The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปางประจำปี 2565 ฉบับที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpg, 2022-03-30 00:45:19

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปางประจำปี 2565 ฉบับที่ 1

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปางประจำปี 2565 ฉบับที่ 1

สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง

THE LAMPANG PROVINCIAL COMPTROLLER OFFICE

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปาง



ปี 2565 ฉบับที่ 1

สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด
โทรศัพท์ 0 54265 031 E-mail : [email protected]

สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง

“เศรษฐกิจจังหวัดลำปางปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.2 ผลจากแรงขับเคลื่อน
การขยายตัวทางเศรษฐกิจด้านการผลิตและการใช้จ่าย ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัว
ร้อยละ 2.9 ในปีก่อน”

ด้านการผลิต 4.3% ด้านการใช้จ่าย 3.8%

ภาคอุตสาหกรรม ปี 2564F ปี 2565F การใช้จ่ายภาครัฐ ปี 2564F ปี 2565F
ภาคเกษตรกรรม การบริโภคภาคเอกชน
ภาคบริการ 8.2 9.0 การลงทุนภาคเอกชน 3.5 4.0
3.5 4.1 3.2 3.7
-3.9 2.4 3.5 3.6

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

รายได้เกษตรกร อัตราเงินเฟ้อ การจ้างงาน

ปี 2564F 7.6 ปี 2564F 0.7 ปี 2564F 0.1

ปี 2565F 8.4 ปี 2565F 2.3 ปี 2565F 2.1

ปัจจัยสนับสนุน ปัจจัยเสี่ยง

การผ่อนคลายมาตรการควบคุมของภาครัฐ ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรค COVID-19
ภาครัฐมีมาตรการเยียวยา กระตุ้น
และฟื้ นฟูเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ภาระหนี้สินครัวเรือนและธุรกิจที่ยังอยู่ใน
ระดับสูง
มาตรการของรัฐในการเพิ่มประสิทธิภาพและเร่งรัด
การใช้จ่ายงบประมาณอย่างต่อเนื่อง การเพิ่มขึ้นของการว่างงาน และการเพิ่มขึ้น
ของภาระหนี้ครัวเรือนและธุรกิจ

สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด
โทร. 054-265031-2 โทรสาร. 054-265031 ต่อ 305

e-mail : [email protected]

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ลำปาง

OL;P;;[‘DFFสTำYนG7ักUงาJMนค.ล. ังจังหวัดลำปาง ศาลากลางจงั หวัดลำปาง ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำปาง
โทรศัพท์ 0 5426 5031-2 โทรสาร 0 5426 5031-2 ต่อ 305 www.cgd.go.th/lpg

ฉบบั ท่ี 1/2565 ณ เดอื น มนี าคม 2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั ลำปาง ปี 2565
“เศรษฐกิจจังหวดั ลำปางปี 2565 คาดวา่ จะขยายตัวร้อยละ 4.2 ผลจากแรงขบั เคล่ือน
การขยายตัวทางเศรษฐกจิ ด้านการผลติ และการใช้จ่าย ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 2.9 ในปีกอ่ น”

1.เศรษฐกจิ จงั หวัดลำปาง ในปี 2565
1.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกจิ
สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

จากผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจและผู้ประกอบการธุรกิจที่สำคัญของจังหวัดตามเครื่องชี้เศรษฐกิจจังหวัด
ในแต่ละด้านและประมวลผลสรุปดัชนีเศรษฐกิจจังหวัดลำปางปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.2
(โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.7 ถึง 4.7 ต่อปี) เพิ่มขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อนที่คาดว่าจะขยาย
ตวั ร้อยละ 2.9 เน่อื งจากคาดว่า

