The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเรียนรู้ บทที่ ๗

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnat254000, 2022-05-20 02:26:27

หน่วยที่ 7

แผนการเรียนรู้ บทที่ ๗

201

พส.9

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 7

รหัสวชิ า 20100-1002 วชิ า วสั ดุชา่ งอุตสาหกรรม ท 2 ป 0 น 2 เวลารวม 2 ชม.

ชอ่ื หนว่ ย..บทที่ 7 วสั ดสุ งั เคราะหแ์ ละธรรมชาติ สัปดาห์ 14/18

เรอ่ื ง..............วสั ดสุ ังเคราะห์และธรรมชาติ จานวน 2 ชม.

1. สาระสาคญั
ตามท่กี ลา่ วมาแล้วว่าเราสามารถนาวัสดุต่างๆ ที่อยูร่ อบๆตัวเรา ซงึ่ บางชนิดเปน็ วสั ดุท่ีไดจ้ ากธรรมชาติ บาง

ชนดิ ได้จากการสังเคราะห์ เราควรรจู้ ักรคุณสมบตั ิ ตลอดการใช้งานของวัสดนุ ้ันๆ เพื่อจะได้นาวัสดุนั้นมาใช้งานอย่าง
มีประสทิ ธภิ าพเราจาเป็นตอ้ งศึกษาให้รูอ้ ย่างระเอียดตอ่ ไป

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
1. บอกชนดิ ของวสั ดสุ งั เคราะหไ์ ด้
2. บอกคุณสมบัติและการนาไปใช้งานของวัสดุสงั เคราะห์ได้

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจขบวนการเรยี นการสอนวัสดสุ ังเคราะหแ์ ละธรรมชาติไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

4. สาระการเรยี นรู้

1. วัสดุสงั เคราะห์
ชนดิ ของวสั ดสุ งั เคราะห์ [Synthetic Matesial]
วสั ดุสังเคราะห์ เป็นวสั ดทุ ผี่ ลติ ข้ึนมาจากกรรมวธิ ที างเคมี เพอื่ ใหเ้ กดิ สารชนดิ ใหม่ หรอื ผลิตวสั ดุ

เพือ่ ทดแทนวสั ดุธรรมชาตทิ ่ีมอี ยู่นอ้ ย ซงึ่ คุณสมบตั ิใกลเ้ คียงกบั วัสดุธรรมชาตหิ รอื นามาใช้ได้ดี
1. แกว้ [Glass]
2. ยาง [Rubber]

3. วสั ดปุ ระสาน [Adhersives]
2. สมบัตแิ ละการนาไปใชง้ านของวสั ดสุ งั เคราะห์

สมบตั แิ ละการนาไปใช้งานของวัสดุสงั เคราะห์

คุณสมบตั ขิ องแก้ว
1. มีความแข็งเปาะ
2. มีความโปร่งใสห่ รอื โปร่งแสง

3. เปน็ ฉนวนไฟฟูาไดด้ ี
4. สามารถทนต่อความร้อนไดด้ ี
5. สามารถปอู งกนั น้าได้ดี

6. สามารถปอู งกนั อากาศไดด้ ี
7. สามารถทนตอ่ อณุ ภูมสิ ูงๆ

202

8. สามารถหลอมเหลวได้ดี
9. ตอ้ งไมม่ กี ลิ่น
10.สามารถทนต่อแรงอดั ปละแรงดึงได้ดี
11.มีการขยายตวั นอ้ ย
12.สามารถทาเปน็ สตี ่างๆได้ดี
คุณสมบตั ิของยาง

เปน็ วัสดทุ ีเ่ รานามาใช้งาน ในอุตสาหกกรมต่างๆ อย่างกว้างขวาง เน่ืองจากมีคุณสมบัติเหนียว
เนื้อแนน่ ยดื หยนุ่ ซึมซับแรงกระแทกได้ดี แบง่ ตามชนิดได้ 2 ประเภท คอื

1. ยางธรรมชาติ
2. ยางสงั เคราะห์
คุณสมบตั ิวัสดปุ ระสาน
วสั ดุประสาน หรือกาว นามาใช้ประสานวสั ดตุ ั้งแต่ 2 ชิ้นขน้ึ ไปใหต้ ิดกัน

วัสดปุ ระสานมี 2 ประเภท คือ
1. วัสดุประสานธรรมชาติ หมายถึง กาวที่ผลิตข้ึนจากธรรมชาติ ซ่ึงอาจได้จากพืชหรือสัตว์

ไดแ้ ก่ กาวพชื กาวยาง กาวเคซนี กาวหนัง
2. วัสดุประสานสังเคราะห์ หมายถึงกาวท่ีได้จากสารสังเคราะห์ โดยมีคุณสมบัติในการยึด

ประสานวัตถุต่างๆ ซ่ึงในปัจจุบันกาวสังเคราะห์เป็นท่ีนิยมนามา ใช้งานกันมาก เพราะ
สามารถงานไดส้ ะดวก มคี วามแขง็ ในการยึดประสานได้ดี
3. ประเภทของวัสดุสังเคราะห์
1. แกว้ [Glass]
2. ยาง [Rubber]
3. วัสดปุ ระสาน [Adhersives]

5.การออกแบบการจดั การเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
6.1 ขน้ั นา
ใช้ปัญหาเป็นสง่ิ เรา้ ความสนใจ
ทดสอบความเข้าใจก่อนเรียน เพอ่ื วัดความรคู้ วามเข้าใจกอ่ นเรียน
6.2 ขน้ั สอน
ยกตัวอย่างประกอบการบรรยายสอดคล้องกับเนือ้ หา
แบง่ กลุม่ การระดมสมอง การแสดงความคิดเหน็ ผา่ นวิธีการตา่ งๆ การอภปิ รายกลุม่ ย่อย
ถามระหวา่ งบรรยาย
6.3 ข้นั สรปุ
สรปุ สาระสาคญั ของการบรรยาย
ซกั ถามหรืออภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็

7. บรรยากาศท่สี ง่ เสริมและพฒั นาผเู้ รียน

203

ผ้เู รยี นมีความสนใจในการเรยี น เนอ่ื งจากการสอนแบบบรรยาย ทาให้ผ้เู รียนได้แบง่ กลุม่ แสดงความคิดเหน็
และได้แลกเปลยี่ นความรู้ สง่ ผลใหเ้ กดิ ผลการเรียนรทู้ ีด่ ี

8. คุณธรรม จริยธรรมประจาหน่วย
นักเรยี นมคี วามรบั ผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รบั ทาใหง้ านสาเรจ็ ลุลว่ ง และมีความตรงต่อเสลาการการเข้าเรยี นตาม
เวลาท่กี าหนด

9. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
พาวเวอรพ์ อ้ ยท์ เร่อื ง วสั ดุสงั เคราะหแ์ ละธรรมชาติ
ใบความรู้ เร่อื ง วัสดสุ งั เคราะหแ์ ละธรรมชาติ
วดิ โี อ เรื่อง วัสดุสังเคราะหแ์ ละธรรมชาติ
10. การวัดผลและประเมนิ ผล
แบบทดสอบท้ายบทเรยี น เรือ่ ง วัสดุสงั เคราะห์และธรรมชาติ
แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง วัสดุสงั เคราะหแ์ ละธรรมชาติ
แบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง วสั ดสุ ังเคราะห์และธรรมชาติ

11. หลักฐานการเรยี นรู้
7.1 เอกสารประกอบการสอนฯ บทท1่ี วัสดุอตุ สาหกรรม
7.2 แบบฝึกหดั ท่ี 1
7.3 เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี 1
7.4 แบบทดสอบ
7.5 เฉลยแบบทดสอบ

12. เอกสารอ้างองิ
9.1 หนังสือเรยี น วัสดชุ ่างอุตสาหกรรม สานักพมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากัด
9.2 หนงั สอื เรียน วสั ดชุ า่ งอุตสาหกรรม สานกั พมิ พจ์ ิครวฒั น์
9.3 หนังสือเรยี น วสั ดุช่างอตุ สาหกรรม สานักพิมพแ์ ว่นแก้ว แอด็ ดูเทนเมน้ ท์ จากดั
9.4 หนงั สอื เรยี น วสั ดชุ า่ งอุตสาหกรรม สานักพิมพศ์ ูนย์ส่งเสรมิ อาชีวะ

204

พส.11
บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้
รหัสวิชา...........................ชือ่ วิชา.........................................................................................ระดบั ชัน้  ปวช.  ปวส.
สาขางาน..............................................................................................สปั ดาห์ท่ี..........วนั ทส่ี อน..............................................
หน่วยท.ี่ ...........ช่อื หน่วย......................................................................................................................จานวน................ชวั่ โมง
จานวนผู้เรยี น..........................คน มาเรยี น........................คน ขาดเรยี น.........คน ลาปวุ ย.........คน ลากจิ ..........คน

1. ผลการจดั การเรียนรู้
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………….…………
……………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ปญั หาและอปุ สรรค
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..….…………………………
……………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………….…………
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..….…………………………
……………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………

ลงชอ่ื .......................................................ครูผู้สอน
(............................................................)
........../................/............

ความเหน็ ................................................................................. ความเหน็ .................................................................................
................................................................................................ ................................................................................................

ลงชอ่ื ...............................................หัวหน้าแผนกวิชา ลงช่ือ............................................รองผู้อานวยการฝุายวิชาการ
(............................................................) (นางสาวนศิ ากร เจริญดี)
............/................../............
............/................../............

ความเห็นผู้อานวยการ.................................................................................
....................................................................................................................

ลงชอื่ ...........................................
(นางสาวสุมนี า แดงใจ)

ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั การอาชีพนครปฐม
............/................../............

