การวัดผลดัซนีช้ีการดำเนินงานการจดั การอะไหลค่ งคลัง ดัชนีชว้ี ัดการดำเนนิ งานการจดั การอะไหลค่ ง
คลัง เปน็ การวัดผลการดำเนินงาน ในดา้ นปรมิ าณการสงั่ ซอื้ อย่างประหยัด การส่งั ซื้อท่ีเหมาะสม จดุ สงั่ ซือ้
และสตอ๊ ก เพื่อความปลอดภัย ของอะไหลค่ งคลงั เพ่ือสะท้อน ประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผลในการปฏิบตั งิ านซึ่ง
จากการตวั อย่าง ทดสอบขอ้ มูลในระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจการจัดการอะไหล่คงคลังพบวา่ เครื่องฉีด
พลาสติก สามารถทำงานทมี่ ีประสทิ ธภิ าพเพ่ิมมากขนึ้ มีค่าใชจ้ า่ ยในการสั่งซ้ืออะไหลล่ ดน้อยลง และมีอะไหล่
สำรองท่คี วาม เหมาะสมกับการใช้งาน โดยทคี่ ลังพัสดเุ พอื่ ความปลอดภัย
ความปลอดภยั ในการบำรงุ รักษา
การดำเนนิ งานการจดั การความปลอดภัยในงานซ่อมบำรงุ
• การปฏิบัตติ ามกฎความปลอดภยั
• การปฏิบตั ติ ามกฎและมาตรฐานความปลอดภัย
• หัวหนา้ งานและผ้บู ังคบั บัญชาทุกระดับช้นั มีหน้าทีค่ วบคุมให้พนกั งานทกุ คนปฏิบตั ิตามกฎความ
ปลอดภยั
• อบุ ัติเหตุสามารถเกดิ ขึ้นได้จากการทำงานที่ขาดประสบการณ์
• หากพบเห็นสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภยั โปรดแจ้งผู้บังคับบญั ชา
การดำเนินงานการจดั การความปลอดภัย
• การควบคุมอันตรายในกระบวนการผลติ
• กำหนด/จำกดั ชวั่ โมงทำงาน สำหรับงานอนั ตราย ท่ีกำหนด
• ใหน้ ายจา้ งจัดแพทย์ตรวจโรคใหล้ ูกจา้ ง อยา่ งน้อยปลี ะ 1 คร้ัง
• ให้นายจ้างจดั ซือ้ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล
การดำเนนิ งานการจัดการความปลอดภัย
• การฝึกอบรม การสื่อสาร และการจูงใจด้านความปลอดภยั
• ฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภยั แกผ่ ้บู รหิ ารและผู้ควบคุมงานทุกระดับ
• ปลกู ฝงั และทบทวนทศั นคติด้านความปลอดภัยให้กบั คนงาน
• จัดทำคมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงานไว้เป็นแนวทางการทำงานท่ีถูกวิธี
• กำหนดข้อป้องกนั แกไ้ ขทช่ี ัดเจน
59
รูปที่ 4.1 สญั ลกั ษณ์ความปลอดภัย
การปอ้ งกันอันตรายจากเครอื่ งจกั รท่ีสำคญั ได้แก่การทำอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายสำหรับเครื่องจักรที่
เรียกว่า อปุ กรณน์ ิรภัย หรือ “เคร่ืองป้องกันอันตรายจากเคร่ืองจักร” หมายความวา่ สว่ นประกอบหรือ
อุปกรณ์ที่ออกแบบหรอื ตดิ ต้งั ไวบ้ รเิ วณทอี่ าจเป็นอันตรายของเคร่ืองจักรเพ่ือช่วยปอ้ งกันอันตรายแกบ่ ุคคลที่
60
ควบคมุ หรืออยใู่ นบรเิ วณใกล้เคียง เคร่ืองฉดี พลาสติก ความปลอดภยั ในการทำงานกบั เคร่ืองฉีดพลาสตกิ
Maintenance Injection Machine
รปู ท่ี 4.1 ป้ายกำกบั คำเตือน
ปา้ ยกำกับคำเตือนใหร้ ะมดั ระวงั อันตรายจากการนำชิ้นงานออกจากเครอื่ งฉีดพลาสติก ซง่ึ อาจทำให้
โดนหนบี ชน หรอื กระแทก จนบาดเจ็บหรือรา้ ยแรงถงึ ขน้ั เสยี ชีวิต
• ใชเ้ ซฟการด์ เพ่ือป้องกนั ส่วนบุคล
• เก็บมือทง้ั สองขา้ งและร่างกายใหพ้ น้ จากเครือ่ งจักรเม่ือเครื่องจกั รทำงาน
• แตง่ กายให้มิดชิด มดั ผมและใส่หมวกคุมผมใหเ้ รยี บร้อย
• งดสวมใส่เคร่ืองประดับทกุ ชนิด
รูปที่ 4.2 เซฟการ์ด
61
