดงน�ำไฟฟ้ำได้ดีโดยไม่จ�ำเป็นต้องรู้ว่ำโครงสร้ำงอะตอมของ
ทองแดงเป็นอย่ำงไรและเพรำะอะไรถึงน�ำไฟฟ้ำได้ดี ในภำพรวม ควำมรู้ในฝ่ำย
ปฏิบัติจะทิงช่องว่ำงจำกส่วนทีเป็นทฤษฎี และพืนฐำนกำรท�ำงำนในเชิงช่ำงจะ






ตังค�ำถำมทีแตกต่ำงจำกเป้ำหมำยทีสำยทฤษฎีก�ำหนด
กำรใช้ค�ำว่ำจารีตจิตวิญญาณกับกำรศึกษำโลกธรรมชำติในอดีตไม่ได้
หมำยถึงกำรศึกษำในเรืองภูตผี หำกแต่ลักษณะเฉพำะของกำรศึกษำธรรมชำติ

ในอดีตมักจะอำศัยบุคลำธิษฐำน หมำยควำมว่ำมนุษย์เรำมองธรรมชำติว่ำมี
เจตนำของตน ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติจึงด�ำเนินไปในลักษณะใดลักษณะหนึง


ภำยใต้โลกทัศน์แบบนี กำรศึกษำปรัชญำธรรมชำติในแง่หนึงคือกำรค้นหำและ

ท�ำควำมเข้ำใจวิญญาณ (spirit) ทีแฝงอย่ในธรรมชำติและมีส่วนก�ำกับ


ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติ แม้มนุษย์รู้ว่ำตนเองไม่มีอ�ำนำจใดๆ จะควบคุม

ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติซึงมีพลังมำกกว่ำ แต่สำมำรถศึกษำควำมเป็นไปหรือ


ตอบตนเองได้ว่ำเพรำะอะไรธรรมชำติถึงแสดงออกแบบนัน ลักษณะนีปรำกฏ

ชัดในสังคมก่อนยุคสมัยใหม่ซึงศึกษำธรรมชำติอย่ำงมีข้อจ�ำกัด และต้องอำศัย


สิงเหนือธรรมชำติ (supernatural) ที่สร้ำงขึนตำมจินตนำกำรมำช่วยอธิบำย
ธรรมชำติ

กล่ำวโดยสรุป หนังสือเล่มนีเห็นว่ำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมีจดร่วม

กันคือเป็นกิจกรรมทีเกียวกับกำรสร้ำงสรรค์องค์ควำมร้ของมนษย์ ส่วนสิงที ่





แตกต่ำงกันคือ วิทยำศำสตร์ใช้ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติเป็นรำกฐำนและสนใจ

History of Science 21




สร้ำงค�ำอธิบำยเชิงทฤษฎีต่อปรำกฏกำรณ์นันๆ ควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์จึงมุ่งหมำย


จะสร้ำงกรอบคิดทีสำมำรถอธิบำยโลกและท�ำให้มนษย์นันเข้ำใจธรรมชำติ



รอบตัวมำกขึน ส่วนเทคโนโลยีเป็นกำรสร้ำงผลงำนทีใช้งำนได้เป็นรูปธรรมและ


มักจะเกียวข้องกับวัตถุหรือผลงำนสร้ำงสรรค์ทีจับต้องได้มำกกว่ำกำรเสนอ
ทฤษฎีในเชิงนำมธรรม ควำมรู้ทำงเทคโนโลยีจึงมักจะได้จำกกำรลงมือปฏิบัติ


สังสม และถ่ำยทอดผ่ำนกำรใช้งำน เพรำะเหตุนีควำมส�ำเร็จในกำรศึกษำ

วิทยำศำสตร์จึงให้น�ำหนักกับกำรอธิบำยปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติเป็นหลัก ขณะ

เดียวกันก็ไม่ละเลยเทคโนโลยีและกำรประยุกต์ใช้งำนในกรณีทีส�ำคัญ

1.3 วิทยาศาสตร์ในเส้นทางประวัติศาสตร์



ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์พูดถึงกำรแสวงหำควำมรู้เกียวกับธรรมชำติ สังเกต


ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติแล้วใช้กระบวนกำรคิดอย่ำงเป็นระบบเพือสร้ำงค�ำ


อธิบำยปรำกฏกำรณ์นันๆ กำรแสวงหำค�ำตอบนีมีพัฒนำกำรเปลียนแปลงไป


ตำมยุคสมัยทำงประวัติศำสตร์ โดยหลักกำรแล้วต้องทังน�ำเงือนไขและบริบท

ทีแตกต่ำงในแต่ละช่วงเวลำมำพิจำรณำร่วมกับแนวคิดทำงวิทยำศำสตร์ด้วย


เพรำะต้องมองว่ำแนวควำมคิดเป็นผลผลิตของสังคม ไม่ใช่เป็นสิงทีด�ำรงอยู่

อย่ำงอิสระจำกบริบททำงประวัติศำสตร์
เพรำะแบบนีเรำควรต้องมองอดีตโดยเข้ำใจทีทำงของจุดยืนแวดล้อม



ต่ำงๆ ก่อน ต้องตระหนักว่ำส�ำนึกทำงควำมคิดทีเกิดขึนในอดีตต่ำงยุคสมัย

มีกรอบคิดทำงวิทยำศำสตร์มำเกียวข้องอย่ำงไร ควำมคิดทีใกล้เคียงกับ


วิทยำศำสตร์ในอดีตบำงช่วงเหมือนหรือต่ำงจำกควำมเข้ำใจชุดปัจจุบันอย่ำงไร
วิธีค้นหำค�ำตอบทำงวิทยำศำสตร์ในบำงยุคสมัยมีจุดยืนอย่ำงไร กิจกรรม