ด้านอุปทาน (ด้านการผลิต) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ
3.8 ถึง 4.8 ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตวั ร้อยละ 2.8 ในปีก่อน จาก ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตวั
ร้อยละ 9.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 8.5 ถึง 9.5 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 8.2 ในปีก่อน สะท้อนจาก
ความต้องการใช้ปริมาณหินอุตสาหกรรม (หินปูน-ก่อสร้าง) ขยายตัวจากโครงการก่อสร้างของภาครัฐ
และเอกชน สอดคล้องกับพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างรวมที่เพิ่มขึ้น ด้านการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม
และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรมขยายตัว จากภาวการณ์ผลิตภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดที่เริ่มฟื้นตัว
โดยเฉพาะการผลิตสินค้าประเภทเซรามิคและไม้แปรรูป ที่มีความต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง
โดยยอดมีคำสั่งซื้อสินค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศต่อเนื่องถึงสิ้นปี 2565 ภาคเกษตรกรรม คาดว่า
จะขยายตัวร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.6 ถึง 4.6 ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.5
ในปีก่อน โดยมีปัจจัยหนุนจากแนวโน้มสภาพอากาศ ปริมาณฝน และน้ำในเขื่อนที่คาดว่าจะเอื้ออำนวย
ราคาสินค้าเกษตรอยู่ในเกณฑ์ดี และภาครัฐมีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกรอยา่ งตอ่ เน่ือง รวมทั้งความต้องการ
สนิ ค้าการเกษตรจากตลาดภายในประเทศและตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์และมันสำปะหลัง จงึ สง่ ผล
ให้เกษตรกร มีความต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูก/เพิ่มรอบการปลูกมากขึ้น ทำให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น
ภาคบริการ คาดว่าขยายตวั ร้อยละ 2.4 (โดยมชี ่วงคาดการณ์ร้อยละ 1.9 ถึง 2.9 ต่อปี) ขยายตัวเพิ่มข้ึนจากท่ี
หดตัวร้อยละ -3.9 ในปีก่อน ตามปริมาณสินเชื่อรวม พื้นที่ให้อนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัย การใช้ไฟฟ้าภาค
บริการ และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคารที่เพิ่มขึ้น ตามภาวการณ์ลงทนุ ในจังหวัดท่ีกำลังฟื้นตัว
และสถานการณเ์ ศรษฐกิจโดยรวมปรับตัวดีขึน้ จากการผ่อนปรนในเร่ืองการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโค
โรนา 2019 ประกอบกับจังหวดั มกี ารจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ และสนับสนนุ การทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั ลำปาง อาทิ เช่น
ส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนต่างๆ เพิ่มขึ้น เชิงธรรมชาติ ในเขตอำเภองาว ได้แก่ น้ำตกแม่แก้
บ้านบ่อสี่เหลี่ยม เชิงวัฒนธรรม ในอำเภอแม่ทะ วัดพระธาตุดอยพระฌาน อำเภอแจ้ห่ม วัดพระบาทปู่ผาแดง
อำเภอเมือง ชุมชนท่ามะโอ เป็นต้น รวมถึงการผ่อนปรนของร้านอาหารที่สามารถนั่งทานและดื่มได้

-2-

และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลต่างๆ รวมทั้งโครงการที่สนับสนุนการท่องเที่ยวที่มีออกมา เช่น
มาตรการเพิ่มค่าใช้จ่ายแก่ผู้มีรายได้น้อย โดยการเพิ่มวงเงินในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการคนละคร่ึง
เพื่อกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอยภาคครัวเรือน โครงการเราเที่ยวด้วยกัน จะเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยดึงเม็ดเงิน
และกระตุ้นการใช้จ่ายในจังหวัดลำปาง จึงเป็นแรงขับเคลื่อนที่ช่วยพยุงให้ภาคบริการของจังหวัดลำปางให้
สามารถกลบั มาฟื้นตวั

ด้านอุปสงค์ (ด้านการใช้จ่าย) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ
3.3 ถึง 4.3 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 ในปีก่อน โดย การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ
4.0 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5 ถึง 4.5 ต่อปี) ปรับตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.5 จากปีก่อน สะท้อนจาก
ยอดขายรถของบรษิ ัทขายรถ ภาษีมลู คา่ เพมิ่ หมวดขายส่งขายปลกี ปรับตวั ดีข้ึน และการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนท่ี
อยู่อาศัย ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และแรงสนับสนุนจาก
มาตรการภาครัฐ หลังจากทยอยผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด และการฉีดวัคซีนที่มีความคืบหน้า
ต่อเนื่อง ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวม รายได้ครัวเรือน และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทยอยฟื้นตัว
รวมทั้งมาตรการภาครัฐยังช่วยพยุงกำลังซือ้ ของครัวเรือนอย่างต่อเน่ือง การใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัว
ร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.2 ถึง 4.2 ต่อปี) เป็นผลจากมาตรการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ
สนับสนุนให้มีเม็ดเงินจากระบบงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ลงสู่ระบบเศรษฐกิจ
ให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น และสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในการก่อหนี้ผูกพันและการเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด การลงทุนภาคเอกชน คาดว่า
จะขยายตัวร้อยละ 3.6 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.1 ถึง 4.1 ต่อปี) ปรับตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.5
จากปีกอ่ น ตามพน้ื ทไี่ ด้รบั อนุญาตกอ่ สรา้ งรวม สินเชื่อเพือ่ การลงทนุ และยอดขายวสั ดแุ ละอุปกรณ์การก่อสร้าง
ที่เพิ่มขึ้น จากแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐเพื่อกระตุ้นการ
ใช้จ่าย และการลงทุนในประเทศ รวมทั้งภาคการค้าระหว่างประเทศที่มีแนวโน้มขยายตวั ตอ่ เนือ่ ง ตามทิศทาง
การฟื้นตวั ของเศรษฐกจิ โลก มีส่วนชว่ ยสนบั สนนุ ภาคการผลิตให้เกดิ การลงทุนใหม่ๆ เพิ่มขนึ้