ประตูของผูป้ ฏบิ ัตงิ านชว่ ยให้ผปู้ ฏบิ ัตงิ านเข้าถงึ แม่พิมพ์ และควรตดิ ตง้ั ระบบโซ่คล้อง (Interlock) เชน่
ไฟฟา้ ไฮดรอลิก หรือนิวแมตกิ ท่ีอนุญาตใหเ้ ครอื่ งทำงานเมื่อปิดประตเู ท่าน้ัน นอกจากนีย้ ังมีอปุ กรณค์ วาม
ปลอดภัยทางกล (พรอ้ มอุปกรณต์ รวจสอบ) เพ่ือปอ้ งกนั ปกปอ้ งรา่ งกาย และไม่พยายามแทนท่ี Interlock หรือ
อ้อมไปโดยรอบหรือผา่ นประตขู องผู้ควบคุมเครื่อง ในขณะท่ีเครื่องกำลงั ทำงาน ปรบั ปรุง ซ่อมบำรุง หรอื ทำ
ความสะอาด
จัดให้มีข้อกำหนดให้สวมใสอ่ ุปกรณน์ ริ ภยั ส่วนบุคล (PPE) ดังนี้
1. หมวกนิรภยั (Safety Helmet) ใช้สำหรับป้องกนั ศรี ษะจากการกระแทก และเจาะทะลุจากของทห่ี ล่นจาก
ทส่ี ูงหรือของแข็ง หมวกนริ ภยั บางชนิดสามารถตา้ นทานกระแสไฟฟ้าหรือทนตอ่ การลกุ ไหม้ของไฟได้
2. แวน่ ตานิรภัย (Safety Goggles) ใช้สำหรบั ปอ้ งกันอันตรายที่อาจเกิดขน้ึ กับดวงตาและใบหน้า ยงั ชว่ ย
ปอ้ งกันฝุ่น สารเคมี รวมถึงสะเกด็ ไฟ ซ่ึงอาจกระเดน็ เข้าดวงตาได้ ควรเลือกใช้แวน่ ทีม่ มี าตรฐานสากล
รับรอง เชน่ ANSI, CE ฯลฯ3. ทคี่ รอบหู / ทอ่ี ดุ หู (Hearing Protection) ใชส้ ำหรบั ปอ้ งกนั เสียงท่ดี ังเกนิ
มาตรฐานทีค่ นเรารับได้ (เกนิ 130 เดซเิ บล) ซงึ่ เปน็ อนั ตรายตอ่ การได้ยิน โดยอุปกรณ์ปอ้ งกันหูทีส่ ำคัญ
และเหมาะสมต่อการใช้งาน ได้แก
3. ปลั๊กลดเสียง (Ear Plug) วสั ดุทำมาจากยาง พลาสติกออ่ น ทม่ี ขี นาดพอดีกบั รหู ู สามารถลดเสยี งได้ไมน่ ้อย
กว่า 15 เดซเิ บล
4. ทค่ี รอบหลู ดเสยี ง (Ear Muffs) มกี า้ นโคง้ ครอบศรี ษะ และใช้วัสดทุ ่มี คี วามนมุ่ หมุ้ ทบั สามารถลดเสียงได้ไม่
น้อยกวา่ 25 เดซเิ บล
5. ถุงมือนริ ภัย (Safety Gloves) ใชส้ ำหรับป้องกนั อนั ตรายทอี่ าจเกิดขน้ึ กับมือและแขน ซงึ่ มหี ลายประเภท
เหมาะทีจ่ ะใช้ในรูปแบบงานที่ตา่ งกัน ได้แก่
5.1.ถงุ มือกันความรอ้ น
5.2.ถงุ มือปอ้ งกนั สารเคมี
5.3.ถงุ มือกันบาด
5.4.ถุงมือป้องกนั ไฟฟ้า
6. หนา้ กากนิรภยั (Safety Respirators) ใช้สำหรับปอ้ งกนั อันตรายต่อระบบทางเดนิ หายใจ จากพวกฝุน่
ละอองขนาดเล็กที่ก่อให้เกดิ อันตราย หรือสารระเหยทีเ่ ป็นพิษต่อรา่ งกาย เสื้อสะท้อนแสง (Reflective
Clothing) ใช้สวมใสเ่ พื่อความปลอดภยั สำหรบั คนงานทีจ่ ำเป็นตอ้ งทำงานกลางแจง้ ผูท้ ี่สวมเสอื้ จะสามารถ
ถกู มองเหน็ ได้จากระยะไกลและง่ายขึน้ ทัง้ ในเวลากลางวันและกลางคืน
7. รองเท้านริ ภัย (Safety Shoes) ใช้สำหรบั ป้องกันอนั ตรายทอ่ี าจเกิดขน้ึ กับขาและเท้า เราสามารถแบง่
รองเทา้ นริ ภยั ได้ตามลกั ษณะงาน ดงั นี้
8. รองเทา้ นิรภัย ปอ้ งกันอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้า สวมเพ่อื ป้องกันกระแสไฟฟ้าแรงสงู ไหลสู่ร่างกาย
9. รองเท้านิรภัยหัวเหลก็ ปอ้ งกันของหนักตกใสห่ รือการเหยียบตะปู การโดนรถForkliftทบั เท้า
62
รปู ที่ 4.1 อปุ กรณ์นิรภยั สว่ นบคุ คล
ประโยชน์ทจี่ ะไดร้ ับจากความปลอดภยั ในโรงงาน
• ผลผลิตในโรงงานเพ่มิ ข้นึ การทำงานอย่างปลอดภยั ในโรงงานท่ีสภาพแวดลอ้ มท่ีถูกสขุ ลกั ษณะมี
อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายเพยี งพอ
• ต้นทุนการผลิตของโรงงานลดลง เม่ือสถติ ิการเกิดอุบัติเหตุของโรงงานลดลง ความสญู เสีย