205
พส.12

ใบความรู้ (Information Sheets)

รหัสวิชา…20100 – 1002….วชิ า………………วัสดุช่างอตุ สาหกรรม………………………………

ชอื่ หน่วย บทท่ี 7 วสั ดุสงั เคราะห์และธรรมชาติ

เรอ่ื ง วัสดุสังเคราะห์และธรรมชาติ จานวนชว่ั โมงสอน........2........

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ รายการเรยี นรู้

- จุดประสงคท์ วั่ ไป 1. บอกชนิดของวัสดสุ งั เคราะหไ์ ด้
นกั เรยี นมคี วามร้คู วามเข้าใจขบวนการเรียนการสอน 2. บอกคณุ สมบัติและการนาไปใช้งานของวสั ดุ
สังเคราะห์ได้
วสั ดกุ อ่ สรา้ ง
- จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1 ชนดิ ของวสั ดุสังเคราะห์
2. สมบตั แิ ละการนาไปใชง้ านของวสั ดสุ ังเคราะห์

เน้ือหาสาระ
ปจั จบุ ันอตุ สาหกรรมแขนงต่างๆ มีการเจริญเตบิ โต และแขง่ ขันกนั อย่างมาก เชน่ อุตสาหกรรมรถยนต์

เคร่ืองใชไ้ ฟฟูา และอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ โดยมกี ารนาวัสดสุ งั เคราะหม์ าใช้ทาส่วนประกอบมากขน้ึ เพอื่ พฒั นาท้ัง
รูปร่าง และคณุ สมบตั ิ ให้มีคณุ ภาพดีข้นึ จึงอาจกลา่ วไดว้ า่ ปจั จบุ ันเปน็ ยุค “วัสดสุ งั เคราะห”์
7.1ความหมายของวสั ดุสังเคราะห์
วัสดสุ ังเคราะห์ หมายถึง วสั ดุท่เี กิดจากการนาแรธ่ าตุ และสารเคมมี าผา่ นขบวนการทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยการทา
ปฏิกริ ยิ าทางเคมี เพื่อใหเ้ กดิ เป็นวสั ดุขนึ้ ซึ่งวสั ดทุ ไ่ี ด้จากการสงั เคราะหจ์ ะมีคณุ สมบตั เิ ฉพาะตัว เช่น น้าหนกั เบา มี
ความแข็งแรงสงู คงทนตอ่ การกัดกร่อน คงทนตอ่ อุณหภมู ิ คงทนต่อสารเคมี และนามาใชใ้ นอตุ สาหกรรมทกุ แขนง
ในปัจจบุ ัน
วัสดธุ รรมชาติ หมายถึง วสั ดุที่ไดจ้ ากผลผลิตตามธรรมชาติ และนามาเปน็ ผลิตภัณฑต์ า่ งๆ ที่ใช้ประโยชน์โดยทว่ั ไป
เช่น ยางธรรมชาติ หนังแท้ ใยหนิ ฯลฯ

ประวตั คิ วามเป็นมาของพลาสตกิ ในปี พ.ศ. 2382 ชารล์ กดู๊ เยยี ร์ ไดค้ น้ พบกรรมวธิ ีผลติ ยางแข็งจากยาง
ธรรมชาติ เพ่ือนามาใชใ้ นการทารองเทา้ ยาง ยางทผ่ี ลติ ไดใ้ นระยะแรกๆ นั้น จะมคี วามหยุน่ น้อย ทนตอ่ การฉีกขาก
ได้ไมด่ นี ัก ทาให้ผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ดใ้ นขณะน้นั คุณภาพไมด่ เี ทา่ ทคี่ วร เชน่ เซลลูลอยด์ (Celluloid) หรอื Cellulose
Nitrateโดยการนาเอาไพรอกซนี ซง่ึ ได้จากฝูายกบั กรดไนตรกิ มาผสมกบั การะบรู ทาเปน็ ลูกบลิ เลียดแทนลูก
บิลเลียดแบบเดมิ ซงึ่ ทาดว้ ยงาชา้ ง หลงั จากน้นั ต่อมาได้มกี ารคน้ พบพลาสตกิ ข้ึนมาอกี หลายชนิด

วสั ดุสงั เคราะหช์ นิดตา่ งๆ
7.2.1 พลาสตกิ (Plastic)
พลาสติก เปน็ วสั ดสุ งั เคราะห์ และเป็นวสั ดชุ า่ งทเี่ รารู้จกั และนามาใช้งานในอตุ สาหกรรมตา่ งๆ อย่าง
กวา้ งขวาง เน่ืองจากพลาสติกมีคณุ สมบตั ิบางอยา่ งเปน็ เลิศ เช่น ไมเ่ กิดการกดั กรอ่ น แข็งแรง เปน็ ฉนวนไฟฟาู ทน
ต่อสารเคมี เหนียว พลาสตกิ สว่ นใหญ่ได้จากสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนซ่ึงประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน

206

ออกซเิ จน และครอรีน ซึ่งได้มาจากผลพลอยไดจ้ ากการกล่นั นา้ มันปโิ ตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ และยงั มพี ลาสตกิ
บางอยา่ งทไี่ ด้จากผลิตผลทางการเกษตร

พลาสติกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื
1. เทอรโ์ มพลาสตกิ (Thermoplastic)

เทอร์โมพลาสตกิ หมายถึง พลาสตกิ ท่ีนาไปทาผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ต่างๆ แลว้ เมื่อนาไปใช้งานแล้วเกดิ ชารุด หมด
สภาพการใชง้ านแล้วสามารถนากลบั มาหลอมละลลายขน้ึ เปน็ รปู เป็นผลิตภัณฑใ์ หมไ่ ด้ พลาสตกิ ชนิดนมี้ ีอยหู่ ลาย
ชนิดคือ

1.1 เซลลโู ลซกิ (Cellulosics)
เปน็ พลาสตกิ ที่ได้จากเยื่อเซลลูโลส(Cellulose Fiber) ฝุาย (Cotton) และพืชชนิดอน่ื ๆ เป็น

พลาสตกิ ทมี่ คี วามแข็งแรง ทนความร้อน เป็นฉนวนไฟฟาู เซลลูโลซกิ ทีน่ ามาใชง้ านมหี ลายชนดิ คือ
1.1.1 เซลลูโลสไนเตรด (Cellulose Nitrate) ค้นพบและนามาใชง้ านในปี ค.ศ. 1869 ใชท้ า

ลูกบลิ เลยี ด ฟนั ปลอม ส้นรองเทา้ ลกู ปงิ ปอง น้ายาเคลอื บผา้ (Fabric Coating)
1.1.2 เซลลูโลสอะซเี ทต (Cellulose Acetate) คน้ พบในปี ค.ศ. 1927 ใชท้ าเทปบันทกึ เสยี ง

ฟลิ ์มถ่ายภาพ และของเด็กเลน่
1.1.3 เซลลโู ลสอะซเี ทต บวิ ทะเรต (Cellulose Acetate Butyrate) คน้ พบในปี ค.ศ. 1938

ใช้ทาพวงมาลยั รถยนต์ ตวู้ ิทยุ ด้ามเคร่อื งมอื
1.2อะซที ลั (Acetals)

เป็นพลาสตกิ ท่คี ้พบในปี ค.ศ. 1906 เปน็ พลาสตกิ ทแี่ ขง็ แรง ทนทานรบั แรงไดด้ ี ล่นื คล้ายเทียนไข นามาใช้งาน
ด้านวิศวกรรมทาช้ินสว่ นท่ตี ้องเคล่ือนไหวต่างๆ ช้นิ ส่วนของเคร่อื งจกั รกล เครื่องยนตต์ ่างๆ เช่น เฟือง แบรง่ิ บูช
ลกู กล้ิง ซง่ึ จะมีผลทาให้เครอ่ื งจกั รกล ทางานได้นุ่มนวล และเสียงเงียบลง ลดปญั หาเกย่ี วกบั การหลอ่ ลน่ื ช้นิ ส่วน

รปู ท่ี 7.1 การนาอะซที ลั มาผลติ ชิน้ สว่ นต่าง ๆ

1.3โพลิเอมาย (Polyamides)
พลาสตกิ ชนิดนีอ้ าจเรียกว่า ไนลอน (Nylon) คน้ พบและนามาใช้งานอตุ สาหกรรมในปี ค.ศ. 1933
เป็นพลาสตกิ ท่นี ้าหนกั เบา รับแรงอัดไดด้ ี ทนความร้อน ทนการขดี ข่วน เป็นฉนวนไฟฟูา นามาทาเปน็ เสน้ ใย ใช้
เปน็ ถงุ เทา้ เอน็ ตกปลา ขนแปรงสีฟนั

207

1.4โพลิโอเลฟิน (Polyolefins) ทีน่ ามาใชง้ านมหี ลายชนดิ คือ
1.4.1 โพลเิ อทลิ นี (Polyethylene) คน้ พบในปี ค.ศ. 1933 มลี กั ษณะคล้ายขผ้ี ้งึ นา้ ไม่เกาะติด

ผวิ เป็นฉนวนไฟฟูา เปน็ พลาสติกทมี่ ปี รมิ าณการนามาใชง้ านมากทีส่ ดุ ในประเภทเทอรโ์ มพลาสตกิ นาไปใชท้ าถุง
บรรจุอาหาร ของเด็กเลน่ พลาสตกิ และยังนามาใชว้ สั ดเุ คลอื บโลหะเพอ่ื ปอู งกันสนิม เช่น ชั้นวางของต่างๆ เปน็ ตน้

1.4.2 โพลโิ พรพลิ นิ (Polypropylene) คน้ พบในปี ค.ศ. 1957 มคี ุณสมบัติคล้ายโพลเิ อทิน
แต่มีความแขง็ แรงทนทานมากกว่า นามาใชท้ าถงุ บรรจุอาหารชนิดรอ้ น แถบพลาสติกมัดของ เชือกปอพลาสติก
กลอ่ งแบตเตอร่ี หมวกกันนอ็ ก