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ด้านรายได้เกษตรกรในปี 2565 คาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 8.4 (โดยมชี ว่ งคาดการณ์รอ้ ยละ 7.9 ถงึ 8.9
ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากท่ีขยายตัวร้อยละ 7.6 ในปีก่อน เป็นผลมาจากความต้องการของสินค้าทางการเกษตร
เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรดีขึน้ ทำให้รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปในปี 2565
คาดวา่ จะอยทู่ ่รี ้อยละ 2.3 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.5 ถึง 4.5 ตอ่ ป)ี จากท่ตี วั ร้อยละ 0.7 ในปีก่อน
เพิ่มขึ้นตามจากดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม จากการสูงขึ้นของหมวดข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง
หมวดเนื้อสัตว์ เป็ด ไก่ และสัตว์น้ำ หมวดผักและผลไม้ และราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศที่ปรับเพิ่มข้ึน
ตามราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกเป็นสำคัญ การจ้างงานคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 ตามมาตรการการ
สร้างแรงจูงใจใหภ้ าคธรุ กจิ ในการจ้างงานต่อเนอ่ื ง ทงั้ ภาคอตุ สาหกรรมและบรกิ าร

-3-

ปัจจยั สนับสนนุ ทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2565 ของจังหวัดลำปาง
1. จังหวัดลำปางมีจำนวนผู้ฉีดวัคซีนที่มากขึ้น และจำนวนของผู้ที่เข้ารับการกระตุน้ เข็ม 3 และเข็ม 4
อย่างตอ่ เนอื่ ง ชว่ ยลดความสญู เสียและการฟ้นื ฟูชีวติ ของประชาชนและการฟนื้ ฟูเศรษฐกจิ ให้กลบั มาโดยเรว็
2. การผอ่ นคลายมาตรการควบคุมของภาครัฐ ส่งผลใหภ้ าคเศรษฐกิจในจังหวัดปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ
มากขึน้
3. ภาครัฐมีมาตรการเยียวยา กระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อบรรเทาผลกระทบจาก
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 อาทิ มาตรการด้านการเงิน มาตรการภาษี มาตรการชดเชยรายได้
มาตรการเสรมิ สภาพคล่องให้ผู้ประกอบการ และมาตรการส่งเสรมิ และกระต้นุ การท่องเที่ยวในประเทศ ฯลฯ
4. มาตรการของรัฐในการเพิ่มประสิทธิภาพและเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มี
เมด็ เงนิ เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว และเป็นไปตามเปา้ หมายท่ีรฐั บาลกำหนด
ปจั จัยเส่ียงทางเศรษฐกจิ ในปี พ.ศ. 2565 ของจังหวัดลำปาง
1. ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ท่ามกลางการกลายพนั ธุ์ของเช้ือไวรัส
ทจ่ี ะมผี ลตอ่ ประสทิ ธิภาพของวคั ซีน
2. ภาระหนี้สินครัวเรือนและธุรกิจที่ยังอยู่ในระดับสูงจะเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นตัว และมีแนวโน้มเพิ่ม
สงู ข้ึน
3. ผู้ประกอบการไม่มีความเชื่อมั่นและกังวลต่อสถานการณ์เศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจโลก
ที่หดตวั รุนแรง
4. การเพิ่มขึ้นของการว่างงานและการเพิ่มขึ้นของภาระหนี้ครัวเรือนและธุรกิจ เป็นข้อจำกัด
ตอ่ การฟื้นตัวของเศรษฐกจิ
5. การเพิ่มขึ้นของแรงกดดันด้านเงินเฟ้อตามการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์
ในตลาดโลก

