The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเศรษฐกิจลำปาง มกราคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpg, 2021-03-03 21:56:38

รายงานเศรษฐกิจลำปาง มกราคม 2564

รายงานเศรษฐกิจลำปาง มกราคม 2564

Keywords: programing

รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวดั ลาปาง

Lampang Economic & Fiscal Report

ฉบับท่ี 1/2564

เศรษฐกิจการคลงั จงั หวดั ลาปาง ประจาเดอื นมกราคม 2564

เศรษฐกิจจังหวัดลาปางในเดือนมกราคม 2564 โดยรวมขยายตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน
จากด้านอุปสงค์ เป็นสาคัญ ตามการใช้จ่ายภาครัฐขยายตัว จากรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุน การลงทุน
ภาคเอกชนหดตวั ตามภาพรวมเศรษฐกิจท่ยี ังอ่อนแอ การบรโิ ภคภาคเอกชนหดตัว จากการใช้จ่ายหมวดบริการ
และหมวดสินค้าคงทนกลุ่มยานยนต์กลับมาหดตัวมากขึ้น ทางด้านอุปทาน ภาคเกษตรกรรมขยายตัว
จากปริมาณผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์เพิ่มข้ึน เนื่องจากเกษตรกรมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตล่าช้ากว่าฤดูกาลปกติ
ภาคอุตสาหกรรมหดตัว จากผลกระทบของการแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั COVID -19 ระลอกใหม่ ความตอ้ งการ
จากประเทศคู่ค้าลดลง ภาคบริการหดตัว ตามผลกระทบของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID -19
ระลอกใหม่ เป็นผลให้นักท่องเท่ียวชาวไทยปรับลดลง สาหรับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดลาปาง
อตั ราเงนิ เฟอ้ อย่ใู นระดบั ต่า

เศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (การผลิต) พบวา่ หดตวั เมื่อเทยี บจากชว่ งเดือนเดยี วกันกับปีก่อน สะทอ้ นจากดชั นี
ภาคเกษตรกรรม ขยายตัว ร้อยละ 113.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีก่อน จากปริมาณผลผลติ ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์
เพิม่ ขึ้น เนอ่ื งจากเกษตรกรมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตล่าชา้ กว่าฤดูกาลปกติ เนือ่ งจากมีการเพาะปลูกเหลื่อมเดือน ทาให้
เกษตรกรเล่ือนการเก็บเกี่ยวเพ่อื รอให้ข้าวโพดฝกั แหง้ และความช้นื น้อย ประกอบกบั ภาครัฐมีโครงการประกันรายได้
เกษตรกร ส่งผลให้เกษตรกรมีความต้องการเพาะปลูกเพ่ิมมากขึ้น ผลผลิตด้านปศุสัตว์จานวนกระบอื และไก่ มีปริมาณ
เพ่ิมขึ้น ตามความต้องการบริโภค ภาคอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ -9.7 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน
ตามปริมาณลิกไนต์ ปริมาณหินอุตสาหกรรม (หินปูน - ก่อสร้าง) และปริมาณดินขาว จากผลกระทบของการ
แพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ ความต้องการจากประเทศคู่ค้าลดลง รวมทั้งกาลังการผลิต
ที่ปรับตัวลดลง การส่งออกสินค้าไปยังตลาดต่างประเทศยังไม่มีแนวโน้มดีขึ้น เน่ืองจากตลาดต่างประเทศ
ประสบปัญหาวิกฤตโรคระบาดเช่นเดียวกัน ส่วนด้านการลงทุนด้านอุตสาหกรรมในจังหวัดลาปาง พบว่า
เดอื นมกราคม 2564 สภาวะการลงทนุ ภาคอตุ สาหกรรมเดอื นมกราคม 2564 นน้ั จงั หวดั ลาปางไมม่ โี รงงานประกอบ
กิจการรายใหม่ รวมทั้งไม่มีการแจ้งขยายและแจ้งเลิกกิจการ ซ่ึงเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนน้ัน
ไม่มีโรงงานประกอบกิจการรายใหม่และไม่มีการแจง้ ขยายโรงงานเชน่ กัน มีแต่การแจ้งเลิกกิจการจานวน ๓ โรงงาน
เป็นโรงงานบ่มใบยาสูบ โรงงานผลิตเชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้เช่นเศษไม้ และโรงงานผลิตเครื่องเคลือบดินเผา
ภาคบริการ หดตัว ร้อยละ -8.3 เม่ือเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากด้านการท่องเท่ียว หดตัวมากขึ้น
ตามผลกระทบของการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ เป็นผลให้นักท่องเที่ยวชาวไทยปรับลดลง
สะท้อนจากจานวนผู้เย่ียมเยือนชาวไทย จานวนผู้เข้าพัก และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนหดตัวมากขึ้นในทุกเครื่องชี้
ส่วนนกั ทอ่ งเท่ยี วต่างชาติหดตัวสูงต่อเนอื่ ง ผลจากมาตรการจากดั การเดินทางเขา้ ออกระหว่างประเทศ