1.5ไวนิล (Vinyl)
พลาสตกิ ชนดิ นคี้ ้นพบ และนามาใชง้ านในปี ค.ศ. 1933 ไวนลิ ทนี่ ามาใช้งานมหี ลายชนดิ คือ
1.5.1 Polyvinyl Acetate (PVA) เปน็ พลาสติกที่นามาใช้ทาสี เรยี กวา่ สีนา้ พลาสตกิ และ

นามาทากาว เรยี กวา่ Latex
1.5.2 Polyvinyl Choloride (PVC) ทนตอ่ สารเคมี เหนยี วทนทาน นามาทาทอ่ นา้ และทา

ฉนวนหุ้มสายไฟฟูา
1.5.3 Polyvinyl Choloride Acetate เปน็ พลาสติกทอี่ อ่ นเนือเ้ หนียว ฉีกขาดยาก นามาทา

พลาสตกิ แผ่นผนื เปน็ วสั ดกุ นั ฝน
1.6อะครลี กิ (Acrylics)
เปน็ พลาสตกิ ทน่ี ามาใช้งานในอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1936 เป็นพลาสติกทม่ี เี น้ือใสทนต่อแสง

อตุ ราไวโอเลต เป็นฉนวนไฟฟาู นาไปทาปูายโฆษณาตา่ งๆ เลนสแ์ ว่นตา เฟอรน์ ิเจอร์ พลาสตกิ สาหรบั อดั กรอบพระ
เป็นตน้

1.7โพลิสไตรนี (Polystyrene) เป็นพลาสตกิ ท่นี ามาใชง้ านในอตุ สาหกรรม ในปี ค.ศ. 1938 เปน็
พลาสตกิ ที่นา้ หนกั เบาเป็นฉนวนไฟฟูา ทนตอ่ ความรอ้ นไดด้ ีพอสมควร มเี นอื้ ใส นามาใช้ทากล่องบรรจตุ า่ งๆ เช่น
กลอ่ งลูกกวาด ไมบ้ รรทัด ตะเกียบ ของเด็กเล่นตา่ งๆ และนามาใชผ้ ลิตเป็นโฟม ใช้ทากล่องบรรจกุ นั กระแทก เปน็
ฉนวนกันความรอ้ น กันเสยี ง และใช้ตดั เปน็ ตวั หนงั สอื สาหรบั ตกแต่ง เป็นต้น

1.8ฟลอู อโรคารบ์ อน (Fluorocarbons) เป็นพลาสติกท่คี ดิ คน้ ขนึ้ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1943 เป็น
พลาสตกิ ทีม่ ีคณุ สมบตั ิ คือ เป็นฉนวนเคลอื บภายในภาชนะ เชน่ หมอ้ กระทะ เพอ่ื ปูองกนั การติดผิวภาชนะ ทา
ปะเก็น (Gasket) สาหรบั เครื่องจกั ร เครื่องยนต์ ทาแหวนลกู สบู (Piston Ring) วาล์ว (Valve)

1.9 โพลินคาร์บอเนต (Polycarbonate) เป็นพลาสตกิ ท่นี ามาใชง้ านอตุ สาหกรรม ในปี
ค.ศ. 1957 ซงึ่ เปน็ พลาสติกใส มีความแขง็ แรงมากทสี่ ดุ ทนความรอ้ น และสารเคมีได้ดี นามาใช้ทาขวดนมเด็ก
ชนิดดี เคร่ืองใชไ้ ฟฟาู ดา้ มเครื่องมอื ต่างๆ แวน่ ตากนั แดด และตัวกลอ้ งถ่ายภาพ เปน็ ต้น

1.10 ไอโอโนเมอร์ (Ionomer) เปน็ พลาสตกิ ที่ค้นพบ และนามาใช้ในปี ค.ศ. 1964 เปน็
พลาสตกิ ที่ใส และเหนียวทนต่อกรด และดา่ งไดด้ ี สามารถเชอ่ื มใหล้ ะลายติดกันด้วยความรอ้ น นามาใช้ใน
อุตสาหกรรมบรรจตุ า่ งๆ เชน่ ขวดบรรจุของเหลว เครอ่ื งมอื ลกู กอล์ฟ

1.11 โพลิซลั โฟน (Polysulphone) เปน็ พลาสติกทค่ี ้นพบเมอื่ ปี ค.ศ. 1965 เป็นพลาสติก
ทท่ี นความรอ้ นได้สงู ทนแรงดึงแรงอดั ไดส้ งู ทนต่อกรดด่าง และเป็นฉนวนไฟฟูาทีด่ ีมาก นามาใช้ทาฝาครอบ หรอื
ตวั เครือ่ ง และอุปกรณ์ไฟฟาู และยังนามาทาน้ายาเคลอื บผิวไฟฟูา (Wire Coating)

1.12 โพลิเอสเทอร์ (Polyester) เป็นพลาสติกชนดิ เทอรโ์ มพลาสตกิ ทม่ี ีชอ่ื เหมือนกบั
พลาสตกิ

208
เทอโมเซตต้งิ มคี วามเหนียวทนความรอ้ นได้ดี แข็งแรงทนทานมาก นาไปใชท้ าชนิ้ ส่วนของรถยนต์ เชน่ กันชน
รถยนต์ ขวดบรรจุน้ามันพืช นามาทาเสน้ ใยทอผา้ เป็นต้น

2. เทอร์โมเชตต้ิง (Thermosetting)
เทอรโ์ มเชตติง้ เปน็ พลาสติกที่ได้รบั ความร้อนในครัง้ แรกจะอ่อนตวั เพื่อสามารถนามาขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ
แลว้ จะแข็งตัวคงสภาพ ไม่สามารถนากลับหลอมละลายไดๆ้ ใหม่ พลาสติก ประเภทนี้มอี ยู่หลายชนดิ คอื

2.1ฟินอลกิ (Phenolic) พลาสตกิ ทค่ี ้นพบ และนามาใชง้ านในปี ค.ศ. 1909 โดยมีชอื่ เรียก
ทางการคา้ ว่าเบเกอรไ์ ล์ท เป็นพลาสติกทมี่ คี วามแขง็ แกรง่ ทนตอ่ ความความร้อนไดด้ ี และเป็นฉนวนไฟฟูา นาไปใช้
ผลติ เปน็ อปุ กรณ์ทางไฟฟาู เชน่ โครงตวู้ ิทยุ โครงตู้โทรทศั น์ ฝาครอบจานจ่ายรถยนต์ หูหม้อ หกู ระทะไฟฟูา ดา้ น
จับเตารีด และยงั นามาทากาวสงั เคราะหส์ าหรับผลติ ไม้อัดชนิดกันน้า

ภาพที่ 7.2 การนาฟินอลกิ มาผลิตจานจา่ ยเครอื่ งยนต์

2.2 อะมิโน (Amino) เป็นพลาสติกทรี่ บั แรงอัด และแรงบดิ ไดด้ มี าก ทนตอ่ อุณหภูมิไดส้ งู มี
เน้อื แข็งทนตอ่ การขดู ขีดได้ดี อะมโิ นแบง่ ออกได้เป็น 2 ชนิด คอื

2.2.1 ยเู รยี (Urea) นามาใชง้ านในปี ค.ศ. 1929 โดยนามาทากาวสังเคราะห์ สาหรบั ประสาน
ไมอ้ ัดประเภทต่างๆ เชน่ ไม้อดั แผน่ เรยี บ ชิบบอร์ด อปุ กรณไ์ ฟฟาู และนา้ ยาเคลือบผวิ

2.2.2 เมลามนี (Melamine) นามาใช้งานในปี ค.ศ. 1939 โดยนามาผลิตเป็นภาชนะต่างๆ
เชน่ จาน ชาม แกว้ ถาด และนามาทาเปน็ แผน่ โฟไมก้า (Formica) เป็นต้น

2.3ซลิ ิโคน (Silicone)
เป็นพลาสตกิ ทน่ี ามาใช้ในอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1930 นามาใช้ทงั้ รปู ของเหลว และแบบคงรปู
ทนต่อความรอ้ น และความเย็นได้ดี เปน็ ฉนวนไฟฟาู นามาใช้ทายางขอบกระจก ยางปู พ้นื กันลน่ื
ทาแบบหลอ่ ซลิ ิโคนเหลวลนามาใชท้ าเคร่ืองสาอาง กาวประสานรอยตกู้ ระจกเลี้ยงปลา เปน็ ต้น

ภาพท่ี 7.3 การนาซลิ โิ คนมาผลิตแบบหล่อโลหะ
2.4โพลนิ ยเู รเทน (Polyurethane)

209
เปน็ พลาสตกิ ทนี่ ามาใชง้ านอตุ สาหกรรมในปี ค.ศ. 1954 เปน็ พลาสตกิ ทที่ นการสึกกร่อนได้ดี
เหนียว ทนตอ่ สารเคมี เปูนฉนวนไฟฟูาทด่ี ี นามาใช้ทาหนงั เทียม น้ายาเคลือบผวิ วัสดุ และยงั
นามาทาโฟม ซงึ่ 2 ชนิดคอื
2.4.1 โฟมชนดิ อ่อนตวั (Flexible Foam) หรอื ฟองนา้ ใช้ทาเบาะรถยนต์ เบาะเฟอร์นเิ จอร์

ตา่ งๆ ท่นี อนฟองน้า
2.4.2 โฟมชนิดแข็งตวั (Rigid Foam) ใชฉ้ ีดเข้าภายในปีเครื่องบิน ทอ้ งเรอื ผนงั ห้องเย็น เพอื่

เพิ่มความแขง็ แรง และเป็นฉนวนกนั ความรรอ้ น
2.5โฟลีเอสเตอร์ (Polyester)