-4-

ตารางสรปุ สมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดลำปางปี 2565

เครอื่ งชี้ 2564r 2565f
( ณ มีนาคม 2565 )
สมมตฐิ านภายนอก 9.5
ปริมาณหนิ อตุ สาหกรรม (หินปนู -กอ่ สร้าง) (ร้อยละต่อป)ี 5.7 เฉลยี่ ชว่ ง
ปรมิ าณลกิ ไนต์ (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 0.8
ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละต่อป)ี 18.5 8.5 8.0 ถึง 9.0
ภาษมี ูลค่าเพ่มิ หมวดอุตสาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) 2.5 7.3 6.8 ถึง 7.8
สนิ เชอ่ื รวม (รอ้ ยละต่อป)ี 2.7 7.5 7.0 ถงึ 8.0
พืน้ ที่ใหอ้ นญุ าตกอ่ สร้างทอี่ ยู่อาศยั (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -16.3 18.9 18.4 ถงึ 19.4
ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคบรกิ าร (รอ้ ยละตอ่ ปี) -22.2 2.4 1.9 ถงึ 2.9
ภาษีมูลคา่ เพม่ิ หมวดโรงแรมและภัตตาคาร (รอ้ ยละต่อปี) 4.3 2.6 2.1 ถึง 3.1
ปรมิ าณผลผลิต : ขา้ วเหนยี วนาปี (ร้อยละตอ่ ปี) 4.0 2.1 1.6 ถึง 2.6
ปรมิ าณผลผลิต : ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ (ร้อยละตอ่ ป)ี 2.3 2.7 2.2 ถงึ 3.2
ปริมาณผลผลิต : สบั ปะรด (รอ้ ยละต่อปี) 10.2 4.7 4.2 ถึง 5.2
ปริมาณผลผลติ : มนั สำปะหลัง (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -6.9 5.4 4.9 ถงึ 5.9
จำนวนอาชาบตั ร : สกุ ร (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 33.2 3.6 3.1 ถงึ 4.1
ปรมิ าณ : ไก่ (ร้อยละตอ่ ป)ี 10,048.3 11.2 10.7 ถึง 11.7
ราคาราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลย่ี : ข้าวเหนียวนาปี (บาทตอ่ ตัน) 6.1 4.2 3.7 ถึง 4.7
ราคาราคาที่เกษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : ราคาขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ (บาทต่อตนั ) 1.4 4.3 3.8 ถงึ 4.8
ราคาราคาท่ีเกษตรกรขายได้เฉลย่ี : ราคาสบั ปะรด (บาทตอ่ ตนั ) 2.3 10,732.0 10,681 ถงึ 10,782
ราคาราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลย่ี : ราคามนั สำปะหลงั (บาทตอ่ ตนั ) 69.8 5.6 5.1 ถงึ 6.1
ราคาราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลย่ี : ราคาสกุ ร (บาทตอ่ กโิ ลกรัม) 47.7 2.9 2.4 ถึง 3.4
ราคาราคาทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : ราคาไก่ (บาทต่อกิโลกรมั ) 2.8 5.6 5.1 ถึง 6.1
สินเชอ่ื เพอ่ื การลงทนุ (ลา้ นบาท) 5.2 71.6 71.3 ถึง 72.1
พ้ืนท่ไี ด้รบั อนญุ าตให้กอ่ สร้างรวม (ร้อยละตอ่ ป)ี 11.9 49.9 49.7 ถงึ 50.1
ยอดขายวัสดแุ ละอุปกรณก์ ารกอ่ สร้าง (รอ้ ยละต่อปี) 3.5 3.1 2.6 ถงึ 3.6
ยอดขายรถของบรษิ ทั ขายรถ (ร้อยละตอ่ ปี) 7.1 4.0 3.5 ถึง 4.5
ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ท่หี มวดขายสง่ ขายปลกี : รอ้ ยละตอ่ ปี 9.0 7.1 6.6 ถงึ 7.6
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรอื นทอี่ ยอู่ าศยั (ร้อยละตอ่ ปี) 4.1 3.6 ถึง 4.6
สมมติฐานด้านนโยบาย 21,056 4.8 4.3 ถึง 5.3
การเบิกจ่ายเงนิ งบประจำของสว่ นราชการ(ลา้ นบาท) 3.9 2.2 1.7 ถึง 2.7
(ร้อยละต่อป)ี 4,143
การเบิกจา่ ยงบลงทนุ ของสว่ นราชการ (ลา้ นบาท) 3.1 21,915 21,810 ถึง 22,020
(ร้อยละตอ่ ปี) 4.1 3.6 ถึง 4.6
ผลการประมาณการ 2.9 4,279
อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละตอ่ ป)ี 2.8 3.3 4,258 ถึง 4,300
อัตราการขยายตวั ทางดา้ นอปุ ทาน (ด้านการผลติ ) (รอ้ ยละต่อปี) 3.5 2.8 ถึง 3.8
1) อัตราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละต่อปี) 8.2
2) อัตราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -3.9 4.2 3.7 ถงึ 4.7
3) อัตราการขยายตัวของภาคบรกิ าร (ร้อยละตอ่ ปี) 3.3 4.3 3.8 ถึง 4.8
อัตราการขยายตวั ทางด้านอปุ สงค์ (ด้านการใชจ้ า่ ย) (รอ้ ยละต่อป)ี 3.2 4.1 3.6 ถึง 4.6
1) อัตราการขยายตัวของการใชจ้ ่ายภาครัฐ (รอ้ ยละต่อปี) 3.5 9.0 8.5 ถึง 9.5
2) อัตราการขยายตวั ของการบรโิ ภคภาคเอกชน(รอ้ ยละตอ่ ปี) 3.5 2.4 1.9 ถึง 2.9
3) อตั ราการขยายตัวของการลงทนุ ภาคเอกชน (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 3.8 3.3 ถงึ 4.3
3.7 3.2 ถงึ 4.2
4.0 3.5 ถงึ 4.5
3.6 3.1 ถงึ 4.1