ลักษณะใดบ้ำงทีปรำกฏขึนแล้วพอจะน�ำมำเทียบเคียงได้กับวิทยำศำสตร์ตำม

ควำมเข้ำใจปัจจบัน พูดง่ำยๆ คือประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ท�ำควำมเข้ำใจ

มนุษย์จำกพืนฐำนทีว่ำมนุษย์ในอดีตเข้ำใจวิทยำศำสตร์น้อยกว่ำโลกปัจจุบัน



แต่ส�ำนึกในกำรตังค�ำถำมต่อธรรมชำติและกำรแสวงหำค�ำตอบสำมำรถน�ำมำ

22 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์




เปรียบเทียบเพือสะท้อนพัฒนำกำรและบริบททำงควำมคิดได้

กำรพยำยำมอธิบำยโลก อธิบำยธรรมชำติในอดีตนันอำจส�ำเร็จบ้ำงไม่

ส�ำเร็จบ้ำง ตัวอย่ำงควำมพยำยำมเหล่ำนีพบเห็นได้ตลอดเนือหำของหนังสือ




เล่มนี บำงแนวคิดในอดีตเคยอธิบำยว่ำ เหนือขึนไปบนท้องฟ้ำนันยังมีแผ่นน�ำ ้
อยู่ด้วย ซึงปัจจุบันข้อเสนอดังกล่ำวเป็นเรืองทีผิดอย่ำงสินเชิง แต่ในทำง




ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์อำจถือว่ำมันบ่งบอกส�ำนึกทำงวิทยำศำสตร์ได้
เพรำะองค์ประกอบของค�ำอธิบำยได้มำจำกกำรสังเกตว่ำในธรรมชำติมีฝนตก




ในธรรมชำติน�ำไหลจำกทีสูงสู่ทีต�ำ ดังนัน ข้อสรุปทีสมเหตุสมผลทีสุดคือจะ





ต้องมีผืนน�ำอยู่เหนือขึนไปแม้มนุษย์จะมองไม่เห็น ไม่เช่นนันแล้วน�ำจำกบน




ท้องฟ้ำจะมำจำกทีไหน กำรหำค�ำตอบเกียวกับโลกธรรมชำตินับแต่อดีตแม้จะ
มีควำมผิดพลำดปรำกฏให้เห็นอยู่ตลอด แต่ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ต้องกำร

ท�ำควำมเข้ำใจพัฒนำกำรเหล่ำนัน
ในแง่นี้ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์มีฐำนะเป็นกำรศึกษำประวัติศำสตร์
ควำมคิด (history of thoughts) หรือประวัติศำสตร์ภูมิปัญญำ (intellec-
tual history) โดยเน้นศึกษำกรอบควำมคิดในอดีตทีเทียบเคียงได้กับ



วิทยำศำสตร์ หรือแนวคิดและกิจกรรมของมนษย์ทีสะท้อนส�ำนึกทำง


วิทยำศำสตร์ตำมทีเคยปรำกฏในอดีต อำจมีแง่มุมทีเกียวกับเทคโนโลยีหรือ

กิจกรรมในฝั่งจำรีตช่ำงฝีมือร่วมด้วยอยู่บ้ำง เพรำะบำงกรณีกิจกรรมในกลุ่ม
หลังช่วยให้วินิจฉัยกำรเติบโตทำงควำมคิดของสังคมมนุษย์ได้รอบด้ำนมำกขึน



ทังวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีไม่ได้เกิดขึนอย่ำงเลือนลอยหำกแต่มีปฏิสัมพันธ์



กับสถำบันทำงสังคม กำรอธิบำยผ่ำนควำมสัมพันธ์นีจะช่วยให้เข้ำใจเกียวกับ


อดีตครอบคลุมมิติทีกว้ำงขวำงของสังคมมนุษย์มำกขึน


หัวใจของประวัติศำสตร์คือกำรศึกษำเรืองรำวทีเกิดขึนในอดีต ค้นหำ

ควำมจริง และน�ำมำเรียบเรียงใหม่ให้สอดคล้องกับควำมเป็นจริงในอดีตให้



เทียงตรงทีสุดเท่ำทีจะท�ำได้ กระบวนกำรเหล่ำนีสำมำรถตังค�ำถำมได้มำกมำย


โดยเฉพำะนักประวัติศำสตร์จะต้องพบค�ำถำมในเชิงปรัชญำประวัติศำสตร์
(philosophy of history) ว่ำ กำรศึกษำอดีตโดยปรำศจำกอคติท�ำได้จริงหรือไม่
หรือกำรเขียนงำนทำงประวัติศำสตร์จะบรรยำยให้ตรงกับเหตุกำรณ์ในอดีต

History of Science 23



อย่ำงครบถ้วนได้อย่ำงไร
กรณีของประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ก็ประสบปัญหำที่คล้ำยกัน เรำอำจ

ตังค�ำถำมได้เหมือนกันว่ำเรืองเล่ำ (narrative) ของประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์



สำมำรถบอกเล่ำได้กีแนวทำง และแนวทำงไหนทีช่วยให้เข้ำถึงควำมจริงในอดีต



ได้แม่นย�ำทีสุด จะตัดสินได้อย่ำงไรว่ำกำรเล่ำเรื่องแบบใดทีถูกต้องกว่ำแบบอืน


ผู้เขียนบำงรำยทีเขียนงำนเกียวกับประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์เลือกเล่ำเฉพำะ

กำรทดลองทีส�ำคัญและส�ำเร็จ หรือไม่ก็บอกเล่ำผ่ำนกำรค้นคว้ำของนัก
วิทยำศำสตร์หรือนักประดิษฐ์เท่ำนัน เหมือนกับว่ำกิจกรรมทำงวิทยำศำสตร์