เครอ่ื งชี้ด้านอปุ ทาน ป2ี 563 Q1/63 Q2/63 ปี 2563-2564 ม.ค. YTD
(Supply Side)(สัดส่วนต่อ GPP) Q3/63 Q4/63 พ.ย. ธ.ค. -9.7

ดชั นีผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) -9.6 1.5 -15.4 -10.8 -13.2 -13.8 -9.1 -9.7

ดชั นผี ลผลติ ภาคบรกิ าร (%yoy) -9.8 -5.1 -25.8 -5.1 -4.0 -8.0 6.4 -8.3 -8.3

ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม(%yoy) -5.1 -20.6 -7.5 12.6 -1.2 -3.2 -13.3 113.5 113.5

[2]

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) พบว่า ขยายตัว สะท้อนจาก การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 34.4
เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุน ส่วนหน่ึงเป็นผลจากฐานต่าปีก่อน
ท่ีพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 ประกาศใช้ลา่ ช้า โดยรายจ่ายประจา ขยายตัวตามการใช้จ่าย
ในหมวดเงินอุดหนุนทั่วไป ของสถาบันการศึกษา และค่าตอบแทน สาหรับรายจ่ายลงทุนขยายตัว จากการใช้จ่าย
ในหมวดท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างของสานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 2 โครงการระบบส่งน้าพร้อมอาคาร
ประกอบ ประตรู ะบายน้าและอาคารประกอบ และสานักงานทรัพยากรน้า ภาค 1 จากคา่ ใช้จ่ายในการพฒั นานา้ บาดาล
เพื่อการเกษตร การลงทุนภาคเอกชน หดตัว ร้อยละ -3.6 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน ตามภาพรวม
เศรษฐกิจท่ียังอ่อนแอ ทาให้ภาคธุรกิจส่วนใหญ่ชะลอแผนลงทุนออกไป การลงทุนเพ่ือการผลิตยังคงหดตัว อย่างไรก็ดี
การลงทุนเพ่ือการก่อสร้างปรับดีขึ้นในกลุ่มท่ีอยู่อาศัย เป็นผลจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจมีโครงการสนับสนุนสินเชื่อ
ในขณะท่ีตลาดอสังหาริมทรัพย์ประเภทอ่ืนยังคงหดตัวต่อเน่ือง การบริโภคภาคเอกชน หดตัวร้อยละ -18.7 จากการ
ใช้จ่ายหมวดบริการและหมวดสินค้าคงทนกลุ่มยานยนต์กลับมาหดตัวมากขึ้น จากการแพร่ระบาดของ COVID-19
ระลอกใหม่ ขณะที่การใช้จ่ายในหมวดสินค้าอุปโภคบริโภคหดตัวน้อยลงต่อเน่ือง โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าจาเป็น
ส่วนหนงึ่ เปน็ ผลจากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกจิ ของภาครัฐ ประกอบกับปัจจัยสนับสนนุ ด้านรายได้ชะลอลง และดชั นี
ความเช่ือมั่นผบู้ รโิ ภคยงั อย่ใู นระดับตา่ สะท้อนกาลังซอื้ โดยรวมยงั อ่อนแอ

เครอื่ งช้ีด้านอปุ สงค์ ป2ี 563 Q1/63 Q2/63 ปี 2563-2564 ม.ค. YTD
(Demand Side) Q3/63 Q4/63 พ.ย. ธ.ค.
ดชั นีการใชจ้ ่ายภาครฐั (%yoy)
4.2 -8.7 6.9 8.8 10.2 4.5 29.7 34.4 34.4

ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน(%yoy) -1.8 -1.3 -6.4 -3.7 0.3 0.6 1.0 -3.6 -3.6

ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน (%yoy) -11.2 -1.0 -34.0 -5.1 -3.1 -5.0 -1.6 -18.7 -18.7

ดา้ นรายไดเ้ กษตรกรพบวา่ ขยายตวั ร้อยละ 137.0 เมื่อเทียบจากชว่ งเดือนเดยี วกนั กับปีก่อน เป็นผลมาจาก
ปริมาณผลผลติ ภาคเกษตรกรรมขยายตวั รอ้ ยละ 113.5