-5-

เคร่อื งชี้ 2564r 2565f
( ณ มนี าคม 2565 )

อัตราการขยายตวั ของรายได้เกษตรกร (ร้อยละตอ่ ป)ี 7.6 เฉลย่ี ช่วง
อตั ราเงินเฟ้อ (ร้อยละตอ่ ป)ี 0.7 8.4 7.9 ถงึ 8.9
จำนวนผู้มงี านทำ (คน) 394,054.5 2.3 1.8 ถงึ 2.8
เปลย่ี นแปลง (รอ้ ยละ) 0.1 421,452.0 421,447.0 ถงึ 421,457.0
YOY 350 2.1 1.8 ถงึ 2.3
8,546 8,541 ถึง 8,551

e = Estimate : การประมาณการ f = Forecast : การพยากรณ์ r : Reviced ปรับขอ้ มลู
ที่มา : กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวัด สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง ปรับปรงุ : มนี าคม 2565

-6-

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจ
ด้านอุปทาน (ด้านการผลิต) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ
3.8 ถึง 4.8 ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตวั ร้อยละ 2.8 ในปีก่อน จาก ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัว
ร้อยละ 9.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 8.5 ถึง 9.5 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 8.2 ในปีก่อน สะท้อนจาก
ความต้องการใช้ปริมาณหินอุตสาหกรรม (หินปูน-ก่อสร้าง) ขยายตัวจากโครงการก่อสร้างของภาครัฐ
และเอกชน สอดคล้องกับพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างรวมที่เพิ่มขึ้น ด้านการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม
และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรมขยายตัว จากภาวการณ์ผลิตภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดที่เริ่มฟื้นตัว
โดยเฉพาะการผลิตสินค้าประเภทเซรามิคและไม้แปรรูป ที่มีความต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง
โดยยอดมีคำสั่งซื้อสินค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศต่อเนื่องถึงสิ้นปี 2565 ภาคเกษตรกรรม คาดว่า
จะขยายตัวร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.6 ถึง 4.6 ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.5
ในปีก่อน โดยมีปัจจัยหนุนจากแนวโน้มสภาพอากาศ ปริมาณฝน และน้ำในเขื่อนที่คาดว่าจะเอื้ออำนวย
ราคาสินค้าเกษตรอยู่ในเกณฑ์ดี และภาครัฐมีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความต้องการ
สนิ ค้าการเกษตรจากตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ ไดแ้ ก่ ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์และมนั สำปะหลัง จงึ สง่ ผล
ให้เกษตรกร มีความต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูก/เพิ่มรอบการปลูกมากขึ้น ทำให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น
ภาคบริการ คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 1.9 ถึง 2.9 ต่อปี) ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากที่
หดตัวร้อยละ -3.9 ในปีก่อน ตามปริมาณสินเชื่อรวม พื้นที่ให้อนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัย การใช้ไฟฟ้าภาค
บริการ และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคารท่ีเพิม่ ขึ้น ตามภาวการณ์ลงทนุ ในจังหวัดท่ีกำลังฟื้นตัว
และสถานการณ์เศรษฐกจิ โดยรวมปรับตัวดขี ึ้น จากการผ่อนปรนในเรื่องการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโค
โรนา 2019 ประกอบกับจงั หวัดมกี ารจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ และสนับสนนุ การทอ่ งเทย่ี วในจงั หวัดลำปาง อาทิ เช่น
ส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนต่างๆ เพิ่มขึ้น เชิงธรรมชาติ ในเขตอำเภองาว ได้แก่ น้ำตกแม่แก้
บ้านบ่อสี่เหลี่ยม เชิงวัฒนธรรม ในอำเภอแม่ทะ วัดพระธาตุดอยพระฌาน อำเภอแจ้ห่ม วัดพระบาทปู่ผาแดง
อำเภอเมือง ชุมชนท่ามะโอ เป็นต้น รวมถึงการผ่อนปรนของร้านอาหารที่สามารถนั่งทานและดื่มได้
และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลต่างๆ รวมทั้งโครงการที่สนับสนุนการท่องเที่ยวที่มีออกมา เช่น
มาตรการเพิ่มค่าใช้จ่ายแก่ผู้มีรายได้น้อย โดยการเพิ่มวงเงินในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการคนละครึ่ง
เพื่อกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอยภาคครัวเรือน โครงการเราเที่ยวด้วยกัน จะเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยดึงเม็ดเงิน
และกระตุ้นการใช้จ่ายในจังหวัดลำปาง จึงเป็นแรงขับเคลื่อนที่ช่วยพยุงให้ภาคบริการของจังหวัดลำปางให้
สามารถกลบั มาฟ้ืนตัว โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