เกิดขึนโดยไม่มีบริบท วิทยำศำสตร์เป็นเรืองของปัจเจกชน เป็นเรืองในห้อง

ทดลองซึงตัดขำดออกจำกสังคมภำยนอก จนก่อให้เกิดค�ำถำมว่ำมันเป็นกำร
บอกเล่ำประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ทีสมบูรณ์จริงหรือ เพรำะเรืองเล่ำลักษณะ




นันอำจไม่ช่วยให้เข้ำใจบริบทและสภำพแวดล้อมทำงประวัติศำสตร์ทีส่งผลต่อ



วิทยำศำสตร์ได้เลย มิหน�ำซ�ำวิธีเล่ำเรืองแบบนีอำจส่งผลให้อดีตของวิทยำศำสตร์
มีแนวโน้มจะถูกกลืนด้วยประวัติส่วนบุคคลของเหล่ำนักวิทยำศำสตร์

หนังสือเล่มนีตระหนักถึงควำมซับซ้อนของเรืองเล่ำและทรำบดีว่ำ


ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ประสบพบเจอกับปัญหำนีไม่น้อยไปกว่ำกำรศึกษำ


ประวัติศำสตร์แขนงอืนๆ แต่วัตถุประสงค์หลักของหนังสือเล่มนีคือกำรเล่ำ
พัฒนำกำรของวิทยำศำสตร์ผ่ำนกำรคัดสรรข้อมูลและเรียบเรียงในแนวทำงที ่
ช่วยให้ผู้อ่ำนเห็นภำพรวมควำมเป็นมำของวิทยำศำสตร์นับแต่อดีตและเข้ำใจ
จุดเปลียนทีส�ำคัญ กำรน�ำเสนอเนือหำให้น�ำหนักกับควำมส�ำเร็จในระดับบุคคล





ในบำงกรณี แต่จะไม่ละเลยบริบทภำยนอกและกำรโยงให้เห็นแง่มุมทีผลงำน


ควำมคิดทำงวิทยำศำสตร์ไปเชือมโยงกับสังคมในอดีต ถึงแม้จะเป็นหนึงในกำร
บอกเล่ำประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ตำมประวัติศำสตร์กระแสหลัก แต่ควำม
เข้ำใจทีได้จำกหนังสือเล่มนีจะเป็นรำกฐำนให้ผู้อ่ำนน�ำไปศึกษำข้อถกเถียง



(debate) และกำรตีควำมเกียวกับประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ในระดับสูงขึน

ไปได้

24 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์



1.4 ปรัชญาธรรมชาติกับวิทยาศาสตร์



ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์ยอมรับว่ำส�ำนึกทำงควำมคิดแบบวิทยำศำสตร์เคย


เกิดขึนในอดีตและเกิดก่อนทีมนุษย์จะร้จักวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ (scientif ic

method) เสียอีก มนุษย์สงสัยว่ำเพรำะอะไรฝนจึงตก น�ำไปสู่กำรตังสมมติฐำน

กำรสังเกต และสร้ำงค�ำอธิบำยทำงทฤษฎี อำจเห็นแล้วว่ำกำรเสนอทฤษฎีชุด


หนึงๆ โดยปรำศจำกวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์น�ำไปสู่ควำมมืดบอดในบำงครัง



แม้แต่นักปรำชญ์ทีมีชือเสียงในอดีตหลำยคนก็สร้ำงค�ำอธิบำยทีฟังดูไม่สมเหต ุ
สมผลมำแล้วนักต่อนัก
แต่เรำไม่สำมำรถตัดสินควำมผิดพลำดเหล่ำนันว่ำเป็นสิงไร้ค่ำ เพรำะ



ทฤษฎีวิทยำศำสตร์ทีผิดพลำดก็มีคุณค่ำทำงประวัติศำสตร์ได้ โดยช่วยสะท้อน
กิจกรรมของมนุษย์ในอดีต กำรพยำยำมก�ำหนดกรอบทฤษฎีเพืออธิบำย

ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติบ่งบอกว่ำมนุษย์ในอดีตแต่ละสมัยรู้จักตังค�ำถำมและ



คิดค�ำตอบโดยหำเหตุผลมำรองรับ กิจกรรมซึงต้องตังค�ำถำม สังเกต และหำ


ค�ำตอบอย่ำงมีเหตุผลนีแทบไม่แตกต่ำงจำกทีวิทยำศำสตร์สมัยใหม่ (modern

science) ท�ำ ข้อแตกต่ำงคือโลกสมัยใหม่มีรำกฐำนควำมรู้ที่ลึกซึงเป็นระบบ



และมีเครืองไม้เครืองมือทีล�ำหน้ำกว่ำ

วิธีค้นหำและยืนยันควำมถูกต้องของทฤษฎีถูกใช้เป็นเส้นแบ่งระหว่ำง
วิทยำศำสตร์สมัยใหม่กับวิทยำศำสตร์ในอดีต ตำมข้อเท็จจริงทำงประวัติศำสตร์
ก่อนทีค�ำว่ำวิทยำศำสตร์จะใช้อย่ำงแพร่หลำยขึนในศตวรรษที่ 19 กำรศึกษำ


ทำงวิทยำศำสตร์ถูกรวมไว้ในควำมรู้สำขำทีเรียกว่ำปรัชญาธรรมชาติ (natural

philosophy) ดังนัน ในงำนเขียนประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์จะพบค�ำว่ำปรัชญำ

ธรรมชำติอยู่เสมอ โดยเฉพำะก่อนกำรปฏิวัติวิทยำศำสตร์ (Scientif ic
revolution)