ด้านการเงิน พิจารณาจากปริมาณเงินฝากรวม ขยายตัวร้อยละ 8.3 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกัน
กับปีก่อน จากความต้องการรักษาสภาพคล่องของผู้ฝาก และส่วนหน่ึงเป็นเงินเยียวยาของภาครัฐ ส่วนด้าน ปริมาณ
สินเชื่อรวม ขยายตัวร้อยละ 0.1 โดยสินเชื่อของสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวจากสินเช่ือเพ่ือท่ีอยู่อาศัย
เปน็ สาคญั ขณะทีส่ ินเชอื่ ธนาคารพาณชิ ย์หดตัวตามสนิ เชือ่ ธุรกิจตามภาวะเศรษฐกจิ โดยรวม

เครอ่ื งชี้ด้านรายได้เกษตร ป2ี 563 Q1/63 Q2/63 Q3/63 ปี 2563-2564 ม.ค. YTD
และด้านการเงนิ Q4/63 พ.ย. ธ.ค.

ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (%yoy) -26.7 -18.3 -2.6 0.3 -13.4 -25.2 -12.4 137.0 137.0

เงินฝากรวม(%yoy) 5.6 3.2 2.6 8.0 8.4 7.9 10.2 8.3 8.3

สนิ เชอื่ รวม(%yoy) -0.9 -0.6 -4.6 -0.5 0.3 0.6 0.6 0.1 0.1

เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อท่ัวไป ลดลงร้อยละ -1.1 (YoY) โดยมีปัจจัยสาคัญจากราคาพลังงาน
ท่ียังต่ากว่าปีก่อน จากการปรับลดค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) ลงอีกเป็น -15.32 สตางค์ต่อหน่วย ซ่ึงจะมีผลต่อเน่ือง
ไปจนถึงเดือนเมษายน รวมท้ังราคาข้าวสารเจ้าและข้าวสารเหนียวที่ลดลงต้ังแต่ปลายปี 2563 ตามปริมาณผลผลิต
ท่ีกลับเข้าสู่ปกตแิ ละไม่ได้รับผลกระทบจากภยั แล้งเหมือนปีก่อน ประกอบกบั ความต้องการของตลาดตา่ งประเทศยัง
ทรงตัว สาหรับราคาสินค้าและบริการในหมวดอื่น ๆ ยังเคลื่อนไหวตามกลไกการตลาด อย่างไรก็ตาม ราคาสินค้า
ในบางกลุ่ม โดยเฉพาะผักสดและเคร่ืองประกอบอาหารยังปรับตัวสูงข้ึน สาหรับการจ้างงาน ขยายตัวร้อยละ 0.5

[3]

ปรับดีข้ึนสะท้อนจากอัตราการว่างงานท่ีลดลง อย่างไรก็ตาม ผู้รับสิทธิประโยชน์ทดแทนการว่างงานของสานักงาน
ประกันสงั คมยงั มีจานวนมาก

เครอื่ งช้ีด้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ป2ี 563 Q1/63 Q2/63 ปี 2563-2564 ม.ค. YTD
(Stabilities) Q3/63 Q4/63 พ.ย. ธ.ค. -1.1

อตั ราเงินเฟอ้ -0.6 1.6 -2.6 -0.7 -0.5 -0.6 -0.3 -1.1 0.5
(Inflation Rate) (%yoy)

การจ้างงาน -7.2 -7.3 -6.9 -6.4 -8.3 -18.8 -0.1 0.5
(Employment) (%yoy)

ด้านการคลังเดือนมกราคม 2564 พบว่า ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมจานวนท้ังส้ิน 2,979.2 ล้านบาท
ขยายตัวร้อยละ 34.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุน ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก
ฐานต่าปีก่อน ท่ีพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 ประกาศใช้ล่าช้า โดยรายจ่ายประจา ขยายตัว
ตามการใชจ้ า่ ยในหมวดเงนิ อุดหนนุ ทว่ั ไป ของสถาบันการศกึ ษา และคา่ ตอบแทน สาหรบั รายจา่ ยลงทุนขยายตวั จากการใช้จ่าย
ในหมวดท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างของสานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 2 และสานักงานทรัพยากรน้า ภาค 1 รายได้
จัดเก็บเดือนมกราคม 2564 มีจานวนทั้งสิ้น 49.9 ล้านบาท มีรายได้จัดเก็บลดลง ร้อยละ -18.5 เมื่อเทียบกับ
ชว่ งเดอื นเดียวกนั กบั ปีก่อนจากสานักงานสรรพากรพืน้ ทล่ี าปาง สานักงานสรรพสามติ พืน้ ที่ลาปางและสานักงานธนา
รักษ์พื้นที่ลาปาง ท่ีหดตัวร้อยละ -27.8 -20.6 -5.5 ท้ังน้ี ดุลเงินงบประมาณเดือนมกราคม 2564 ขาดดุลจานวน
-2,929.3 ล้านบาท

ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถงึ เดอื นมกราคม 2564

เครอ่ื งช้ดี า้ นการคลัง (Fiscal) หนว่ ย ปงี บประมาณ(FY) ต.ค. ปงี บประมาณ (FY) พ.ศ. 2564 หนว่ ย : ลา้ นบาท
ผลตา่ งระหว่างประมาณการกบั รายไดจ้ ัดเกบ็ พ.ศ. 2563 Q1/FY64 126.6 พ.ย. ธ.ค.
รายไดจ้ ัดเกบ็ จริง 7.2 115.7 102.6 ม.ค. YTD (FY)
รายไดน้ าสง่ คลัง ลา้ นบาท 1,908.8 344.9 48.4 2.4 -7.3 152.5 497.4
รายจ่าย ภาพรวม -16.0 59.6 71.5 7.9 -73.9
%yoy 11.1 0.9 48.6 -4.0 12.4 49.9 229.4
3.1 ดลุ เงินงบประมาณ -4.7 55.2 73.8 -18.5 -65.9
ลา้ นบาท 673.5 179.5 2,082.3 -12.5 31.0 49.9 227.5
-7.5 2,452.9 2,867.7 -26.1 -65.5
%yoy -21.6 -2.1 -2,033.6 1.6 20.8 2,979.2 10,382.0
-2,397.7 -2,793.9 34.6 -66.7
ลา้ นบาท 659.1 177.6 -2,929.3 -10,154.5

%yoy -22.4 4.2

ล้านบาท 31,181.4 7,402.9

%yoy 1.9 5.2

ล้านบาท -30,522.2 -7,225.2

รายการ งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ยจรงิ ร้อยละการเบกิ จา่ ย เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย
ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร (ร้อยละ)
1.รายจา่ ยจรงิ ปงี บประมาณปปี จั จบุ นั
1.1รายจ่ายประจา 6,193.4 1,795.3 29.0 100
1.2 รายจ่ายลงทุน 1,890.3
2.รายจา่ ยงบประมาณเหลอื่ มปี 4,303.1 1,286.3 68.0 100
3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 1,502.9
7,696.3 509.0 11.8 100

782.4 52.1

2,577.8 33.5

ทมี่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

[4]

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เทียบกับเปา้ หมายการเบิกจา่ ย
สะสมตั้งแต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงเดอื นมกราคม 2564

100.0 91.7 100.0

90.0 80.0 83.3

80.0 71.1

70.0 62.2
60.0 57.0

47.5
50.0 38.0
40.0 32.0

30.0 21.3 29.0
24.3
20.0 10.7

10.0 17.0

- 5.8

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 ม.ี ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 มิ.ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการใช้จ่าย เป้าหมาย

กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทนุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เทียบกับเปา้ หมายการเบิกจา่ ย
สะสมต้ังแต่ต้นปงี บประมาณจนถึงเดอื นมกราคม 2564

100.0 91.7 100.0

90.0 83.3

80.0

70.0 65.0
57.8

60.0 50.6
50.0 45.0

37.5
40.0 30.0

30.0 20.0

20.0 13.3 8.8 11.8
10.0 6.7
0.0 0.7 2.7

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 มี.ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 มิ.ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการเบกิ จ่าย เป้าหมาย

[5]

ผลการเบิกจา่ ยงบลงทนุ ของหนว่ ยงานทไ่ี ด้รบั งบประมาณจัดสรรตง้ั แต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป
สะสมต้ังแตป่ งี บประมาณจนถงึ เดอื นมกราคม 2564

หนว่ ย : ลา้ นบาท

ลาดบั ท่ี หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ ร้อยละ ผลการเบกิ จา่ ยจริง ร้อยละ
ทไี่ ดร้ บั จดั สรร การกอ่ หน้ี การเบกิ จา่ ย

1 สานักงานกอ่ สร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 2 562.0 168.9 30.0 136.9 24.4