-7-

1.1 ภาคอตุ สาหกรรม
1.1.1 ปริมาณหินอุตสาหกรรม (หินปูน-ก่อสร้าง) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8.5 (มีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ 8.0 ถึง 9.0 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 9.5 ในปีก่อน แนวโน้มของปริมาณหินอุตสาหกรรม
(หินปูน- ก่อสร้าง) เพื่อใช้สำหรับก่อสร้างอาคาร ถนน ซีเมนต์ และที่อยู่อาศัยในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับพ้ืนที่
ได้รับอนุญาตก่อสร้างรวมที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายงบลงทุนของส่วนราชการทีเ่ พิ่มข้ึน
เชน่ กนั

ปริมาณหินอตุ สาหกรรม (หนิ ปูน - ก่อสร้าง) : รอ้ ยละตอ่ ปี

40.0 35.2

30.0 11.4 21.6
21.1 17.2
20.0
yoy yoy 9.5 8.5
10.0 0.9 2.3

0.0

-10.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี-622.1 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-4.8

ทม่ี า : สำนกั งานอุตสาหกรรมจงั หวดั ลำปาง

1.1.2 ปริมาณการใช้ลิกไนต์ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.3 (มีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 6.8 ถึง 7.8
ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 5.7 ในปีก่อน เนื่องจากตามปริมาณลิกไนต์เพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า
ทเี่ พิม่ ขึน้

9.9 ปรมิ าณลกิ ไนต์ : รอ้ ยละตอ่ ปี

10.0 4.5 5.7 7.3

0.0
ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f

-10.0 -2.2 -4.3 -1.4 -0.4 -2.7 -4.5

-20.0 -16.1

ทม่ี า : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวดั ลำปาง

-8-

1.1.3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.5 (มีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ 7.0 ถึง 8.0 ต่อปี) และขยายตัวจากท่ีขยายตัวร้อยละ 0.8 ในปีก่อน จากภาวการณ์ผลิต
ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดที่เริ่มฟื้นตัว รวมถึงมีคำสั่งซื้อตามความต้องการสินค้าทั้งจากภายในประเทศและ
ตา่ งประเทศอยา่ งต่อเนือ่ งจนถงึ ปลายปี 2565

ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม : รอ้ ยละตอ่ ปี

11.3
15.0

10.0 3.7 5.7 0.3 7.5

yoy yoy 5.0 0.3 0.0 2.0 0.8

0.0

-5.0 ปี 55 ป-ี 25.64 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-3.8

ท่มี า : การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคจงั หวดั ลำปาง

1.1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 18.9 (มีช่วงคาดการณ์ร้อยละ
18.4 ถึง 19.4 ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 18.5 ในปีก่อน ตามการเพิ่มกำลังการผลิต
ภาคอตุ สาหกรรมสอดคล้องกับสัญญาณภาวะเศรษฐกิจโลกท่ีฟ้ืนตัวจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ
ต่างๆ โดยเฉพาะประเทศคู่ค้า เช่น อเมริกา ประเทศในแถบยุโรป ออสเตเรีย และอเมริกาใต้ ส่งผลให้มี
คำส่งั ซ้ือเพ่มิ มากข้นึ อยา่ งตอ่ เน่ืองจนถงึ สน้ิ ปี 2565 ไดแ้ ก่ สินคา้ เชรามิค และไมแ้ ปรรูป

ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ หมวดอุตสาหกรรม : ร้อยละตอ่ ปี

10.1 16.2 18.5 18.9
20.0 14.4 5.9

3.9

0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f

-20.0 -6.1 -4.3 -10.7

-21.6
-40.0

ทม่ี า : สำนกั งานสรรพากรพน้ื ท่ลี ำปาง

-9-

1.2 ภาคเกษตรกรรม

1.2.1 ปริมาณข้าวเหนียวนาปี คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.7 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.2 ถึง 5.2
ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 4.3 ในปีก่อน ผลผลิตข้าวเหนียวนาปีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยหนุน
จากแนวโน้มสภาพอากาศ ปริมาณฝน และน้ำในเขื่อนที่คาดว่าจะเอื้ออำนวย ประกอบกับมาตรการสนับสนุน
จากภาครัฐโดยเฉพาะโครงการประกนั รายไดท้ ่ีมีต่อเน่อื ง ทำให้เกษตรกรขยายพ้นื ท/ี่ เพมิ่ รอบการเพาะปลูก โดย
ความต้องการบริโภคข้าวในจังหวัดมีแนวโน้มกระเตื้องขึ้นตามการฟื้นตัวของธุรกิจร้านอาหาร โรงแรม และ
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารต่อเนื่อง ส่วนการส่งออกคาดว่าจะกลับมาขยายตัวตามกำลังซื้อของประเทศคู่ค้า
ท่ีทยอยฟืน้ ตัว

