The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanawat Mugdasanit, 2019-10-08 02:05:08

การกาชาด

การกาชาด

กำเนดิ กำชำดสำกล

กาชาด เปน็ องคก์ รการกศุ ล ท่ีทาหน้าทรี่ ักษาพยาบาลผู้ป่วยไขแ้ ละบาดเจบ็ ทั้งในยามสงครามและในยามสงบ
ตลอดจนการบรรเทาทุกข์ช่วยเหลือผ้ปู ระสบภยั พิบัติตา่ ง ๆ

กาชาด เกิดจากแนวความคดิ ของ นำยองั รี ดนู งั ต์ ชาวสวติ เซอร์แลนด์ ซ่ึงได้เดินทางไป
แสวงหาโชคลาภในทวปี แอฟรกิ าเหนอื และผา่ นไปทางภาคเหนอื ของประเทศอิตาลีทีห่ มูบ่ ้าน
ซอลเฟรโิ น ได้พบเหน็ การสรู้ บระหว่างทหารฝร่งั เศสซง่ึ ช่วยอติ าลรี บกับออสเตรยี ทาให้มที หาร
บาดเจ็บลม้ ตายเกลอื่ นกลาดกลางสนามรบเป็นจานวนมาก โดยไมม่ ผี ใู้ ดใหค้ วามช่วยเหลือ
รกั ษาพยาบาล นายองั รี ดนู ังต์ จงึ ไดล้ งมอื ให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจบ็ ดว้ ยตนเอง และขอรอ้ ง
ให้หญิงชาวบา้ นในทอ้ งถิน่ นน้ั ให้มาชว่ ยเหลอื ด้วย จากประสบการณ์ดงั กลา่ ว ทาให้
นายอังรี ดนู งั ต์ เกดิ แรงบันดาลใจเขียนหนงั สือ “ความทรงจาที่ซอลเฟริโน” ขึ้น และกลา่ วใน
ตอนหน่ึงว่า “จะเป็นไปไม่ได้หรือ ท่จี ะจดั ตงั้ องค์กรอาสาสมัคร ซ่ึงมีวัตถุประสงคเ์ พื่อช่วยเหลือ
ดูแลทหารบาดเจ็บในสงคราม” ต่อมาจึงไดม้ กี ารจดั ตั้ง “คณะกรรมการระหวา่ งประเทศเพือ่ บรรเทาทุกข์ทหารบาดเจบ็ ” เมื่อ
วันที่ 17 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2406 คณะกรรมการชดุ น้ีปัจจุบนั คอื
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (The Internation Committee of the Red Cross หรือ ICRC)

องค์กรกำชำดสำกล ประกอบด้วย 3 องค์กร คือ
1. คณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ หรือ ICRC มพี นั ธกิจในการค้มุ ครองและชว่ ยเหลอื ผู้ท่ีได้รบั ผลกระทบจาก
ภยั สงครามและความขัดแยง้ ท้งั ในระดบั ระหวา่ งประเทศและภายในประเทศ ได้รบั การรบั รองจากอนสุ ญั ญาเจนวี า ซง่ึ เปน็
กฏหมายระหวา่ งประเทศทมี่ กี ารลงนามรับรองโดย 194 ประเทศทั่วโลกรวมถงึ ประเทศไทย
2. สหพันธ์กาชาดและสภาเสี้ยววงเดอื นแดงระหวา่ งประเทศ หรือ IFRC มีหน้าท่ใี นการประสานงานและรวบรวม
สรรพกาลงั ของประเทศสมาชิกในการบรรเทาทกุ ข์จากภยั พิบตั ขิ ้นั รุนแรงท่ที าให้เกิดความเสียหายแกช่ วี ติ และทรัพยส์ นิ ในวงกวา้ ง
3.สภากาชาดและสภาเสย้ี ววงเดอื นแดง (National Societies) ปฏิบตั ิงานด้านมนษุ ยธรรม เพอื่ สนบั สนนุ หน่วยงาน
ภาครัฐ ซงึ่ ประกอบไปด้วย การบรรเทาทกุ ข์เมื่อเกดิ ภยั พิบัติ การบริการด้านสุขภาพและสังคม ท้ังน้ีในยามสงครามมีหน้าที่
ชว่ ยเหลือพลเรอื นทไ่ี ดร้ ับผลกระทบและช่วยงานของหน่วยบรกิ ารแพทย์ทหารตามสมควร ปัจจุบนั มีสภากาชาดและสภาเสี้ยว
วงเดือนแดงกวา่ 186 ประเทศท่ัวโลก ถงึ แมว้ า่ องคก์ รกาชาดทัง้ สามจะมจี ะมพี ันธกิจทีต่ ่างกันและทางานอย่างเปน็ อสิ ระตอ่ กนั
แตท่ ุกองค์กรกป็ ฏิบัตงิ านไปในแนวทางเดียวกัน