2 สานักงานทรัพยากรนา ภาค 1 538.8 412.2 76.5 5.5 1.0

3 ศนู ย์สร้างทางลาปาง 435.1 28.1 6.5 48.6 11.2

4 แขวงทางหลวงลาปางท่ี 1 408.4 355.4 87.0 12.2 3.0

5 แขวงทางหลวงลาปางที่ 2 362.9 316.0 87.1 10.3 2.8

6 สานักงานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ จังหวัด 326.0 0.0 0.0 0.1 0.0

7 โครงการชลประทานลาปาง 318.2 38.3 12.0 65.5 20.6

8 สานักงานชลประทานท่ี 2 170.1 20.6 12.1 24.8 14.6

9 สานักจัดการทรัพยากรปา่ ไม้ ท่ี 3 ลาปาง 156.5 21.1 13.5 1.4 0.9

10 สานักงานจังหวัดลาปาง (งบประมาณจังหวดั ลาปาง) 150.0 2.7 1.8 0.0 0.0

11 แขวงทางหลวงชนบทลาปาง 104.3 8.0 7.7 74.0 71.0

ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มรี ายจ่ายลงทุน วงเงนิ ต้งั แต่ 100 ล้านบาทข้นึ ไป จานวน 11 หน่วยงาน รวมรายจา่ ยลงทุน
3,532.2 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 82.1 ของงบรายจ่ายลงทนุ ท่ไี ดร้ บั

[6]

ผลการเบกิ จ่ายงบลงทุนของหนว่ ยงานทไี่ ด้รบั งบประมาณจัดสรรตง้ั แต่ 10 ถงึ 100 ลา้ นบาท

สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถงึ เดอื นมกราคม 2564

หนว่ ย : ล้านบาท

ลาดบั ท่ี หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ ผลการเบกิ จา่ ยจรงิ ร้อยละ
ทไี่ ดร้ ับจดั สรร การกอ่ หนี้ การเบกิ จา่ ย

1 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด 89.0 42.1 47.4 0.0 0.0

2 ม.ราชภัฏลาปาง 83.4 18.1 21.8 6.1 7.4

3 องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ลาปาง 60.0 0.0 0.0 0.0 0.0

4 สานักบริหารพนื ทอี่ นุรักษท์ ่ี 13 ลาปาง 39.5 21.3 54.0 7.0 17.7

5 โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง 37.4 5.0 13.3 0.0 0.0

6 สานักทรัพยากรนาบาดาล เขต 1 ลาปาง 36.4 1.8 5.0 23.9 65.5

7 ทท่ี าการปกครองจังหวดั ลาปาง 29.2 4.9 16.8 2.5 8.4

8 สานักงานเขตพนื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 2 26.2 18.8 71.5 4.3 16.3

9 วิทยาลยั เทคนิคลาปาง 22.4 20.3 90.6 0.0 0.0

10 สานักงานเขตพนื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 20.4 4.4 21.7 0.7 3.5

11 สานักงานเขตพนื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 19.0 1.8 9.5 0.6 3.1

12 โรงเรียนกฬี าจังหวัดลาปาง 17.4 2.2 12.6 0.0 0.0

13 สานักงานเขตพนื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 14.8 12.2 82.1 2.7 17.9

14 สานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดลาปาง 14.7 0.0 0.0 0.4 2.6

15 สถานีพฒั นาทด่ี นิ จังหวดั ลาปาง 12.2 4.4 35.8 2.3 19.2

16 สานักงานโยธาและผังเมอื งจังหวดั ลาปาง 11.3 1.2 10.6 9.7 86.2

17 สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมจังหวดั 10.9 0.0 0.0 0.0 0.0

18 มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแห่งขาติ วทิ ยาเขตลาปาง 10.5 5.0 48.1 1.6 15.0

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

หน่วยงานท่ีมีรายจ่ายลงทุน วงเงินต้ังแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จานวน 18 หน่วยงาน รวมรายจ่าย
ลงทุน 554.7 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 12.9 ของงบรายจ่ายลงทนุ ที่ได้รับจดั สรรทัง้ หมด

[7]

เคร่ืองชภ้ี าวะเศรษฐกจิ การคลังจังหวดั ลาปาง (Economic and Fiscal) รายเดอื น
ตารางที่ 1 เครอื่ งช้ีเศรษฐกิจ

เครอื่ งชีเ้ ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/63 Q2/63 Q3/63 ปี 2563 – 2564 ธ.ค. ม.ค. YTD
เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน Q4/63 พ.ย.