ขา้ วเหนยี วนาปี : รอ้ ยละต่อปี

19.7
20.0

10.0 6.6 6.0 4.3 4.7

yoy yoy 0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-10.0 -3.8
-11.1 -7.3 -7.5 -1.4 -4.2

-20.0

ทมี่ า : สำนกั งานเกษตรจังหวดั ลำปาง

1.2.2 ปริมาณข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.4 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.9 ถึง
5.9 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 4.0 ในปีก่อน โดยคาดว่าความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อผลิตอาหาร
สัตว์ยังคงเพิ่มขึ้น ประกอบกับยังมีการแข่งขันด้านราคา ส่งผลให้ผู้ประกอบการต้องปรับเพิ่มราคารับซ้ือ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นท่ี จึงจูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูก อีกทั้งได้รับปัจจัยสนับสนุน
จากภาครัฐ ในมาตรการช่วยเหลือภาคเกษตรอยา่ งต่อเนือ่ งคอื โครงการประกนั รายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด
เล้ียงสัตว์

ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ : ร้อยละตอ่ ปี

38.9
40.0

20.0 4.0 11.5 16.0 13.1
4.0 5.4

0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-5.3 -5.5 -11.2
-20.0 -11.9

ทีม่ า : สำนกั งานเกษตรจังหวดั ลำปาง

- 10 -

1.2.3 ปริมาณสับปะรด คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.6 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.1 ถึง 4.1 ต่อปี)
จากท่ีขยายตวั ร้อยละ 2.3 ในปกี ่อน ตามแนวโนม้ ตลาดต่างประเทศมีความต้องการผลติ ภณั ฑส์ ับปะรดกระป๋อง
มากขึ้น เนื่องจากจังหวัดลำปางการปลูกสับปะรดเพื่อส่งเข้าโรงงานแปรรูปสับปะรดเป็นส่วนใหญ่ ทำให้
มีการเพาะปลูกเตม็ พืน้ ท่ี ประกอบกบั คาดวา่ ปีนี้สภาพอากาศและน้ำพอเพียงกับการเพาะปลูก

ทีม่ า : สำนกั งานเกษตรจงั หวัดลำปาง

สบั ปะรด : รอ้ ยละต่อปี

30.0 23.7

yoy yoy 20.0 2.3 3.6
10.0 5.2 5.1 7.8

0.0

-10.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ป-ี 66.12 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-20.0 -7.3 -7.7 -4.9

-13.4

1.2.4 ปรมิ าณมันสำปะหลัง คาดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 11.2 (มชี ่วงคาดการณท์ ี่รอ้ ยละ 10.7 ถึง 11.7
ต่อป)ี จากทขี่ ยายตวั รอ้ ยละ 10.2 ในปกี ่อน มแี นวโนม้ เตบิ โตดขี น้ึ ตามทิศทางการขยายตัวของความต้องการใช้
ในอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งทัง้ ตลาดในประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมเอทานอล และตลาด
ส่งออกตามการขยายตัวของตลาดจีน ซึ่งเป็นตลาดหลัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และเอทานอล
ประกอบกับราคาข้าวโพดยังมีแนวโน้มปรับเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมมันสำปะหลังยังมีปัจจัยท้า
ทายด้านปริมาณผลผลติ ทีม่ คี วามไมแ่ นน่ อน ขน้ึ อย่กู ับสภาพภูมอิ ากาศ

มนั สาปะหลงั : รอ้ ยละต่อปี

60.0 42.3 30.7
2.7 10.2 11.2
40.0 22.7

20.0 1.4 13.9
1.3

0.0

-20.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-8.1

-40.0 -34.3

ที่มา : สำนกั งานเกษตรจงั หวดั ลำปาง

- 11 -

1.3 ภาคบริการ
1.3.1 สนิ เชอ่ื รวม คาดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 2.4 (มีชว่ งคาดการณ์รอ้ ยละ 1.9 ถงึ 2.9 ตอ่ ป)ี ขยายตวั
ในอัตราชะลอตัวลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปีก่อน จากปัจจัยสนับสนุนจากการเติบโตของสินเชื่อท้ัง
ภาคธุรกิจและรายย่อย ในภาพรวมสินเชื่อธุรกิจมีแนวโน้มขยายตัวของภาคการผลิตและภาคก่อสร้าง ซึ่งได้รบั
แรงสนับสนุนจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง สำหรับสินเชื่อรายย่อยฟื้นตัวตามกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ สินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อรถยนต์ และสินเชื่อส่วนบุคคล โดยสินเชื่อที่อยู่อาศัย
มีแนวโน้มเติบโตเพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวของกำลังซื้อภายในประเทศที่ได้รับผลบวกจากการผ่อนปรนมาตรการ
สนิ เชื่อทีอ่ ยอู่ าศยั ของ ธปท.