เพือให้ชัดเจนยิงขึน อำจจะพิจำรณำนิยำมของค�ำว่ำปรัชญำธรรมชำติ

ซึงระบุว่ำ ปรัชญำธรรมชำติ หมำยถึง “The study of nature and the

physical universe” (Houghton Miff lin Company, 1993, p. 909) จุด
หนึงทีสังเกตเห็นได้คือ ปรัชญำธรรมชำติสนใจศึกษำธรรมชำติและโลกทำง



History of Science 25




กำยภำพ ใกล้เคียงกับวิทยำศำสตร์ทีมักจะสงสัยในปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติจน

น�ำไปสู่กำรเสนอทฤษฎี แต่นิยำมของปรัชญำธรรมชำติไม่ได้เน้นทีกระบวนกำร



สังเกตและทดลองมำกเท่ำกับนิยำมของวิทยำศำสตร์ สิงนีตอกย�ำข้อแตกต่ำง
ระหว่ำงค�ำทังสอง โดยเฉพำะปรัชญำธรรมชำติให้น�ำหนักกับเป้ำหมำย (ศึกษำ



ควำมจริงทำงธรรมชำติ) มำกกว่ำวิธีกำร และถือเป็นทียอมรับกันในสมัยหลัง
ด้วยว่ำวิธีการทางวิทยาศาสตร์คือเส้นแบ่งวิทยำศำสตร์ออกจำกปรัชญำ
ธรรมชำติอย่ำงแท้จริง


ปรัชญำธรรมชำติยังมีข้อจ�ำกัดอีกประกำรหนึง เนืองจำกปรัชญำ

ธรรมชำติมุ่งอธิบำยควำมจริงทีอยู่เบืองหลังปรำกฏกำรณ์ทำงกำยภำพใน

ธรรมชำติ แต่ในช่วงก่อนสมัยใหม่ สังคมมนุษย์เกือบทังหมดผูกโยงเบืองหลัง



ของธรรมชำติเข้ำกับศรัทธำและควำมเชือ หรือไม่ก็โยงเข้ำกับศำสนำ หลำยกรณี
จึงพบว่ำกำรอธิบำยควำมจริงทีอยู่เบืองหลังปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติได้น�ำเอำ


ศำสนำมำใช้ประกอบอยู่เสมอ ส�ำหรับช่วงยุคสมัยอำรยธรรมโบรำณ ค�ำอธิบำย

พืนฐำนเกียวกับธรรมชำติถูกเชือมโยงกับเทพเจ้ำเป็นส�ำคัญ ศำสนำสมัยโบรำณ




ซึงแสดงออกด้วยรูปแบบเทวนิยมไม่เพียงมีหน้ำทีทำงสังคมในกำรก�ำหนดลัทธิ
ควำมเชือหรือศีลธรรมเท่ำนัน แต่จะพบว่ำศำสนำอำจมีส่วนก�ำหนดกรอบกำร


อธิบำยเกี่ยวกับธรรมชำติได้ด้วย หรือตัวอย่ำงโลกตะวันตกในยุคกลำงซึง ่
ศำสนำคริสต์ขึ้นมำเป็นศำสนำหลักและสถำปนำรูปแบบค�ำสอนให้เหนือกว่ำ
ศำสนำแบบเทวนิยมเดิม ปรัชญำธรรมชำติภำยใต้ศำสนำคริสต์ก็มีควำมลุ่มลึก
ขึนด้วย โดยเฉพำะกำรวำงต�ำแหน่งของพระเจ้ำให้สัมพันธ์กับโลกทำงกำยภำพ

ซึงรำยละเอียดในข้อนีจะได้ขยำยควำมให้เห็นต่อไป




ช่วงหนึ่งของประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์จึงหลีกเลียงไม่ได้ทีจะต้อง

ศึกษำแนวคิดทำงปรัชญำธรรมชำติ เพือศึกษำท่ำทีของมนุษย์ในอดีตทีเข้ำใจ

ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติภำยใต้อิทธิพลจำกสภำพแวดล้อมทำงประวัติศำสตร์
กล่ำวได้ว่ำสิงทีด�ำเนินมำในอดีตจนถึงช่วงก่อนกำรปฏิวัติวิทยำศำสตร์ยังคง


ปรำกฏร่องรอยกำรน�ำศรัทธำ ควำมเชือ และกรอบคิดทีอิงกับศำสนำมำร่วม


อธิบำยปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ เพรำะในสมัยโบรำณ ศำสนำมีอิทธิพลและช่วย


ชดเชยควำมไม่รู้ของมนษย์ แต่เมือกำรปฏิวัติวิทยำศำสตร์ลดทอนพลังกำร

26 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์





อธิบำยของฝ่ำยศำสนำลง นันเป็นอีกบริบททีจะต้องกล่ำวถึงเช่นกัน สรุปแล้ว
ก็คือ ปรัชญำธรรมชำติเป็นสำขำควำมรู้ในอดีตทีใกล้เคียงกับวิทยำศำสตร์แม้

จะไม่สำมำรถเทียบเคียงองค์ประกอบให้เหมือนกันได้ครบทุกด้ำน

2


สารวจอารยธรรมตะวันตกโบราณ


















สังคมมนุษย์ก่อตัวตังแต่ยุคหิน (Stone age) ซึงมีระยะเวลำยำวนำนประมำณ

2 ล้ำน 5 แสนปีและสินสุดลงประมำณช่วง 4000 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ในยุคหิน