ดชั นผี ลผลิตภาคบริการ %yoy -9.8 -5.1 -25.8 -5.1 -4.0 -8.0 6.4 -8.3 -8.3
(โครงสร้างสัดส่วน 50%)
จานวนผเู้ ข้าพัก คน 371,068.3 147,193.3 12,451.0 77,348.0 134,076.0 49,447.0 43,286.0 35,237.3 35,237.3
%yoy -39.6 -17.2 -91.4 -26.6 -28.3 -24.0 -35.6 -43.5 -43.5
รายไดจ้ ากผเู้ ยย่ี มเยือน ล้านบาท 2,292.1 678.7 55.5 500.7 1,057.3 401.6 340.1 259.7 259.7
%yoy -47.5 -23.0 -93.5 -41.0 -40.7 -34.0 -46.9 -18.0 -18.0
จานวนนกั ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ขา้ มาในจังหวัด คน 816,486.0 240,750.0 21,709.0 187,566.0 366,461.0 136,106.0 122,530.0 92,337.8 92,337.8
ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม %yoy -39.9 -20.8 -91.8 -30.2 -29.9 -24.9 -35.1 -13.9 -13.9
(โครงสร้างสัดส่วน 40%)
%yoy -9.6 1.5 -15.4 -10.8 -13.2 -13.8 -9.1 -9.7 -9.7
ปริมาณลิกไนต์
พันตนั 13,404.8 3,344.3 3,433.6 3,362.3 3,264.6 1,120.0 1,321.4 1,112.8 1,112.8
ปริมาณหนิ อตุ สาหกรรม (หนิ ปนู - กอ่ สร้าง) %yoy -4.5 -7.6 -5.7 -8.4 5.3 38.7 -3.9 -15.1 -15.1
พันตนั 1,541.4 445.8 340.8 418.4 336.4 108.5 126.1 116.0 116.0
ปริมาณดนิ ขาว %yoy -19.0 0.1 -19.0 -21.8 -32.9 -35.6 -26.0 -20.6 -20.6
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม พันตนั 302.2 87.8 68.5 76.3 69.6 21.8 16.8 18.6 18.6
(โครงสร้างสัดส่วน 10%) %yoy 10.9 100.6 -17.8 0.7 0.1 -9.1 -17.7 -42.2 -42.2

ปริมาณผลผลิต : ขา้ วโพดเลยี งสตั ว์ %yoy -5.1 -20.6 -7.5 12.6 -1.2 -3.2 -13.3 113.5 113.5

จานวนอาชญาบตั ร : กระบอื ตนั 191,198.2 5,557.4 10,388.4 1,935.2 173,317.1 117,747.7 16,051.5 44,060.6 44,060.6
%yoy -20.2 -86.0 -46.7 0.0 -3.9 7.5 -60.0 5,435.3 5,435.3
จานวนอาชญาบตั ร : ไก่ ตวั 987.3 335.3 165.0 237.0 250.0 80.0 86.0 83.3 83.3
%yoy 19.3 84.2 -17.5 1.7 17.6 31.1 0.0 12.2 12.2

ตวั 10,610,774.9 2,960,717.7 2,783,946.0 2,318,241.0 2,547,870.3 987,040.0 762,300.0 849,290.1 849,290.1

%yoy 35.8 79.5 54.3 17.0 7.2 1.5 -2.7 16.9 16.9

[8]

เครอื่ งชเี้ ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/63 Q2/63 Q3/63 ปี 2563 – 2564 ธ.ค. ม.ค. YTD
เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค์ Q4/63 พ.ย.

ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน %yoy -11.2 -1.0 -34.0 -5.1 -3.1 -5.0 -1.6 -18.7 -18.7
ยอดขายของบริษัทขายรถ
ลา้ นบาท 4,122.2 1,423.4 736.3 787.9 1,174.6 384.5 425.0 391.5 391.5
ภาษีมูลคา่ เพิ่มทหี่ มวดขายส่งขายปลกี %yoy -28.1 -10.9 -50.4 -42.3 -8.3 -12.0 -1.0 -24.3 -24.3