เปน็ พลาสตกิ ทีนามาใช้งาน ปี ค.ศ. 1974 เป็นฉนวนไฟฟาู ทด่ี ี ทนตอ่ กรดชนิดออ่ นได้ ไม่ทนต่อ
สารละลาย เชน่ คาร์บอนเตทตาคลอไรต์ และอะซีโทน นาไปทาเป็นผลติ ภัณฑไ์ ฟเบอร์กลาส เชน่
โครงหลงั คารถยนต์ ถังนา้ สาเร็จรปู ชน้ิ สว่ นเครื่องบิน เฟอรน์ ิเจอรต์ ่างๆ และสรี ถยนต์ เปน็ ตน้
2.6อีพอกซี (Epoxy)
เปน็ พลาสตกิ ท่ีนามาใช้ในอตุ สาหกรรมในปี ค.ศ. 1974 เปน็ พลาสตกิ ทร่ี บั แรงอัด และแรง
กระแทก มกี ารหดตัะวน้อยมาก เปน็ ฉนวนไฟฟูา ทนตอ่ ความร้อนไดส้ งู ในรปู ขแงเหลว นามาใช้
ทากาวสังเคราะหส์ าหรบั ติดโลหะ ซงึ่ มคี ณุ สมบตั เิ กาะได้ดีมาก และสามารถนามาเป็นไฟเบอร์
กลาสชนิดใช้เป็นส่วนของเคร่อื งบนิ และรถยนต์

ตวั อย่างการนาไปใช้งานของพลาสติก

รปู ท่ี 7.4 เรือนเสื้อเครื่องระบายอากาศ (Ventilator) ทาจาก PVC ชนดิ แข็ง
(แหลง่ ทมี่ า:จากหนงั สอื ในบรรณานกุ รมลาดบั ท่ี 25 หน้า 82)

(ก) (ข) (ค)
รปู ท่ี 7.5 ตวั อยา่ งชน้ิ สว่ นทาจาก PVC ชนิดอ่อน (แหลง่ ทม่ี า:จากหนงั สอื ในบรรณานกุ รมลาดบั ที่

210

25 หน้า 80, 82) (ข) ถงุ มือปอู งกัน
(ก) ปล๊ักไฟฟาู

(ค) ท่อสายยาง

รปู ที่ 7.6 ตวั อย่างการใชง้ านสาหรับโพลีนเอทลิ นี (Polyethylene)
(ก) ถงั ใสน่ า้ มนั เชอ้ื เพลิง
(ข) แผ่นใสพลาสตกิ
(ค) กล่องเครอื่ งมอื

รูปท่ี 7.7 โต๊ะเกา้ อที้ าจากโพลีเอสเตอร์

รูปที่ 7.8 ถงุ เทา้ ทาจากไนลอ

211

รูปที่ 7.9 มือถอื เครอื่ งใช้ไฟฟาู ทาจากพโี นลคิ รูปท่ี 7.10 ผลิตภณั ฑท์ าจากเม
ลามนี

รูปที่ 7.11 หน้าปัดนาฬกิ ารทาจากอะครลี ิค
การข้นึ รปู พลาสติก

ผลติ ภัณฑพ์ ลาสติกจะขึ้นรปู โดยไมม่ ีการตดั เฉือน (Non-Cutting), พลาสตกิ ออ่ น (Thermoplastic)
เชน่ อา่ งนา้ ขวดพาลาสติกต่างๆ จะผลติ โดยการหลอ่ แบบฉดี (Injection Mould) เปาุ ในแบบขึ้นรปู
และวสั ดกุ ง่ึ สาเรจ็ รปู เชน่ เปน็ แผ่น, แผ่นบาง (Foil), รูปพรรณต่างๆ และท่อ จะผลิตโดยการอัดรีด
(Extrusion Press) และรีดม้วนหลายคร้ัง (Calendering) ขึ้นรูปได้

รปู ท่ี 7.12 เครอ่ื งรีดแผ่นพลาสติกใหบ้ าง (แหลง่ ทีม่ า:จากหนงั สือในบรรณานกุ รมลาดับท่ี 20)

212

รปู ท7ี่ .13 เครอื่ งอดั รดี พลาสตกิ (แหลง่ ที่มา:จากหนงั สือในบรรณานกุ รมลาดับท่ี 17)
ก. กรรมวธิ ผี ลติ แบบคาเลนเดอริ่ง (Calendering)

พลาสตกิ แผ่นบาง (Foil) จะผลติ โดยวิธนี ้ี โดยชดุ คาเลนเดอริ่งนี้จะเปูนลกู กลงิ้ 3-4 ลกู ท่ีถกู ทา
ใหร้ อ้ น เพอื่ จะไดร้ ีดพลาสตกิ PVC ใหเ้ ปน็ แผ่นบางลงได้ตามขนาดท่ีตอ้ งการ
ข. กรรมวิธีแบบอดั รดี (Extrusion Press)
สามารถผลิตพลาสติกรปู พรรณ (Profile) แทง่ ทอ่ แผ่นบางๆ การผลิตกระทาโดยมีเกลียวตัว
หนอนทห่ี นุนอยู่หมนุ ขบั พลาสตกิ ผงจากกรวยผา่ นกระบอกสูบทถี่ ูกทาใหร้ ้อน เพ่ือให้พลาสตกิ
ละลายแล้วอดั เคลอื่ นดว้ ยเกลยี วไปยงั รูดา้ นซา้ ยสดุ ผ่านปากนารอ่ ง (Orifice) จะมรี ูปร่างคลา้ ย
รูปพรรณทต่ี อ้ งการผลิต

รูปท่ี 7.14 แผนภมู ทิ ี่มาของพลาสติกอ่อน 5 ประเภท (แหลง่ ท่ีมา:จากหนังสอื ในบรรณานกุ รมลาดับที่ 17)

213

รปู ที่ 7.15 เครอื่ งฉดี พลาสตกิ แบบใช้เกลียวตัวหนอน
ตารางที่ 7.1 แสดงข้อแตกตา่ งของพลาสตกิ ออ่ นแต่ละชนดิ

214
รูปที่ 7.16 ตวั อยา่ งการเกิดโมเลกลุ ใหญโ่ ดยผา่ นการโพลนี เมอรไรเซช่ัน (Polymerization)

215

3. ยางสงั เคราะห์ (Synthetic Rubber)
เน่ืองจากในสมัยสงครามโลกครงั้ ทส่ี อง ยางธรรมชาติเกดิ ขาดแคลนอยา่ งมาก ทงั้ ในยุโรป และ
อเมริการจงึ มกี ารผลติ ยางสงั เคราะหข์ ึน้ มาใชง้ านมากขน้ึ ซงึ่ ผลิตขึน้ มาจากผลติ ภัณฑป์ โิ ตเลียม และ
ไดจ้ ากการทาปฏกิ ิรยิ ากันของสารเคมี ซงึ่ ยางสงั เคราะห์บางชนดิ ก็มีคุณสมบตั ิใกลเ้ คียงกับยาง
ธรรมชาติ บางชนิดมีคุณสมบัติเฉพาะ เชน่ เน้ือเหนียว ยดื หยุน่ ทนต่อสารเคมี ทนต่ออณุ หภมู ิ และ
น้ามนั แร่ ยางสงั เคราะหท์ ส่ี าคญั คือ
3.1ยาง GR-S (Government Rubber-Styrene)
ผลติ ขึน้ จากถา่ นหนิ หินปนู เกลอื และน้า มคี ณุ สมบัติคล้ายคลึงกบั ยางธรรมชาตมิ ากกอ่ นทจี่ ะ
นาไปใช้งานตอ้ งผ่านกรรมวิธี Valcanization เปน็ ยางท่นี าไปผลิตเป็นยางรถยนต์
3.2ยางบนู า่ (Buna Rubber) เปน็ ยางสังเคราะห์ แบง่ เป็น 2 ชนิด คือ
3.2.1 Buna-S มคี ุณสมบตั เิ นอ้ื แน่น แก๊สซมึ ผา่ นไดย้ าก ทนต่อการสกึ หรอ ทนตอ่ แรงดัน และ
การเสยี ดสี ใชท้ าสายพานลาเลียง
3.2.2 Buna-N มีคณุ สมบตั ทิ นตอ่ สารเคมีตา่ งๆ และน้ามันแร่ ใชท้ าทอ่ สง่ น้ามันเคร่อื งใน
เครอ่ื งยนต์ และทอ่ ไฮดรอลกิ

รปู ที่ 7.17 การนายางสงั เคราะหม็ าผลติ สายพาน

216

3.3ยางบทู ลิ (Butyl Rubber)
เป็นยางสงั เคราะหท์ ่ีไดจ้ ากปโิ ตรเลียม มคี ุณสมบัติยดื หยนุ่ รบั แรงกระแทก เนอื้ แน่น แก๊ส หรือ
ของเหลวซมึ ผา่ นไดย้ าก ทนต่อแรงดัน ใชท้ ายางในรถยนต์ ทอ่ ในระบบไฮดรอลกิ

3.4ยางไทโอโค (Thioko Rubber)
เปน็ ยางสังเคราะห์ของสารอินทรยี โ์ พลซี ัลไฟต์ มีคุณสมบัตทิ นทานตอ่ นา้ มนั แร่ และสารเคมี ใช้
ทาทอ่ ระบบนา้ มันในเครอ่ื งยนต์

3.5ยางซิลโิ คน (Silicone Rubber)
เป็นยางสงั เคราะหท์ ผี่ ลิตได้จากซลิ ิโคน ออกซเิ จน ไฮโดรเจน และคาร์บอน มีคณุ สมบัตยิ ดื หยุน่ ได้
ดแี ม่อยู่ในอุณหภูมสิ งู หรอื ตา่ ทนสารละลายกรด และนา้ มนั แร่ ใช้ทาท่อยางแผ่นประเก็น เพอื่
ปูองกนั กนั รั่วซมึ ของน้ามนั ฉนวนห้มุ สายเคเบลิ