หลกั กำรกำชำด 7 ประการ เปน็ เครือ่ งนาทาง ซ่งึ ได้แก่ 1. มนุษยธรรม 2. ความไมล่ าเอยี ง 3. ความเป็นกลาง
4.ความเปน็ อสิ ระ 5. บริการอาสาสมัคร 6. ความเป็นเอกภาพ 7. ความเปน็ สากล โดยใชเ้ คร่อื งหมายกากบาทแดงบนพืน้ ขาว
เปน็ สัญลักษณใ์ นการปฏิบัติงาน ซึ่งเปน็ เครอ่ื งหมายท่ีใช้เพื่อเป็นการใหเ้ กียรติแก่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึง่ เป็นต้นกาเนิดของ
กาชาด สัญลักษณ์น้ีจะกลับกันกบั ธงชาติของประเทศสวิตเซอรแ์ ลนด์ ท่ีเปน็ กากบาทขาวบนพื้นแดง และเพ่อื เปน็ การป้องกนั
การเขา้ ใจผดิ ว่า เครอ่ื งหมายกากบาทมีความสาคัญของศาสนาคริสต์ จงึ ทาใหเ้ กดิ เคร่อื งหมายเสี้ยววงเดือนแดง เพื่อใชใ้ น
ประเทศที่มีประชาชนชาวมสุ ลิม เรียกว่า “สภาเส้ียววงเดอื นแดง” แทนสภากาชาด แตใ่ นหลกั การและหน้าทแ่ี ล้วไมแ่ ตกตา่ ง
กนั

สาหรบั สภากาชาดไทยได้รบั การรบั รองสถานะจากคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ในพ.ศ. 2463 และหลังจาก
นนั้ เพยี งหน่ึงปี สภากาชาดไทยกไ็ ดเ้ ข้าร่วมเปน็ สมาชิกของสหพนั ธ์กาชาดฯ ซ่ึงนอกจากการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในเรื่องสขุ ภาพ
อนามยั กจิ กรรมบรรเทาทกุ ข์ และการรับบริจาคโลหิตแก่คนไทยโดยทว่ั ไปแลว้ สภากาชาดไทยยังไดใ้ ห้ความช่วยเหลอื ด้าน
มนษุ ยธรรมแก่ชาวตา่ งประเทศท่ไี ดร้ ับความเดอื ดร้อนด้วย คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ และสหพนั ธ์สภากาชาดและ
สภาเสยี้ ววงเดือนแดงระหว่างประเทศ ได้กาหนดใหว้ นั ที่ 8 พฤษภาคม ของทกุ ปี ซึง่ เปน็ วนั คลา้ ยวนั เกดิ ของ นายอังรี ดูนังต์
ผู้ให้กาเนดิ กาชาดสากล เป็นวนั กาชาดโลก

…………………………………………

ประวตั กิ ำชำดไทย

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 5 พระราชทานพระบรมราชานญุ าต ให้ก่อตัง้ องค์กรการกศุ ล เมอื่
วันท่ี 26 เมษายน 2436 (ร.ศ.112) ใช้ชอ่ื วา่ "สภาอุณาโลมแดง แห่งชาติสยาม" โดยดาเนินการชว่ ยทหารบาดเจ็บ ปว่ ยไขจ้ าก
การส้รู บ ทาหน้าท่ชี ว่ ยเหลอื บรรเทาทุกข์ รกั ษาพยาบาลผู้เจ็บปว่ ยจากภัยสงคราม และภัยพิบัติตา่ งๆ

ปี พ.ศ. 2449 ทรงมพี ระบรมราชานญุ าตให้สง่ ผู้แทนไปรว่ มประชมุ กาชาดระหวา่ งประเทศ ณ
กรงุ เจนวี า ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ เพื่อลงนามความตกลงเรอ่ื งการใช้เครื่องหมายกาชาดช่วยเหลือผบู้ าดเจ็บในสนามรบ
สภาอุณาโลมแดงแหง่ ชาตสิ ยาม จึงไดเ้ ปล่ียนมาใช้ช่ือวา่ สภากาชาดสยาม โดยใชเ้ ครอ่ื งหมายกาชาดเป็นสัญลกั ษณ์

ปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ 6 ครองราชย์สืบต่อมา ไดท้ รงสืบทอดพระราช
ภารกิจของสภากาชาดสยามใหเ้ จรญิ ก้าวหน้าเชน่ อารยประเทศ

ปี พ.ศ.2454 พระองคท์ ่านไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ผู้แทนจากสภากาชาดสยามไปร่วมประชมุ กาชาด
ระหวา่ งประเทศ ท่ีกรุงวอชงิ ตนั สหรัฐอเมรกิ า เพ่ือร่วมลงนามความตกลงเรื่องกฎหมายคมุ้ ครองเคร่อื งหมายกาชาด (กฎหมาย
มนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ) และทรงโปรดเกล้าฯแตง่ ตง้ั ให้ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟา้ บรพิ ัตรสุขุมพันธ์
กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เป็นอปุ นายกผ้อู านวยการสภากาชาดสยาม บรหิ ารงานของสภากาชาดใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ต่อไป
ทรงมพี ระราชโองการใหป้ ระกาศพระราชบัญญัติวา่ ด้วยสภากาชาดสยามในปี พ.ศ.2461