จานวนรถจักรยานยนตท์ จ่ี ดทะเบยี นใหม่ ลา้ นบาท 367.2 100.4 75.6 101.8 89.5 28.0 29.2 29.8 29.8
ปริมาณจาหนา่ ยสรุ า -9.8
ปริมาณจาหนา่ ยเบยี ร์ %yoy -2.8 6.5 -23.2 11.0 -4.0 -5.6 7.2 -9.8 770.0
คนั 11,434.0 2,938.0 2,669.3 3,209.7 2,617.0 799.0 888.0 770.0 -31.7
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน 113,622.1
จานวนรถยนตพ์ าณชิ ย์ทจ่ี ดทะเบยี นใหม่ (รย.3และอน่ื ๆ) %yoy -7.3 -11.9 -23.1 8.5 1.9 -5.8 36.4 -31.7 -30.8
จานวนรถยนตบ์ รรทกุ จดทะเบยี นใหม่ ลติ ร 1,622,573.2 424,045.0 295,734.1 353,070.7 549,723.4 172,416.7 213,648.6 113,622.1 912,407.5
พืนทไ่ี ดร้ ับอนุญาตใหก้ อ่ สร้างรวม %yoy -13.0 -18.2 -33.8 9.7 -4.9 -12.5 -6.5 -30.8 -53.2
สนิ เชอ่ื เพื่อการลงทนุ ลติ ร 17,068,378.8 5,872,374.1 1,613,265.0 4,462,473.6 5,120,266.2 1,472,370.1 1,472,370.1 912,407.5
ยอดขายวัสดแุ ละอปุ กรณ์การกอ่ สร้าง %yoy -8.6 4.6 -67.2 27.0 10.8 33.6 -33.2 -53.2 -3.6

ดชั นกี ารใช้จา่ ยของรัฐบาล %yoy -1.8 -1.3 -6.4 -3.7 0.3 0.6 1.0 -3.6 62.0
การเบกิ จ่ายเงินงบประจาของ ส่วนราชการ + ทอ้ งถน่ิ -59.2
การเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของ ส่วนราชการ + ทอ้ งถน่ิ คนั 1,462.7 401.0 379.7 357.0 325.0 130.0 58.0 62.0 21.0
133.3
%yoy -26.1 -37.8 -28.2 -24.0 -3.1 0.8 -10.8 -59.2 48,940.7
0.8
คนั 128.7 25.0 32.3 25.3 46.0 24.0 5.0 21.0 9,706.5
-3.1
%yoy -58.4 -75.2 -55.1 -57.8 -39.5 -42.9 -50.0 133.3 190.4
-15.3
ตรม. 497,557.5 129,394.5 118,662.0 102,679.0 146,822.0 41,523.0 70,023.0 48,940.7
34.4
%yoy 13.5 15.4 18.7 -10.6 31.7 3.7 129.2 0.8
2,590.3
ล้านบาท 115,048.4 29,178.3 27,631.4 28,683.6 29,555.1 9,881.1 9,899.1 9,706.5 26.1
388.9
%yoy -1.5 -0.8 -6.1 -2.9 -0.5 0.6 -1.6 -3.1 145.1

ล้านบาท 2,337.0 699.8 494.9 546.4 595.8 206.1 184.8 190.4

%yoy -16.7 -12.6 -32.7 -18.8 -0.4 3.0 -10.0 -15.3

%yoy 4.2 -8.7 6.9 8.8 10.2 4.5 29.7 34.4

ตนั 23,563.4 6,159.6 6,456.8 6,635.9 6,834.5 2,274.6 2,523.3 2,590.3
%yoy -3.9 -0.5 8.0 2.4 16.3 7.6 40.4 26.1
ตนั 5,113.4 685.5 1,586.3 2,617.7 568.4 178.3 344.4 388.9
%yoy -18.5 -61.5 -1.0 51.1 -51.0 -40.7 -40.3 145.1

[9]

เครอื่ งช้เี ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/63 Q2/63 Q3/63 ปี 2563 – 2564 ธ.ค. ม.ค. YTD
ดา้ นรายได้ (Income) Q4/63 พ.ย.
-12.4 137.0 137.0
ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกรรม %yoy -26.7 -18.3 -2.6 0.3 -13.4 -25.2 -13.3 113.5 113.5
-1.2 -3.2 -12.4 137.0 11.0
ดชั นีผลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -5.1 -20.6 -7.5 12.6 -12.4 -25.2
87,426.8 86,185.5 86,185.5
ดชั นีราคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy -22.7 2.9 5.2 -10.9 84,180.7 82,986.7 10.2 8.3 8.3
8.4 7.9 73,162.4 72,417.7
ดา้ นการเงิน ลา้ นบาท 972,672.9 79,542.3 77,655.2 82,846.1 0.6 0.1 72,417.7
ปริมาณเงนิ ฝากรวม %yoy 5.6 3.2 2.6 8.0 72,056.0 72,045.0 0.1
ลา้ นบาท 849,553.0 71,623.9 68,373.0 71,131.5 0.3 0.6 102.7 102.4
สนิ เชอื่ รวม %yoy -0.9 -0.6 -4.6 -0.5 -0.3 -1.1 102.4
ดา้ นเสถยี รภาพเศรษฐกจิ 102.4 102.3 2.0 0.9 -1.1
(Stability) -0.5 -0.6 -1.9 -2.5 0.9
2.1 2.1 101.8 101.8 -2.5
ดชั นีราคาผบู้ ริโภคทว่ั ไป 102.1 103.1 100.5 102.2 -2.4 -2.5 0.0 -0.1 101.8
101.8 101.8 130.5 130.4 -0.1
(อตั ราเงนิ เฟ้อทวั่ ไป) %yoy -0.6 1.6 -2.6 -0.7 0.0 -0.1 -0.9 -1.8 130.4
130.4 130.1 49,329 49,247 -1.8
- หมวดอาหารและเครอื่ งดมื่ %yoy 2.7 5.1 1.4 2.2 -0.9 -0.9 -0.1 0.5 49,247
48,561 48,470 0.5
- หมวดอน่ื ๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดม่ื %yoy -3.0 -0.9 -5.6 -2.9 -8.3 -18.8