3.6ยางไนตรลิ
เปน็ ยางสงั เคราะหท์ มี่ คี ณุ สมบัตทิ นตอ่ น้ามัน นามาใช้ทาท่อยางนา้ มนั ประเก็น

รปู ที่ 7.18 ยางรถยนตท์ าจากยางบนู า เอส
ตารางท่ี 7.2 เปรยี บเทียบคณุ สมบตั ขิ องยางธรรมชาตกิ บั ยางเทยี ม

ข้อควรระวงั ในการเก็บรักษายางธรรมชาตแิ ละยางเทียม

217

1. เกบ็ ไวใ้ หห้ า่ งจากเปลวไฟ หรอื ความรอ้ น
2. เก็บยางไม่ให้กระทบกบั สารทองแดง และสารแมงกานสี ยางจะแตกตวั เสื่อมคุณภาพ
3. คลุกผิวยางดว้ ยแปงู เม่ือต้องการเกบ็ ยางนานๆ
4. ควรเกบ็ ไว้ในอุณหภมู ปิ กติ (20 – 25 C) และมอี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี
5. เกบ็ ไวใ้ หห้ ่างจากน้ามนั แร่ เช่น น้ามนั เบนซนิ น้ามันกา๊ ด เพราะ น้ามนั ทาให้ยางบวม
6. ควรเกบ็ ยางใหห้ า่ งจากสารเคมตี ่างๆ เพราะอาจทาให้ยางเสอ่ื มคุณภาพ
4. สี (paint) เปน็ วสั ดทุ สี่ าคัญไม่นอ้ ยในวงงานอตุ สากรรม และการกอ่ สร้าง เพอ่ื ใหด้ ูสวยงาม
แลลดการกัดกรอ่ น ทนต่อแดดและฝน ปอู งกนั การทาลาสยของแมลงบางชนดิ เป็นต้นสที ที่ า หรอื พ่นลงไป
บนวัสดใุ ดๆ จะปรากฏเป็นฟลิ ม์ เคลือบทบั ผิวนั้นๆ ไวเ้ ปนู การปกปดิ ผวิ มใิ หก้ ระทบกับอากาศ และตดิ ผวิ งาน
แนบสนทิ ไมห่ ลุดหรอื รอ่ นไดง้ า่ ย
สแี บ่งออกเปน็ ประเภทใหญๆ่ ได้ 4 ประเภท คือ
ก. สีน้ามัน (Oil Paint)
ข. สเี คลอื ก (Enamel Paint)
ค. สีพลาสตกิ รหรอื สนี า้ (Water or Plastic Emulsion Paint)
ง. สนี า้ ปนู (Thined-Hydrated Lines)
สีต่างประเภทกันจะมสี ารตา่ งๆ ในเนอ้ื ของสีต่างกัน ในการใชง้ านจะใช้ผสมสลบั กนั ไปสลบั กันมา
ไมไ่ ดต้ ามใจชอบ จงึ ควรรูจ้ กั การใชส้ ดี งั นี้
1. สีน้ามัน เปนู สีทรี่ ู้จกั ใช้งานกนั มานานแล้ว ทา และพน่ ได้ง่ายบนพืน้ ผิวทงั้ ทเ่ี ป็นโลหะ และ

อโลหะ สมี สี ว่ นประกอบตา่ งดังนี้
1.1ผงสีพ้ืน (Base) เปน็ ผงวัสดุทที่ าใหเ้ นื้อสเี กาะตดิ แน่นกบั ผวิ งานโดยทั่วไปจะเปน็ ผงตะกวั่

ขาว ตะกั่วแดง สงั กะสอี อกไซด์ เหลก็ ออกไซด์ ฯลฯ
1.2ผงแมส่ ี (Pigment) เป็นผงสีทจี่ ะไปเคลอื บผงพื้นสีใหเ้ กดิ สตี ามต้องการ ส่วนใหญ่ได้มา

จากธาตุต่างๆ เชน่ สีดาไดจ้ าก กราฟไฟต์ สีเขียวไดจ้ าก คอปเปอรซ์ ลั เฟต สีนา้ เงนิ ได้
จาก โคบอลต์ ฯลฯ
1.3นา้ ยาซกั แห้ง (Direr) เป็นนา้ ยาทีช่ ว่ ยใหน้ า้ ยาละลายสีระเหย หรือแหง้ เรว็ ขน้ึ เพราะ
นา้ ยาละลายสีนน้ั แหง้ ช้ามาก ส่วนมากทามาจากสารละลายตะกว่ั แดง แมงกานีสได
ออกไซด์ หรอื สงั กะสีซลั เฟต ฯลฯ
สนี ้ามนั ทม่ี ีจาหนา่ ยในทอ้ งตลาดมลี กั ษณะใชง้ านต่างกนั ไปทง้ั เป็นสรี องพื้น และสจี รงิ (สี
สาเรจ็ ) เช่น สรี องพน้ื สีอลมู เิ นียม สียาง สที าทอ้ งเรือ ฯลฯ
2. สีเคลอื บ เปน็ สที ี่ผสมผงแมส่ กี บั นา้ มันวารน์ ชิ มีความคงทนต่อรังสอี ุลตราไวโอเลตเป็น
พิเศษ ใช้สาหรบั พน่ สรี ถยนต์ มีทั้งชนดิ แหง้ เร็ว และแหง้ ชา้ บางชนดิ จะต้องอบด้วยอณุ หภูมสิ งู หลงั การพน่ เพอื่ ให้
สตี ดิ แนน่ กับโลหะ บางชนิดจะมีโลหะทบ่ี ดเปน็ ผงละเอยี ดผสมอยดู่ ้วยเพอ่ื ทาใหส้ นี นั้ มีความแวววาว ที่มีวางขาย
ตามท้องตลาดในช่อื ที่เรยี กกันโดยท่ัวไปว่า “สีเมตัลลิค” (Metalic Paint) ซง่ึ สชี นิดนมี้ คี วามไวไฟมาก ในขณะที่
ผสม หรอื พน่ สปี ระเภทน้ี หา้ มไม่ให้สบู บหุ รี่ หรือปฏิบตั งิ านเชื่อมโลหะอยใู่ นบรเิ วณเดียวกัน
วธิ ีผสมชนดิ นีใ้ หล้ ดความเข้มลงมาด้วยน้ามนั สน หรอื น้ามันกา๊ ดชนดิ ไม่มีกล่ิน และมีจุดเดือดประมาณ 130-160
องศาเซลเซียส

218

3. สีพลาสติก หรือสนี ้า เปน็ สผี สมพลาสติกชนดิ โพลีไวนอี าซเี ตต หรือพีวเี อ (Polyvinyl-
acetate-PVA)

ซึง่ ละลายได้ในนา้ มคี ณุ สมบัตเิ หมอื นกาว เกาะติดวสั ดตุ า่ งๆ ท่ีไมใ่ ชโ่ ลหะได้ดมี าก จะแข็งตวั ภายใน 2 ชั่วโมง การ
ผสมสี หรือการทาใหเ้ จอื จากทาไดด้ ว้ ยนา้ และลา้ งออกได้ด้วยนา้ จะใชท้ า หรือพ่นกไ็ ด้ มีใช้ทงั้ ชนิดใชภ้ ายใน และ
ภายนอกอาคาร

4. สีนา้ ปนู เป็นสที ี่ทามาจากปูนขาวนา้ ผสมกาว และนา้ ข้าวท้ิงไวค้ า้ งคนื เพือ่ ใหส้ ่วนผสม
ละลายเข้ากันจงึ นามาใช้งาน เปน็ สที ี่ใชส้ าหรบั ทากาแพงในสมัยโบราณ มรี าคาถกู และทาไดง้ ่ายในปจั จบุ นั มกี าร
ผสมสลี งไปดว้ ย สว่ นมากผผู้ ลิตจะผลติ ออกมาเป็นผงบรรจุใสถ่ ังสง่ ออกจาหนา่ ยในทอ้ งตลาด เวลาใช้จึงนามาผสม
นา้ และสที ตี่ ้องการ

องค์ประกอบของสี
ผงสหี รือเนอ้ื สี (Pigment) คอื สว่ นเปน็ เนือ้ สที าให้เกิดสีตา่ งๆ และเปน็ สว่ นทต่ี ดิ กบั ชิ้นงาน เชน่ สี
เลบ ตะกัว่ แดง ผงสีหรอื เนอ้ื สไี ดจ้ าก
1. สแี ดง ได้จาก ตะกวั่ แดง สังกะสีออกไซดข์ องเหลก็ และดนิ แดง
2. สนี ้าเงิน ไดจ้ าก โคบอลต์
3. สดี า ได้จาก กราฟไฟต์
4. สีเขียว ไดจ้ าก คอปเปอรซ์ ัลเฟต
5. สขี าว ได้จากไทเทเนยี มไดออกไซด์ สงั กะสีออกไซด์ และตะกั่วขาว
6. สเี หลือง ไดจ้ าก ผงสังกะสเี หลอื ง และสังกะสีโคเมท

รปู ที่ 7.19 ตวั อย่างเน้อื สหี ลายสี

การแบง่ ประเภทของสี
1. แบ่งประเภทตามการระเหย

1.1 สีแห้งเรว็ ใชเ้ วลา 10-15 นาที การแหง้ จะแห้งจากข้างนอก สชี นิดนีถ้ ้าต้องการใหข้ ึน้
เงาต้องขัด

1.2 สีแหง้ ชา้ จะแหง้ โดยการระเหย และการอบ ใชเ้ วลา 18-24 ชวั่ โมง แหง้ แลว้ จะเงางาม
ไม่ต้องขดั