นัน มนุษย์ยังเป็นชนเผ่ำเร่ร่อน ด�ำรงชีพด้วยกำรล่ำและเก็บของป่ำ มีกำรแบ่งยุค

หินออกเป็นสองช่วงย่อยคือยุคหินเก่ำ (Paleolithic) กับยุคหินใหม่ (Neolithic)
โดยใช้ช่วงเวลำประมำณ 10,000 ปีก่อนคริสต์ศักรำชเป็นเส้นแบ่ง แม้ว่ำมนุษย์



ในยุคหินจะใช้หินเป็นวัสดุหลักเพือประดิษฐ์สร้ำงเครืองมือเครืองใช้ต่ำงๆ แต่



เมือถึงยุคหินใหม่ กำรเพำะปลูกได้เข้ำมำแทนทีกำรยังชีพด้วยกำรล่ำแบบเร่ร่อน

มนุษย์เริมลงหลักปักฐำนสร้ำงทีอยู่อำศัยถำวรควบคู่ไปกับกำรผันตัวเป็นสังคม

เกษตรกรรม ควำมเปลียนแปลงนีถือเป็นกำรปฏิวัติครังส�ำคัญครังหนึงแม้ว่ำ







เครืองมือทีใช้ยังคงเป็นเครืองมือท�ำจำกหินซึงไม่ต่ำงไปจำกยุคหินเก่ำมำกนัก




เมือมนุษย์เริมอำศัยในถินฐำนทีแน่นอน สังคมจึงขยำยตัวมำกขึนและ



มีควำมซับซ้อนขึนจนพัฒนำเป็นอำรยธรรมเมือง (urban civilization) ในช่วง


เวลำประมำณ 3000 ปีก่อนคริสต์ศักรำช อำรยธรรมเมืองขนำดใหญ่ทีมีควำม
รุ่งเรืองและมักถือเป็นรำกเหง้ำของอำรยธรรมตะวันตกได้ถือก�ำเนิดขึน นันคือ


อำรยธรรมเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) ในตะวันออกกลำง และอำรยธรรม

อียิปต์ (Egypt) ลุ่มแม่น�ำไนล์ในทวีปแอฟริกำ ทั้งนี้ควำมก้ำวหน้ำของแนวคิด
ปรัชญำธรรมชำติรวมถึงจำรีตช่ำงฝีมือในอำรยธรรมทั้งสองมีพัฒนำกำรที่ล�้ำหน้ำ
สังคมบุพกำลอย่ำงเห็นได้ชัด

28 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์



2.1 มนุษย์กับธรรมชาติในสังคมบุพกาล




อย่ำงทีได้กล่ำวไว้ว่ำในโลกก่อนสมัยใหม่ยังไม่มีกิจกรรมทีสำมำรถนิยำมว่ำเป็น


วิทยำศำสตร์ได้อย่ำงสมบูรณ์ตำมนิยำมปัจจุบัน เมือมองจำกมำตรฐำนของโลก
สมัยใหม่ กิจกรรมหลำยอย่ำงจึงดูเหมือนกิจกรรมทำงศำสนำ จิตวิญญำณ หรือ
เป็นไสยศำสตร์ กำรประเมินอดีตในเรืองนีอย่ำงเหมำะสมต้องตีควำมว่ำ บำง


กิจกรรมมีข้อคล้ำยคลึงกับวิทยำศำสตร์ตรงทีพยำยำมเข้ำใจปรำกฏกำรณ์


ธรรมชำติว่ำมีปัจจัยใดควบคุมหรือก�ำกับอยู่เบืองหลัง หำกท�ำควำมเข้ำใจได้ก็

จะคลีคลำยปัญหำทีเกียวข้องกับธรรมชำติได้




วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีต่ำงมีส่วนผลักดันอำรยธรรมมนษย์ตังแต่

เริมต้น กำรสร้ำงสังคมทียังชีพด้วยเกษตรกรรมหมำยถึงกำรขยำยกิจกรรมเชิง

วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีไปสู่วิถีชีวิต ในแง่เทคโนโลยี มนุษย์ต้องพัฒนำ

เครืองมือกำรล่ำ กำรเกษตร และเทคโนโลยีกำรจัดกำรน�ำ เช่นอำรยธรรมลุ่ม






แม่น�ำต่ำงๆ ซึงมักเริมต้นจำกกำรเพำะปลกบริเวณดินดอนสำมเหลียมปำกแม่น�ำ ้

ทีมีควำมอุดมสมบูรณ์สูง แต่กำรใช้ประโยชน์จำกธรรมชำติในเรืองนีมำพร้อม


กับกำรสร้ำงระบบชลประทำน กำรระบำยน�ำเมือน�ำขึน จำกเครืองมือทีเคยใช้






ล่ำสัตว์แบบเร่ร่อนต้องเพิมเติมด้วยเครืองมือเกษตรและภำชนะซึงใช้งำนกับ



วิถีชีวิตแบบลงหลักปักฐำน
ส่วนในด้ำนวิทยำศำสตร์คงไม่อำจคำดหวังว่ำจะมีกำรค้นพบทฤษฎีใดๆ
แต่ภำยใต้บริบทกำรสร้ำงสังคมเกษตรกรรม เป็นเรืองแน่นอนทีมนุษย์ต้องใช้



พืนฐำนกำรสังเกตและท�ำควำมเข้ำใจวัฏจักรธรรมชำติ ได้แก่ กำรเริ่มนับเวลำ

รอบวัน รอบเดือนของดวงจันทร์ ท�ำควำมเข้ำใจรอบปีผ่ำนกำรเปลียนฤดูกำล
ฤดูแล้ง ฤดูน�ำหลำก กำรสังเกตน�ำขึนน�ำลง กำรสังเกตทิศทำงของลม กำร