ดชั นีราคาผบู้ ริโภคพืนฐาน 101.8 101.9 101.7 101.8

(อตั ราเงนิ เฟ้อพืนฐาน) %yoy 0.0 0.0 -0.1 -0.1

ดชั นรี าคาผผู้ ลติ 130.4 132.0 128.7 130.5

(อตั ราการเปลย่ี นแปลง) %yoy -1.8 -0.4 -4.1 -1.7

การจ้างงาน: Employment คน 590,264 49,292 49,559 49,343
%yoy -7.2 -7.3 -6.9 -6.4

หมายเหตุ : 1. ดชั นีการใช้จา่ ยภาครฐั รวมรายจ่ายขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (อปท.)
2. e คอื ขอ้ มูลประมาณการ
3. r คือ การปรบั ปรงุ ข้อมูลย้อนหลัง

[10]

ตารางท่ี 2 เครอ่ื งช้กี ารคลัง

เครอื่ งชดี้ า้ นการคลัง (Fiscal) หนว่ ย ปงี บประมาณ(FY) Q1/FY64 ต.ค. ปงี บประมาณ (FY) พ.ศ. 2564 ม.ค. YTD (FY)
พ.ศ. 2563 48.4 พ.ย. ธ.ค. 49.9 229.4
-16.0 59.6 71.5 -18.5 -65.9
รายไดจ้ ัดเกบ็ จริง ล้านบาท 673.5 179.5 35.6 -4.0 12.4 30.4 154.2
%yoy -21.6 -2.1 -12.5 39.7 48.5 -27.8 -66.8
4.9 -2.2 7.8 4.4 20.8
สรรพากรพืนท่ี ลา้ นบาท 464.2 123.9 -7.3 5.5 6.0 -20.6 -64.5
%yoy -21.7 -1.9 0.8 -5.5 -6.7 4.0 8.2
-42.3 1.5 2.0 -5.5 -56.1
สรรพสามิตพืนท่ี ล้านบาท 58.7 16.4 7.1 86.9 71.0 11.1 46.2
%yoy -2.6 -6.5 -30.9 12.9 15.0 18.9 -65.0
48.6 -13.4 36.4 49.9 227.5
ธนารักษ์พืนทล่ี าปาง ลา้ นบาท 18.7 4.2 -4.7 55.2 73.8 -26.1 -65.5
%yoy -17.5 28.9 -2,033.6 -12.5 31.0 -2,929.3 -10,154.5

สว่ นราชการอนื่ ลา้ นบาท 131.9 35.0 -2,397.7 -2,793.9
%yoy -28.2 -3.2

รายไดน้ าส่งคลัง ล้านบาท 659.1 177.6
%yoy -22.4 4.2

3.1 ดลุ เงนิ งบประมาณ ล้านบาท -30,522.2 -7,225.2

หมายเหตุ
FY คือ ปีงบประมาณ (ต.ค.2563-ก.ย.2564)
Q1 คอื ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นตลุ าคม ถึงเดอื นธันวาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2563)
Q2 คือ ยอดสะสมตง้ั แตเ่ ดือนมกราคม ถึงเดือนมนี าคม (ม.ค. - ม.ี ค. 2564)
Q3 คอื ยอดสะสมตง้ั แตเ่ ดือนเมษายน ถงึ เดือนมถิ นุ ายน (เม.ย. - มิ.ย. 2564)
Q4 คอื ยอดสะสมตง้ั แต่เดอื นกรกฎาคม ถึงเดือนกนั ยายน (ก.ค. - ก.ย. 2564)


Click to View FlipBook Version