219

2. แบง่ ประเภทตามงาน
2.1 สสี าหรบั ตกแตง่ อาคารบ้านเรอื น เช่นพลาสตกิ ใชท้ าผนังปนู ฝาู เพดาน สีน้ามนั ใชท้ า
ประตหู น้าตา่ งทเี่ ปน็ เหลก็
2.2 สีสาหรบั พ่นรถยนต์ เช่น สีแลคเกอรส์ ่วนใหญจ่ ะใช้สแี ลคเกอรอ์ นี าเมล ใช้พ่นรถทงั้ คัน
หรอื บางส่วน เครอื่ งจักรกล
2.3 สีสาหรบั ใชใ้ นงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญจ่ ะใชพ้ อ่ นอุปกณ์ทใี่ ช้ในโรงงาน เชน่ ตูเ้ ย็น ตู้
เกบ็ เอกสารส่วนใหญจ่ ะใช้สเี คลือบจะตอ้ งนาไปอบทอี่ ุณภูมิ 130-160
2.4 สีทที่ นต่อความร้อนและการกัดกรอ่ น สว่ นใหญ่ใชส้ อี ะลมู ิเนยี ม ทาทอ่ สง่ น้ามัน ทอ่ น้า
รอ้ น นอกจากนน้ั ยังเปน็ สีทที่ ากน้ เรอื

รูปท่ี 7.20 สพี ลาสติกใชท้ าตกึ รูปท่ี 7.21 รถยนตพ์ ่นด้วยสีแลคเกอร์

การทาสแี ละพ่นสี

เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสวยงาม และคงทน การทาสี และพ่นสจี ะตอ้ งทาดว้ ยความประณตี เรียบรอ้ ยไม่

รีบรอ้ น โดยเริม่ ทาให้ดตี ง้ั แตก่ ารเตรยี มพน้ื ผิวงาน คือ การทาความสะอาดผวิ งานให้เรียบรอ้ ยกอ่ นทาสี

หรอื พ่นสี ทาได้ 3 วิธี คอื

1. โดยแปรงลวด

2. โดยใช้กระดาษทราย

3. โดยใช้ทรายพน่

รปู ที่ 7.22 ช้นั สสี าเรจ็

220

ทาสีรองพื้น เพ่ือปูองกันสนมิ ทาใหส้ ีเกาะยึดแนน่ กบั ผวิ งานได้ดี
ทาสีอันเดอรไ์ ดต์ เพ่ือ
- ปกปูองภาวะภายนอก
- ปูองกนั สารเคมจี ากพ้ืนผิวงานออกฤทธิก์ ันสที บั หนา้
- เพมิ่ แรงเกาะยึดระหวา่ งสที ท่ี า หรอื สที ีต่ ดิ กบั ช้ินงาน
ทา หรือพ่นสที บั หนา้ เพ่อื ความสวยงาม และปูองกันความชน้ื
ลาดับปฏบิ ตั ิ
วสั ดทุ เ่ี ป็นคอนกรตี
- ปัดฝุนดว้ ยแปรง
- ทาสีลงไป
- ถ้าคอนกรีตที่เคยทาสมี ากอ่ นก็ตอ้ งขดู สีเดมิ ออกกอ่ น แล้วค่อยทาสตี ามช้นั ตอนแรก
5. กาว (วสั ดุประสาน Adhesives)
หมายถึง วัสดทุ ใี่ ช้วตั ถุ 2 ชิน้ ตดิ กัน วัสดุประสานมี 2 ประเภท คือ วสั ดปุ ระสานธรรมชาติ (Natural
Adhesives) และวสั ดปุ ระสานสังเคราะห์ (Synthetic Resin Adhesives) ประโยชน์ของการใชว้ ัสดุ
ประสาน คอื
1. การยึดประสานจะทาใหผ้ ิววสั ดเุ รียบ สวยงาม เช่น เครอ่ื งดนตรีพวก กีตาร์ ไวโอลนิ
2. สามารถยดึ ประสานวสั ดุตา่ งชนิดกนั ได้ เช่น หลอดไฟฟาู แสงสว่าง
3. สามารถทาการยดึ ประสานวสั ดุทม่ี ขี นาดเลก็ มากๆ ไดเ้ ชน่ ชิ้นสว่ นอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์
4. วัสดุบางชนิด ไมส่ ามารถยึดประสานด้วยวธิ ีอ่นื ได้ เช่น วสั ดุพวกพลาสตกิ แกว้ ยาง
1. วัสดปุ ระสานธรรมชาติ (Natural Adhesives)
หมายถงึ การที่ผลิตขน้ึ จากวสั ดุธรรมชาติ ซึง่ อาจจะได้จาก พืช หรอื สตั ว์ เชน่
กาวพชื (Vegetable Glue) เป็นกาวท่ผี ลติ จากแปงู มรี าคาถกู มีความแข็งแรงในการประสาน

ไมม่ ากนกั โดยท่ัวไปแล้วนามาใช้ในงานตดิ ประสานกระดาษ
กาวยาง(Rubber Glue) เปน็ กาวทผ่ี ลิตจากยางธรรมชาตกิ บั สารละลาย (น้ามนั เบนซนิ ) มี

ความแข็แรในการยดึ ประสานดี โดยทวั่ ไปแลว้ นามาใชต้ ดิ ประสานวสั ดุทเี่ ป็นกระดาษ หนัง
และยาง
กาวเคซนี (Casein Glue)เปน็ กาวทไ่ี ดจ้ ากโปรตนี จากกากถว่ั มีความแข็งแรงในการประสานได้ดี
นามาใชง้ านในการติดประสานไม้ภายในอาคารทไ่ี ม่ถูกความชนื้ และงานกระดาษ
กาวหนงั เปน็ กาวที่ผลติ จากกระดกู และหนงั สตั ว์ โดยนามาลา้ งทาความสะอาด แล้วนามาเค่ียว
จนกาวขน้ นามาใช้งานทากระดาษทราย ในปัจจุบนั กาวหนงั ไม่คอ่ ยนยิ ามนามาใชง้ าน
เนื่องจากมีกล่ินเหม็น มีความแข็งแรงในการติดประสานไม่ดี
2. วสั ดปุ ระสานสงั เคราะห์ (Synthetic Resin Adhesives)
หมายถงึ กาวที่ไดจ้ ากสารเคมที ส่ี งั เคราะหใ์ หม้ คี ุณสมบัตใิ นการยดึ ประสานวตั ถตุ ่างๆ ในปัจจุบันกาว
สงั เคราะห์ไดร้ ับความนยิ มในการนามาใชง้ านอยา่ งมาก เพราะมีความสะดวกในการใชง้ านมีความ
แขง็ แรงในการยึดประสานไดด้ ี ทนต่ออุณหภมู ิ ทนตอ่ ความชื้น วัสดุประสานสังเคราะห์ สามารถแบ่ง
ออกได้ 2 ประเภท คือ
กาวสงั เคราะห์ พวกเทอร์โมเซตติ้ง (Thermoseting Type)

1. กาวพอกซี (Epoxy) โดยทวั่ ไปแลว้ กาวชนิดน้ีจะผลติ มา 2 สว่ น คอื เน้ัอกาวทใี่ ชใ้ น
การติดประสาน และตัวทาปฏิกริ ยิ าให้แข็งตัว โดยแตล่ ะสว่ นจะบรรจอุ ยใู่ นหลอด เมื่อตอ้ งการใช้งานกบ็ ีบเน้ือกาว

221

และตัวทาปฏกิ ริ ยิ าออกจากหลอด แลว้ นามาผสมกนั แลว้ ผสมใหท้ ง้ั สองสว่ นเขา้ เปน็ เน้อื เดียวกัน จากนนั้ นาไปตดิ
ประสานวัสดุทต่ี อ้ งการจะให้ตดิ กนั เมอื่ ผสมกาวแล้วควรใชภ้ ายใน 10-15 นาที เพราะกาวจะเรมิ่ แข็งตวั กาวอี
พอกซเี ปน็ กาวทมี่ ีคณุ สมบตั ใิ นการตดิ ประสานดีเยย่ี ม มคี วามแขง็ แรงในการยึดประสานสงู มาก มกี ารขยายตวั และ
หดตวั น้อยมาก ทนตอ่ ความชื้นไดด้ ี ทนตอ่ อุณหภมู ไิ ด้สงู นาไปใชง้ านอุตสาหกรรมอากาศยาน และอตุ สาหกรรม
ทว่ั ไป

2. กาวฟโิ นลกิ (Phenulice) กาวชนิดน้จี ะผสมอยใู่ นสารละลายเม่อื เรานากาวฟโิ นลิกไป
ตดิ บนวัสดุท่ีทากาวแล้วนม้ี าติดเข้าด้วยกัน กาวชนิดนนี้ ามาใช้กันมากในอตุ สาหกรรมไมอ้ ดั

3. กาวซลิ โิ คน (Sillicone) เป็นกาวทที่ นต่อความชน้ื และอุณหภมู ิสูงไดด้ ี ใช้ในงาน
อุตสาหกรรมอปุ กรณ์ไฟฟาู

4. กาวรีซอรซ์ นิ ลั เรซิน (Resorcinal Resin) เปน็ กาวทม่ี คี ณุ สมบัติตดิ ไมไ้ ดด้ ีมาก ใชใ้ น
การผลิตไม้ท่ตี อ้ งทนต่ออุณหภมู แิ ละความชน้ื

รปู ที่ 7.23 การใชก้ าวยดึ ปรสานข้วั หลอดไฟฟูา

กาวสังเคราะหพ์ วกเทอร์โมพลบาสตกิ (Thermoplastic Type)
1. เซลลูโลสดรี เิ วทฟี (Cellulose Derivatives) มีคณุ สมบัตทิ นความชืน้ ได้ดี เหมาะสาหรับ

ใชง้ านทวั่ ไปในงานบ้าน ใชต้ ดิ ไม้ กระดาษ
2. อะครลี กิ (Acrylics) เป็นกาวโปรง่ ใส เหมาะสาหรับใชง้ านตดิ วัสดุพวกกระจกเซรามกิ