สังเกตกระบวนกำรเติบโตของพืชเพือน�ำมำขยำยพันธุ์ กำรสังเกตธรรมชำติของ


พืชทีสำมำรถน�ำมำใช้ประโยชน์ด้ำนต่ำงๆ ฯลฯ สิงเหล่ำนีมีส่วนก�ำหนดควำม

เป็นไปของวิถีชีวิตสมัยบุพกำล หรืออีกนัยหนึงมนุษย์ต้องสังเกตและท�ำควำม


เข้ำใจปรำกฏกำรณ์เหล่ำนีเนืองจำกส่งผลต่อกำรด�ำรงชีวิตของตน เพรำะฉะนัน



อย่ำงน้อยสังคมทีก้ำวสู่กำรเกษตรจะตระหนักรู้เรืองฤดูกำล มีกำรจดจ�ำเกียว



History of Science 29



กับสภำพแวดล้อมตำมธรรมชำติก่อนจะก้ำวสู่ควำมเป็นวิทยำศำสตร์ มนุษย์มี
ปฏิสัมพันธ์กับธรรมชำติผ่ำนกำรสังเกตและรับรู้ ท�ำควำมเข้ำใจวัฏจักร


ธรรมชำติให้ได้มำกทีสุดและแสวงหำหนทำงทีเป็นประโยชน์ต่อกำรด�ำเนินชีวิต

แม้ภำยใต้สังคมเกษตรจะแสดงถึงกำรวินิจฉัยธรรมชำติในแง่มุมทีกล่ำว

มำ แต่หำกเทียบกับวิทยำศำสตร์สมัยใหม่ สิงทียำกขึนอีกระดับคือกำรเข้ำใจ



เรืองควำมเป็นสำเหตุ (causation) ของปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ เช่น มนุษย์
อำจประสบควำมส�ำเร็จในกำรท�ำควำมเข้ำใจระบบเวลำในรอบปีโดยสังเกตอย่ำง

ต่อเนืองว่ำ เกิดฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนำว เป็นประจ�ำทังสำมฤดูกำลในรอบ

ปีหนึงๆ และใช้วิธีนับจ�ำนวนวันในแต่ละฤดูจนก�ำหนดรอบปีได้ สำมำรถใช้

ประโยชน์จำกกำรนับฤดูกำลว่ำเมือใดควรเริมกำรเพำะปลูก น�ำจะมำเมือไร และ




วำงแผนให้สอดคล้องกับช่วงเก็บเกียว สิงนีสะท้อนควำมก้ำวหน้ำในปฏิสัมพันธ์




กับธรรมชำติอย่ำงปฏิเสธไม่ได้ แต่เมือกล่ำวถึงสำเหตุทีอยู่เบืองหลัง มนุษย์ใน


อดีตไม่มีศักยภำพมำกพอทีจะอธิบำยเหตุปัจจัยของฤดูกำลดังทีโลกปัจจุบัน


ทรำบกัน มนุษย์เรำไม่สำมำรถอธิบำยว่ำช่วงฤดูร้อนในแต่ละภูมิภำคของโลก




เป็นช่วงทีพืนทีบริเวณนันๆ หันเข้ำใกล้ดวงอำทิตย์ หรือในฤดูหนำวซึงกลำงคืน

มำเร็ว มนุษย์อำจปรับตัวท�ำกิจกรรมทีต้องอำศัยแสงสว่ำงให้ใช้เวลำกระชับ



มำกขึน แต่ในโลกก่อนสมัยใหม่จะไม่สำมำรถอธิบำยได้เลยว่ำเหตุทีกลำงคืนมำ

เร็วกว่ำฤดูอืนเพรำะช่วงนันแกนโลกเอียงจนหันพืนทีเขตหนำวให้ห่ำงออกจำก



ดวงอำทิตย์



สำเหตุทีสังคมในอดีตไม่สำมำรถบรรลุถึงชุดค�ำอธิบำยทีถูกต้องเกียว

กับปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติเป็นเรืองทีเข้ำใจได้ เพรำะด้วยข้อจ�ำกัดทำงกำยภำพ


มนุษย์ไม่รู้แม้แต่สัณฐำนทีแท้จริงของโลกหรือเข้ำใจเรืองระบบสุริยะ (Solar

system) เมือต้องสังเกตและอธิบำยธรรมชำติ ผลทีตำมมำอย่ำงหลีกเลียงไม่ได้




คือกำรอธิบำยปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติด้วยสิงเหนือธรรมชำติหรือเทพเจ้ำ เช่น
มนุษย์สังเกตว่ำหำกมีฟ้ำคะนอง ฟ้ำผ่ำ และก้อนเมฆหนำรวมตัวกันมำกๆ จะ



มีฝนตกหลังจำกนัน ปรำกฏกำรณ์นีเกิดซ�ำๆ จนอำจสรุปจำกประสบกำรณ์ว่ำ

ฟ้ำคะนองก่อนฝนตก แต่กำรสรุปนีไม่ได้ช่วยอธิบำยในแง่มูลเหตุ เมือต้อง


อธิบำยกระบวนกำรเบืองหลังซึงเกินกว่ำประสำทสัมผัสของมนุษย์ไปแล้ว พวก


30 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์



เขำจึงปรำกฏค�ำอธิบำยในอำรยธรรมต่ำงๆ เช่น เทพอัสนีซึ่งควบคุมลมฟ้ำ หรือ


พระพิรุณซึงเป็นผู้ควบคุมฝน หลังจำกสังคมบุพกำลสร้ำงค�ำอธิบำยเบืองหลัง


ลักษณะนีขึนมำ พิธีกรรมต่ำงๆ ก็ตำมมำ ยกตัวอย่ำงเช่น เมื่อเพำะปลูกและ
ต้องกำรผลผลิตทีอุดมสมบูรณ์ต้องบูชำเทพเจ้ำทีเกียวข้องอย่ำงพระแม่ธรณี