ปี พ.ศ.2463 ทรงนาสภากาชาดสยามเข้าเปน็ สมาชกิ ของกาชาดสากลในปี สภากาชาดสยามเปน็ สมาชกิ กาชาดสากล
ประเทศลาดับที่ 27 เมอ่ื วนั ที่ 8 เมษายน พ.ศ.2464 กิจการของกาชาดสยามเจรญิ กา้ วหน้ามาโดยตลอด

ปี พ.ศ.2482 รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั อานนั ทมหดิ ล รชั กาลที่ 8 สภากาชาดสยาม เปลี่ยนชอื่ เป็น
สภากาชาดไทย ตามช่ือของประเทศ

ยวุ กำชำด เกิดขึ้นจาก มติทีป่ ระชุมสหพนั ธ์สภากาชาดและสภาเสยี้ ววงเดอื นแดงระหวา่ งประเทศ เมอื่ ค.ศ.
1919 (พ.ศ. 2462) โดยทป่ี ระชมุ ไดม้ ีขอ้ เสนอแนะวา่ “สภากาชาดทุกชาติควรจดั ตง้ั กาชาดสาหรบั เดก็ เพอื่
ฝึกอบรมเยาวชนให้รู้จกั การกนิ ดี อยู่ดี รักษาสุขภาพอนามัย มีความเมตตาสงสารเพื่อนมนษุ ย์ดว้ ยกนั ไม่ว่าชาติ
ศาสนาใดๆ มศี รัทธาเสียสละ และบาเพ็ญประโยชนแ์ กส่ ังคม โดยจัดกจิ กรรมและดาเนินการให้สอดคล้องกับระบบการศกึ ษา
ของแตล่ ะประเทศ” ในเวลาต่อมากาชาดสาหรบั เดก็ จึงได้ถกู จดั ตั้งข้นึ ในหลายประเทศ เชน่ บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย
ฮงั การี นิวซีแลนด์ โปแลนด์ ยโู กสลาเวีย ฝรงั่ เศส ญี่ปนุ่ โรมาเนีย และสวเี ดน เปน็ ตน้
สาหรับประเทศไทย ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงมีพระบรมราชโองการแตง่ ตง้ั
จอมพลสมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพนั ธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพนิ ติ ใหด้ ารงตาแหนง่ อปุ นายกสภากาชาด
สยาม ในการน้เี จา้ ฟ้าบริพัตรสุขมุ พนั ธ์ กรมพระนครสวรรคว์ รพินิต ได้ทรงรบั หลักการจากการประชุม เมือ่ พ.ศ. 2462
ที่เสนอแนะให้กาชาดประเทศตา่ งๆ จดั ตงั้ กาชาดสาหรับเดก็ ขึ้น
27 มกราคม พ.ศ. 2465 กิจการยุวกาชาด จึงไดร้ บั การกอ่ ตง้ั ข้นึ โดยใช้ช่อื วา่ “อนสุ ภากาชาดสยาม” รับเด็กอายุ
7 - 18 ปี เข้าเปน็ สมาชกิ ท้ังน้ี เจ้าฟ้าบรพิ ตั ร สขุ ุมพนั ธ์ กรมพระนครสวรรค์ วรพนิ ติ ได้ทรงมพี ระนิพนธ์เกี่ยวกับ
อนสุ ภากาชาดสยาม ดงั นี้ “อนสุ ภากาชาด” ฝึกสอนเดก็ ซ่ึงเข้าเป็นสมาชิกทัง้ ชายและหญิง
ตอ่ มา พ.ศ. 2550 สภากาชาดไทยจงึ ออกขอ้ บังคับสภากาชาดไทย แก้ไขเพ่มิ เตมิ พทุ ธศกั ราช 2550 หมวดที่ 9
ยุวกาชาด มีสาระสาคัญดังน้ี
วตั ถุประสงค์ของยวุ กาชาด : เพือ่ ฝกึ อบรมให้เยาวชนชายและหญงิ
1. มอี ดุ มคติในศานตสิ ุข มีความจงรักภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. มีความรู้ ความชานาญในการรักษาอนามยั ของตนเองและของผูอ้ ื่น ตลอดจนการพัฒนาตนเองทางรา่ งกาย จิตใจ
คณุ ธรรม และธารงไวซ้ ่งึ เอกลักษณท์ างวัฒนธรรมของชาติ
3. มีความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การและอุดมการณ์กาชาด มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจเมตตา กรณุ าต่อเพ่อื น
มนุษย์
4. บาเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ
5. มีจิตสานึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
6. มีสัมพันธภาพและมิตรภาพที่ดีต่อบคุ คลทั่วไป

...............................................


Click to View FlipBook Version