กาวพเิ ศษ เปน็ กาวท่ใี ชส้ าหรบั งานเฉพาะอบา่ ง มอี ยมู่ ากมายหลายชนิด เชน่ กาวติดพลาสติก กาวติดกระจก กาว
ตดิ โลหะ บางชนดิ กนั น้าได้ บางชนดิ ทนความรอ้ นได้ดีสามารถติดทอ่ ไอเสียรถยนต์ได้ กาวพิเศษทมี่ จี าหนา่ ยใน
ทอ้ งตลาด ได้แก่

ก. อินสะแตนท์ (Instant Glue) เปน็ กาวชนิดใสใช้งานได้สารพดั ประโยชน์แหง้ เร็ว สามารถติด
แก้ว กระเบอ้ื ง โลหะ ยาง ไฟเบอรก์ ลา๊ ส ไมเ่ หมาะกบั งานทต่ี อ้ งแชน่ า้ หรือตากแดด หรอื
วสั ดุที่มีรพู รนุ มากๆ

ข. พลาสตกิ กลู (Plastic Glue) ผลติ ขึ้นมาใช้กบั พลาสติกโดยเฉพาะ สามารถตดิ พลาสตกิ เขา้
กบั โลหะ ไม้ หรอื แก้วได้

ค. ซุปเปอร์ กลู (Super Gule-Super Cement) เปน็ กาวทีม่ คี วามแขง็ แรงสงู มาก ตดิ แน่น และ
ทนทาน เวลาใชต้ อ้ งระมัดระวังเปน็ พิเศษ หากเข้าตาจะตอ้ งรีบไปหาแพทยท์ ันทพี ร้อมกบั
หลอดกาวนน้ั ๆ

222

คณุ ลกั ษณะของกาว
ประโยชนข์ องกาว
- การตกิ ตาวทาใหว้ ัสดเุ รียบ ไมต่ อ้ งมีนอต หรอื ตะปูโผลม่ าใหเ้ หน็ และทาให้ดูสวยงาม
- สามารถติดวัสดตุ า่ งชนดิ กนั ได้
- มเี สยี งดงั นอ้ ยเมอ่ื รบั แรงกระแทก หรอื ส้นั
- ทาใหก้ ารผลิต และออกแบบในงานอตุ สาหกรรมงา่ ย
- สามารถติดวสั ดทุ เี่ ปราะบาง หรือมขี นาดเล็กไดด้ ี

ข้อเสยี ของกาว
เม่อื เปรียบเทยี บกับการใชน้ อต สกรู ตะปู ทใี่ ชย้ ึด

- เมือ่ วัสดุตดิ กาวแล้วจะแกะออกมาเพ่อื ประกอบใหม่ทาไดล้ าบากมาก
- ทนแรงดึงได้ไมส่ ูง
- ทาความสะอาดผิววสั ดกุ อ่ นตดิ กาวทาได้ลาบาก เพราะวสั ดแุ ต่ละชนดิ ใชว้ ิธีการไมเ่ หมือนกนั
-

รปู ที่ 7.24 กาวหลอดมีท้ังกาวน้า กาวอีพอกซี

วธิ ีทากาว
1. เอาหนงั สตั วม์ าแช่ในน้าสะอาดใหอ้ ่อนตวั เพื่อใหช้ ะล้างของสกปรกรวมทง้ั เกลือใหห้ มด
2. เอาหนงั ทลี่ ้างแลว้ แชล่ งในถงั นา้ ปูนขาว เพ่อื ใหห้ นังพองตัวและอ่อนตวั พอท่ีละลายเปน็ กาว

ไดง้ ่าย ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการแช่หนงั ในนา้ ปูนขาวนี้ข้นึ อยู่กบั ลกั ษณะของหนงั และความร้อน ถา้ แช่ในนา้
ปูนขาวนอ้ ยไปจะตอ้ งใชเ้ วลาและความร้อนมากในการละลาย แตถ่ ้าแชม่ ากเกนิ ไปหนงั กจ็ ะละลายไปเสยี ก่อน เพ่ือ
เป็นการประหยดั เวลาในการแช่ให้เร็วขน้ึ ควรตัดหนงั ออกเปน็ ช้นิ เล็ก ๆ

3. เอาหนงั ออกจากที่แช่น้าปนู ขาวลงล้างดว้ ยน้าสะอาดหมดดา่ ง ซ่งึ อาจตรวจดูได้โดยใช้กระดาษลิตมสั ถา้ มี
ด่างอยู่บา้ งเลก็ น้อยกอ็ าจฆา่ ไดด้ ้วยกรดออ่ น ๆ เชน่ กรดเกลอื กรดซลั ฟวิ ริกหรอื สารสม้

4. เมอื่ ลา้ งสะอาดแล้วกเ็ อาหนงั ไปเคี่ยวกบั น้า ขอ้ สังเกตในขอ้ นี้ คอื การตอ้ งระวงั อย่าใช้ความรอ้ นสงู เกินไป
กาวทไ่ี ดจ้ ะมีคณุ ภาพตา่ กาวทดี่ ีควรเค่ียวในระยะเลาสนั้ และความรอ้ นต่า การเคย่ี วอาจทาได้ 2 วิธี คือ

ก. เค่ยี วในถงั เปดิ ( Open Tank ) ตัวถงั ทาดว้ ยไมห้ รอื เหล็ก มที ่อไอน้าขดอยู่ภายใจ เอาหนงั ใสเ่ ขา้
ไปในถังแล้วเตมิ นา้ ให้พอดี เปดิ ไดนา้ ผ่านทอ่ จนกระทั่งอุณหภูมใิ นถงุ ต้มไปประมาณ 80 องศา ใช้ไมก้ วนเสมอ ๆ
จนกระทง่ั ได้น้าข้น ๆ จงึ ลดอณุ หภูมิและตักไขมันทล่ี อยอย่ขู า้ งบนอก เป็นกอ๊ กเอาน้าทอี่ ย่กู ้นถังออก ส่วนกากท่ี
เหลือต้มตอ่ ไปอกี 2-3 ครงั้

ข. เค่ยี วในถงั ปดิ ( Presseure Tank ) โดยมากใช้ต้มกาวจากกระดูก การตม้ ใชค้ วามดัน

223

10-20 บรรยากาศ
5. เม่อื ละลายเป็นน้ากาวใสใ่ นขอ้ 4 แลว้ ขัน้ ต่อไปทาให้งวดเขา้ ซ่งึ ควรใช้หมอ้ ต้มระเหยแบบสญุ ญากาศ และ

ใส่ยากนั เสยี ลงไป เชน่ ซิงคซ์ ลั เฟต เมอ่ื น้ากาวใสงวดขนั ได้ทกี่ เ็ ทใส่แบบสาหรบั ทาเป็นกาวแผน่
6. ถ้าน้ากาวขุ่นจะทาให้ใสโดยใชส้ ารส้มหรือไขข่ าวเตมิ ลงไปเพ่ือใหส้ งิ่ สกปรกรวมตวั กันเปน็ ตะกอนแลว้ กรอง

ออก
7. กาวที่อยใู่ นแบบข้อ 5 แลว้ ทาให้แหง้ ไดโ้ ดยใช้กระแสลมรอ้ นเปุา แต่ตอ้ งระวงั ถ้าลมรอ้ นมากเกนิ ไปแทรท่ี

กาวจะแห้งกลบั ทาใหก้ าวละลายและเย้ิมเหลวไปอกี

ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการใชก้ าว
1. ผิวหน้าทจี่ ะตดิ กาวตอ้ งเรยี บ สะอาด และแหง้
2. การทากาวควรทาใหเ้ รยี บและทาบาง ๆ
3. การใช้กาวชนดิ แหง้ เรว็ ควรลองทาบรเิ วณท่ีจะติดก่อนเพอ่ื ความแนใ่ จ
4. กาวชนดิ แห้งชา้ ควรตอ้ งมีอุปกรณ์ยึดวสั ดุใหต้ ิดแนน่ ตลอดเวลาที่กาวยังไมแ่ หง้
5. ต้องเลอื กชนิดของกาวใหเ้ หมาะสมกบั วัสดุ
6. กาวบางชนดิ เปน็ อนั ตราย ไมค่ วรใชม้ ือจบั หรือสดู ดมกล่ิน

คาถาม
แบบฝกึ หดั
1. วสั ดสุ งั เคราะห์ หมายถงึ
2. พลาสตกิ แบง่ ออกได้กป่ี ระเภท อะไรบ้าง
3. เทอร์โมพลาสตกิ หมายถงึ
4. พลาสติกประเภทใด ท่ไี มส่ ามารถนาหลอมละลายไดใ้ หม่
5. โดยทั่วไป ยางสังเคราะห์ จะมีคณุ สมบตั ิ
6. ประโยชนใ์ นการใช้สที างวัสดุ
7. สีสามารถแบ่งได้กปี่ ระเภทใหญ่ ๆ
8. สแี หง้ เรว็ ใชเ้ วลา _____________________นาที การแหง้ จะแหง้ จากข้างนอก
9. สแี หง้ ช้า จะแห้งโดยการระเหยและการอบใชเ้ วลา_______________________ชัว่ โมง
10. จงบอกชนดิ ของการสงั เคราะห์ พวกเทอรโ์ มเซตตงิ้ ทน่ี ักศกึ ษารู้จักมา 3 ชนิด

เฉลยคาถาม
เฉลยแบบฝึกหัด

1. วสั ดทุ ่ีเกดิ จากการนาแรธ่ าตุและสารเคมี มาผา่ นขบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยการทาปฏิกริ ิยาทางเคมี
เพื่อใหเ้ กิดวัสดุข้นึ

2. 2 ประเภท 1. เทอร์โมพลาสติก
2. เทอร์โมเซตตง้ิ

3. พลาสตกิ ท่นี าไปทาเปน็ ผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ แล้วเมอ่ื นาไปใช้งานแลว้ เกิดชารุด หมดสภาพแลว้ สามารถนา
กลับมาหลอมละลายขน้ึ รปู เป็นผลติ ภณั ฑ์ใหม่

4. เทอร์โมเซตต้ิง

5. เน้อื เหนยี ว , ยืดหยุ่น, ทนต่อสารเคม,ี ทนต่ออุณหภูมิ

224

6. เพอ่ื ใหด้ สู วยงามแลลดการกดั กรอ่ น ทนต่อแดดและฝน ปอู งกนั การทาลายของแมลงบางชนิด

7. 4 ประเภท 1. สนี า้ มัน 2. สเี คลอื บ

3. สพี ลาสตกิ 4. สนี ้าปนู

8. 10 – 15 นาที

9. 18 – 24 ชัว่ โมง

10. 1. กาวอีพอกซี 2. กาวฟิโนลกิ

3. กาวซลิ ิโคน 4. กาวรซี อร์ซินลั เรซิน

5. กาวซนิ เตตกิ รบั เบอร์

เอกสารอ้างองิ
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................