หรือแม่โพสพ หรือหำกจะขอฝนก็ต้องบูชำพระพิรุณ


มองอีกมุมหนึง นีเป็นแนวโน้มกำรใช้บุคลำธิษฐำนกับปรำกฏกำรณ์

ธรรมชำติ โดยสร้ำงเทพเจ้ำขึนในรูปลักษณ์ของมนุษย์แต่มีฤทธิเดชเหนือ

ธรรมชำติ เป็นกำรเปิดทำงให้มนุษย์ใช้กำรเปรียบเปรย (analogy) ควำมนึกคิด

ของตนกับธรรมชำติได้ง่ำยขึน เช่นกำรอธิบำยก�ำเนิดของเครือข่ำยครอบครัว

เทพเจ้ำโดยมีกำรสมส่ของเทวบิดำและเทวมำตำในหลำยอำรยธรรม และ

เครือข่ำยเทพเจ้ำทีถือก�ำเนิดมำก็มีหน้ำทีควบคุมธรรมชำติในด้ำนต่ำงๆ กรณี


เทพเจ้ำกรีกจัดอยู่ในข่ำยนีเช่นกัน Lindberg (2007, p. 6) ชีว่ำวิธีกำรนีคือ


กำรฉำยภำพกระบวนกำรทำงชีวภำพของมนุษย์ให้ทำบลงไปยังปรำกฏกำรณ์

ธรรมชำติ ดังนัน ในหลำยกรณีค�ำอธิบำยกำรก�ำเนิดของจักรวำลจึงเหมือน
กระบวนกำรก�ำเนิดชีวิต หรือปรำกฏกำรณ์บนฟำกฟ้ำถูกอธิบำยผ่ำนพลังที ่

ต่ำงขัวกันสองฝำยด้ำนดีกับด้ำนร้ำย สะท้อนพืนฐำนควำมเป็นมนุษย์ทีน�ำ



ประสบกำรณ์ใกล้ตัวมำใช้อธิบำยธรรมชำติให้เป็นกระบวนกำรทีตนเองท�ำควำม

เข้ำใจได้

สังคมบุพกำลยังมีลักษณะเฉพำะอีกข้อหนึงคือเป็นสังคมทีอำศัยจารีต

การบอกเล่า (oral tradition) มนุษย์สมัยก่อนประวัติศำสตร์ยังไม่มีกำร
ประดิษฐ์ระบบภำษำเขียน ไม่มีตัวอักษร และยังไม่รู้จักกำรบันทึก กำรถ่ำยทอด
เรืองรำวควำมรู้ต่ำงๆ จำกรุ่นสู่รุ่นจึงต้องผ่ำนกำรบอกเล่ำ กำรบอกเล่ำท�ำงำน


ร่วมกับกำรสังสมประสบกำรณ์ เช่น กำรถ่ำยทอดเทคนิคกำรเพำะปลก

ถ่ำยทอดเทคนิคกำรท�ำขวำนหิน หรือกำรสอนให้ระวังสัตว์บำงประเภท กำร


สอนให้ระวังพืชทีมีพิษ ฯลฯ ในขณะเดียวกันควำมรู้ทีเกินกว่ำขีดจ�ำกัดของ


ประสำทสัมผัสก็ถูกถ่ำยทอดเป็นควำมเชือทำงสังคมด้วย เช่น ต�ำนำนเกียวกับ

เทพเจ้ำต่ำงๆ กำรอธิบำยจักรวำลวิทยำ (cosmology) ในแบบทีสัมพันธ์กับ

กำรกระท�ำของเทพเจ้ำ จึงกล่ำวได้ว่ำจำรีตกำรบอกเล่ำไม่เอือให้เกิดกำรพัฒนำ

History of Science 31





ทำงทฤษฎีเพรำะแหล่งข้อมูลมีจ�ำกัดและเลือนไหล เป็นเรืองรำวถ่ำยทอดผ่ำน

ค�ำพูดเท่ำนันและยำกแก่กำรตรวจสอบ
แนวโน้มทีส�ำคัญอีกประกำรของจำรีตกำรบอกเล่ำคือ ผู้ทีสะสม



ประสบกำรณ์ได้มำกจะมีสถำนะพิเศษหรือศักดิสิทธิกว่ำสมำชิกทัวไปในสังคม



ผู้อำวุโสของเผ่ำอธิบำยโลกได้มำกกว่ำเพรำะมีประสบกำรณ์พบเห็นเรืองต่ำงๆ




มำกกว่ำ ควำมรู้ในระบบนีเริมมีลักษณะควำมศักดิสิทธิมำกกว่ำจะพร้อมให้

ตรวจสอบ กรอบกำรอธิบำยธรรมชำติโดยอำศัยเทพเจ้ำ (ซึงถือเป็นศำสนำใน



ยุคก่อนประวัติศำสตร์) เมือด�ำเนินไปนำนเข้ำจึงเกียวพันกับควำมเชือและ
ระเบียบทำงสังคมอย่ำงซับซ้อนยิงขึน หำกมองจำกมุมมองของสังคมปัจจุบัน