• กำไรของโรงงานมากข้นึ เม่ือการทำงานอย่างปลอดภยั ทำใหผ้ ลผลติ สูงขน้ึ
• สงวนทรพั ยากรมนุษยแ์ กป่ ระเทศชาติ เนือ่ งจากการเกดิ อุบัติเหตุในโรงงานทุกครง้ั มักทำให้คน
บาดเจ็บ พกิ าร ทุพพลภาพ
• ความปลอดภยั ในการดำรงชีวิตและการทำงาน เปน็ ความต้องการพ้นื ฐานของมนุษย์
63
บทท่ี 5
สรุป
ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการดำเนนิ งานครง้ั นี้ ทำใหส้ ามารถลดเวลาสญู เสียและลดจำนวนครงั้ ในการเกิดข้อขดั ข้อง
เครอ่ื งจักรหยดุ ชะงักลงได้ อตั ราการเดนิ เคร่ืองจกั รเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น ค่าเฉล่ยี ในการซ่อมแซมลดต่ำลง ถือไดว้ า่
เป็นประโยชนท์ ี่ได้จากการวางแผนระบบการบำรงุ รกั ษาทดี่ ี และเป็นประโยชนท์ างอ้อมท่ีเกดิ ขึ้นจากการดำเนนิ
กจิ กรรม ซ่งึ ได้แก่
1. พนกั งานฝ่ายผลติ และฝา่ ยซ่อมบำรุงรกั ษามกี ารต่ืนตวั ในการทำงานมากขึ้นเนื่องจากเห็นผลการ
เปลี่ยนแปลงการบำรุงรักษาที่เป็นรปู ธรรม
2. มสี ภาพแวดล้อมการทำงานที่ดขี น้ึ เน่อื งจากพน้ื ที่และเคร่ืองจกั รสะอาด
3. พนกั งานทำงานอย่างมีระบบและมคี วามปลอดภัยในการทำงานมากข้นึ
4. เป็นสายการผลิตตวั อยา่ งที่สามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับสายการผลิตอนื่ ได้
64
ภาพท่ี 3.1 : .................... พมิ พช์ ื่อภาพ ...........................................................
ทม่ี า : .................... พิมพแ์ หลง่ ท่มี า, ปี พ.ศ.หรือ ค.ศ., หน้า...................
จากภาพท่ี ...........................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................... ...................................
................................................................................................ ..............................................................................
..........................................................................................................
ตารางท่ี 3.1 ............................ พมิ พ์ชอื่ ตาราง
...............................................................................
............................................................................................................................. ........
.............................................. ..............................................
.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
.......................................................................... ..........................................................................
ทม่ี า : เอกสารอา้ งอิง
โกศล ดีศิลธรรม, การสรา้ งประสทิ ธผิ ลงานบำรงุ รกั ษา, ซีเอด็ ยเู คชน่ั , 2548
จากตารางที่ ................................................................................................... ....................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..........................................................................................................
65