225

พส.15

ใบมอบหมายงาน (Assignment Sheets)

รหสั วชิ า……20100 - 1002…..………….วิชา……วสั ดุช่างอุตสาหกรรม……………………

ชือ่ หน่วย บทท่ี 7 วสั ดุสงั เคราะหแ์ ละธรรมชาติ

เร่อื ง วัสดสุ งั เคราะห์และธรรมชาติ จานวนชั่วโมงสอน..........2............

จดุ ประสงค์การมอบงาน
1. บอกชนิดของวัสดสุ งั เคราะห์ได้
2. บอกคุณสมบัติและการนาไปใช้งานของวสั ดสุ งั เคราะหไ์ ด้

แนวทางการปฏิบัตงิ าน
ศึกษาเนือ้ หาจากใบงานและหนงั สืออ้างอิง วัสดชุ า่ งอตุ สาหกรรม

แหล่งค้นควา้
1.หนงั สือวัสดชุ ่างอุตสาหกรรม
2.ชุดแบบทดสอบ

3.สือ่ รูปภาพและ Power Point

คาถาม/ปญั หา
คาส่งั ใหเ้ ตมิ คาหรอื ข้อความลงในช่องว่างใหถ้ กู ตอ้ ง
1. วัสดุสงั เคราะห์ หมายถงึ …………………………………………………………………………………….

2. พลาสตกิ แบง่ ออกได้กปี่ ระเภทอะไรบ้าง..........................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. เทอรโ์ มพลาสติก หมายถึง.............................................................................................................................

4. พลาสติกประเภทใด ทไี่ มส่ ามารถนาหลอมละลายไดใ้ หม.่ ..................................................................................
5. โดยทวั่ ไป ยางสงั เคราะห์ จะมคี ณุ สมบัต.ิ ..........................................................................................................
6. ประโยชนใ์ นการใชส้ ที างวัสดุ...............................................................................................................................

7. สสี ามารถแบ่งไดก้ ี่ประเภทใหญ่ ๆ .....................................................................................................................
8. สีแหง้ เร็วใชเ้ วลา ………….. นาที การแหง้ จะแห้งจากขา้ งนอก................................................
.9. สแี หง้ ชา้ จะแหง้ โดยการระเหยและการอบใช้เวลา ……………………….. ช่วั โมง

10. จงบอกชนิดของการสงั เคราะห์ พวกเทอรโ์ มเซตตง้ิ ทีน่ กั ศกึ ษาร้จู ักมา 3 ชนดิ
กาหนดเวลาทางาน
1..ใหท้ าแบบฝึกหดั หลงั ครอู ธบิ ายในเนอื้ หาเสรจ็ และใหเ้ วลานักเรียนศกึ ษาค้นคว้าจากขอ้ มลู ทใี่ ห้ ประมาณ 1 ชม.

หมายเหตุ ควรมภี าพประกอบแสดงการปฏบิ ัติงานในแต่ละขัน้

226

พส.16

ใบกจิ กรรมที่.......7.........

รหสั วิชา 20100-1002 วิชา วัสดชุ ่างอตุ สาหกรรม ท-ป-น…2-0-2…

หนว่ ยที่.. บทท่ี 7 วัสดุสงั เคราะหแ์ ละธรรมชาติ เวลา..2.ชม.

ช่อื กิจกรรม.................แบบทดสอบหลงั เรียน....................เวลา........2......ชม.

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกชนดิ ของวัสดสุ งั เคราะหไ์ ด้

2. บอกคุณสมบตั แิ ละการนาไปใช้งานของวสั ดสุ งั เคราะหไ์ ด้

วสั ด/ุ อุปกรณ์

1.หนงั สอื วสั ดชุ ่างอุตสาหกรรม
2.ชดุ แบบทดสอบหลงั เรยี น

คาส่งั
1. ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ใี หถ้ ูกตอ้ ง

2. ..................................................................................................................................................................

การประเมินผล

1ขัน้ ดเี ยีย่ ม แบบทดสอบหลังเรยี น แบบฝกึ หัดและใบปฏบิ ตั งิ าน เกณฑ์ผา่ นร้อยละ 100 ได้ 5

คะแนน

2ขั้นดี แบบทดสอบหลงั เรยี น แบบฝกึ หัดและใบปฏบิ ัตงิ าน เกณฑผ์ ่านไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 80 ได้ 4 คะแนน

3ข้ันปานกลาง แบบทดสอบหลังเรยี น แบบฝึกหดั และใบปฏบิ ตั งิ าน เกณฑผ์ า่ นไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 70 ได้ 3 คะแนน

4ขน้ั พอใช้ แบบทดสอบหลังเรยี น แบบฝกึ หัดและใบปฏิบตั งิ าน เกณฑ์ผา่ นไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 60 ได้ 2 คะแนน

5ข้ันปรับปรงุ แบบทดสอบหลังเรยี น แบบฝกึ หัดและใบปฏิบัติงาน เกณฑผ์ ่านไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 50 ได้ 1

คะแนน

227

แบบทดสอบหลงั เรยี น
วิชา วัสดอุ ุตสาหกรรม 2100-1002

เรือ่ ง วสั ดุสังเคราะห์และธรรมชาติ
คาส่ัง ให้เลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องทสี่ ุด เพียงคาตอบเดยี ว
1. ข้อใดไม่ใชค่ ุณสมบตั ขิ องพลาสติก ?

ก. เปน็ ฉนวนไฟฟาู
ข. ทนตอ่ สารเคมี
ค. มีความเหนียว

ง. เกดิ การกัดกรอ่ น
2. พลาสตกิ แบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท ?

ก. 4

ข. 3
ค. 2
ง. 1

3. ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ ณุ สมบตั ิของโพลเิ อมาย ?
ก. ทนความรอ้ น
ข. แหง้ เร็ว

ค. ทนการขดี ข่วน
ง. เปน็ ฉนวนไฟฟูา
4. กรรมวธิ ีการผลิตแบบคาเรนเดอลง่ิ นยิ มผลติ พลาสตกิ ชนิดใด ?

ก. PVC
ข. PS
ค. PA

ง. PE
5. ยาง GR – S ผลิตจากวสั ดอุ ะไร ?

ก. ถ่านหิน

ข. หนิ ปูน
ค. เกลอื แกงน้า
ง. ถูกทุกขอ้

6. ยางบทู ลิ เป็นยางสงั เคราะหไ์ ด้จากอะไร ?
ก. สารอินทรีย์
ข. ซลิ โิ คน

ค. พืช
ง. ปิโตเลียม
7. อุณหภมู ิที่เหมาะสม ในการเก็บรกั ษายางเทียม ?

ก. 3 - 10ْ C
ข. 10 - 15ْ C
ค. 20 - 25 C
ง. 30 - 35ْ C

228

จ.
8. ขอ้ ใดไม่ใช่ สว่ นผสมของสีนา้ มนั ?

ก. ทนิ เนอร์
ข. ผงพน้ื สี
ค. ผงแมส่ ี

ง. นา้ ยาซกั แห้ง
9. สีพลาสตกิ หรอื สนี ้า จะใช้เวลาเทา่ ไรในการแขง็ ตัว ?

ก. 1 ช่วั โมง

ข. 2 ชัว่ โมง
ค. 3 ชว่ั โมง
ง. 4 ช่วั โมง

10. “ สนี า้ เงิน “ ของผงสหี รือเน้ือสี ทามาจากอะไร ?
ก. โคบอลต์
ข. ตะกวั่

ค. แกรไฟต์
ง. โทเทเนยี ม
11. สี แบง่ ประเภทตามการละเหย ไดก้ ่ปี ระเภท

ก. 4
ข. 3
ค. 2

ง. 1
12. สี ใชพ้ ่นตู้เยน็ , ตู้เอกสาร สว่ นใหญจ่ ะใช้สีเคลอื บ จะต้องอบทอี่ ณุ หภมู ิเทา่ ไร ?

ก. 60 - 80ْ C

ข. 80 - 100ْ C
ค. 100 - 120ْ C
ง. 130 - 160ْ C
13. ข้อใดไมใ่ ชก่ าวธรรมชาติ ?

ก. กาวยาง
ข. กาวซิลิโคน
ค. กาวหนัง

ง. กาวเคซนี
14. ข้อใดไมใ่ ช่คุณสมบตั ิของกาวสงั เคราะห์ ?

ก. ทนตอ่ อุณหภมู ิ

ข. ทนความช้ืน
ค. แห้งชา้
ง. มคี วามแขง็ แรง

229

15. ข้อใดไม่ใช่กาวสงั เคราะห์ ?
ก. กาวเคซนี

ข. การอีพอกซี
ค. กาวฟิโนลิก
ง. กาวซิลโิ คน

230

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน

1. ค
2. ข
3. ก
4. ก
5. ค
6. ง
7. ก
8. ข
9. ง
10.ก
11.ค
12.ค
13.ง
14.ง


Click to View FlipBook Version