ทิศทำงเช่นนีน�ำกำรอธิบำยธรรมชำติให้เข้ำไปอย่ภำยใต้คติควำมเชือเหนือ


ธรรมชำติ ซึงดูไม่สอดคล้องกับจิตส�ำนึกแบบวิทยำศำสตร์

อย่ำงไรก็ตำม สังคมบุพกำลยังมีกำรสังสมควำมรู้ทีส�ำคัญมำกอีก


ประกำรหนึงและเป็นทีมำของค�ำว่ำยุคหิน คือกำรพัฒนำเครืองมือจำกหินเพือ




รองรับกำรใช้ประโยชน์ต่ำงๆ หลักฐำนทีหลงเหลือจำกยุคหินเก่ำบ่งบอกว่ำสังคม


มนุษย์มีเทคโนโลยีขันต้นทีรู้จักเปลียนสภำพหินเป็นเครืองมือ เช่น ขวำน มีด





หอก แล้วใช้เครืองมือเพือกำรล่ำและอ�ำนวยควำมสะดวก ยุคหินเก่ำแสดงจุดเด่น
เรืองทักษะของมนุษย์ทีรู้จักดัดแปลงวัสดุจำกธรรมชำติมำตอบสนองควำม



ต้องกำร รวมถึงทักษะกำรใช้มือเพือเปลี่ยนสภำพวัตถุ ในยุคหินใหม่ หินยังคง


เป็นวัสดุหลักแต่ขอบเขตของเครืองมือทีประดิษฐ์ขยำยไปสู่เครืองมือทำงด้ำน


เกษตรกรรม โดยวัสดุซึงน�ำมำใช้ในยุคหินใหม่มีกำรขัดและท�ำรูปร่ำงให้ประณีต

ขึน อีกทังมีเครืองประดับทีท�ำจำกหิน ควำมประณีตหมำยถึงกำรยกระดับ




เทคโนโลยีทีสังสมในสังคมมนุษย์ด้วยจึงสำมำรถน�ำวัสดุอย่ำงหินมำสร้ำงสรรค์


ได้อย่ำงต่อเนือง
ทังนียุคหินบ่งบอกว่ำโจทย์ของกำรพัฒนำเกียวข้องกับกำรตอบสนอง




เป้ำหมำยใช้งำนเป็นส�ำคัญ เครืองมือพืนฐำนทีท�ำขึนอย่ำงไม่ยุ่งยำกซับซ้อน



บ่งชีถึงกำรลองผิดลองถูกเพือปรับปรุงทำงเทคโนโลยี ควำมรู้ทีเกียวข้องใน








กระบวนกำรนีสังสมจำกทักษะทีพัฒนำขึนจนเปลียนแปลงวัสดุธรรมชำติได้ตำม


ควำมต้องกำร ซึงเป็นคนละส่วนกับกำรเปิดเผยควำมจริงทำงธรรมชำติ แต่

32 ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์



ควำมรุดหน้ำในด้ำนทักษะมักไม่อยู่ในจำรีตกำรจดบันทึกเช่นกัน
หลังจำกยุคหินใหม่ สังคมมนุษย์เริมรู้จักใช้โลหะและประดิษฐ์

สัญลักษณ์จนระบบภำษำเกิดควำมเปลี่ยนแปลง มีภำษำเขียนเพิมขึนมำใน


อำรยธรรมเมืองยุคส�ำริด (Bronze age) ขณะทีโครงสร้ำงสังคมซับซ้อนขึน



และกิจกรรมของมนุษย์ยิงทวีควำมหลำกหลำย พัฒนำกำรของระบบภำษำเขียน



ทีก้ำวหน้ำขึนมีส่วนอย่ำงมำกต่อกำรยกระดับกิจกรรมทีเกียวข้องทำง

วิทยำศำสตร์ จนถือเป็นเส้นแบ่งหนึงทีแยกอำรยธรรมยุคส�ำริดออกจำกสังคม


ในยุคหิน

2.2 พัฒนาการเชิงวิทยาศาสตร์ในยุคสาริด


ก) อารยธรรมอียิปต ์

อำรยธรรมอียิปต์พัฒนำจำกกำรลงหลักปักฐำนบนลุ่มแม่น�ำไนล์จนเป็น

อำณำจักรขนำดใหญ่ มีพัฒนำกำรของระบบสังคมและมีควำมส�ำเร็จทำง



สถำปัตยกรรมทีโดดเด่นยำวนำนจนถึงสมัยปัจจุบัน นอกจำกนีควำมก้ำวหน้ำ
ในบำงเรืองของอำรยธรรมอียิปต์สำมำรถน�ำมำเป็นประเด็นได้เมือพูดถึง


ประวัติศำสตร์วิทยำศำสตร์

อียิปต์เป็นหนึงในอำรยธรรมต้นๆ ทีได้ประดิษฐ์สัญลักษณ์กำรเขียนขึน


เป็นรูปแบบอักษรทีเรียกว่ำ เฮียโรกลิฟิก (Hieroglyphic) รวมทังสร้ำงระบบ



จ�ำนวน (number system) เพือใช้งำน นวัตกรรมเหล่ำนีสัมพันธ์กับระบบ

สังคมทีซับซ้อนขึน ระบบกำรเขียนและระบบจ�ำนวนจ�ำเป็นต้องใช้ในงำนบริหำร


รำชกำรแผ่นดิน ซึงต้องบันทึกและถ่ำยทอดข้อมูลเป็นลำยลักษณ์อักษร ขณะ

เดียวกันจำรีตกำรเขียนสัมพันธ์กับสถำนภำพอันศักดิสิทธิของระบอบกษัตริย์


อียิปต์ในต�ำแหน่งฟำโรห์ (pharaoh) เช่น กำรร่ำงโองกำร ค�ำสังรำชกำร กำร

จำรึกเกียรติยศต่ำงๆ ลงบนสถำปัตยกรรม ฯลฯ ซึงควำมก้ำวหน้ำในกำรบันทึก

ส่งผลถึงกำรศึกษำปรัชญำธรรมชำติด้วย
ระบบจ�ำนวนของอียิปต์คล้ำยๆ กับเลขโรมัน คือใช้สัญลักษณ์แทนค่ำ


Click to View FlipBook Version