สินเช่ือรวม : ร้อยละต่อปี

20.0 15.4 14.6

15.0 10.2 8.1
10.0
3.0 3.9
yoy yoy 5.0 0.1 2.5 2.4

0.0

-5.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-1.4
-10.0 -7.1

ท่มี า : ธนาคารแห่งประเทศไทย

1.3.2 พื้นที่อนุญาตให้ก่อสร้างด้านที่อยู่อาศัย คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 (มีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ 2.1 ถึง 3.1 ต่อปี) ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 2.7 ในปีก่อน ตามภาวการณ์ลงทุน
ในจังหวัดท่ีกำลังฟื้นตัวและสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวมปรับตัวดีขึ้น ประกอบกับธนาคารแห่งประเทศไทย
ไดป้ ระกาศผ่อนเกณฑก์ ารกำกบั ดแู ลสนิ เช่อื เพื่อที่อยู่อาศยั และสนิ เชือ่ อื่นทีเ่ กย่ี วเนื่องกบั สินเช่ือเพ่ือท่ีอยู่อาศัย

พื้นทีอ่ นญุ าตกอ่ สรา้ งด้านทอ่ี ยู่อาศัย : รอ้ ยละต่อปี

40.0 35.9 38.0

30.0

20.0 5.7 14.0 10.4 14.7 11.7
10.0 2.7 2.6

0.0

-10.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-4.6

-20.0 -15.5

ทมี่ า : สำนกั งานสถติ ิจงั หวัดลำปาง

- 12 -

1.3.3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคบริการ คาดว่าจะขยายตวั รอ้ ยละ 2.1 (มีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 1.6 ถึง
2.6 ต่อปี) จากที่หดตัวร้อยละ -16.3 ในปีก่อน เนื่องจากภาคบริการฟื้นตัวจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 ทำให้ผู้ประกอบการกลับมาให้บริการเพิ่มมากขึ้น และได้แรงหนุนจากมาตรการกระตุ้น
การใช้จา่ ยและทอ่ งเท่ียวในประเทศ

ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคบรกิ าร : รอ้ ยละตอ่ ปี

9.9

10.0 4.8 2.1
5.0 2.0 1.1 3.5 3.2

0.0

yoy yoy -5.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-4.0
-10.0 -4.4

-15.0 -11.9
-20.0 -16.3

ทมี่ า : การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจงั หวัดลำปาง

1.3.4 จำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มธุรกิจโรงแรมและภัตตาคาร คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 (มีช่วง
คาดการณ์ร้อยละ 2.2 ถึง 3.2 ต่อปี) จากที่หดตัวร้อยละ -22.2 ในปีก่อน จากแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยว
ที่คาดว่าจะสูงขึ้น และการผ่อนคลายมาตรการควบคุมโรคของรัฐบาล รวมถึงการดำเนินมาตรการส่งเสริมการ
ท่องเทย่ี วภายในประเทศของภาครฐั

ภาษีมลู คา่ เพิม่ หมวดโรงแรมและภตั ตาคาร : รอ้ ยละต่อปี

40.0 17.1 23.3 2.7
20.0 8.3 7.6 9.5 12.0

1.0

0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-20.0 -7.4

-22.2

-40.0 -29.7

ทีม่ า : สำนักงานสรรพากรพ้นื ท่ีลำปาง

- 13 -

ด้านอุปสงค์ (ด้านการใช้จ่าย) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ
3.3 ถึง 4.3 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 ในปีก่อน โดย การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ
4.0 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5 ถึง 4.5 ต่อปี) ปรับตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.5 จากปีก่อน สะท้อนจาก
ยอดขายรถของบรษิ ัทขายรถ ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ หมวดขายส่งขายปลีกปรับตวั ดขี ้ึน และการใชไ้ ฟฟ้าของครัวเรือนที่
อยู่อาศัย ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และแรงสนับสนุนจาก
มาตรการภาครัฐ หลังจากทยอยผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด และการฉีดวัคซีนที่มีความคืบหน้า
ต่อเนื่อง ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวม รายได้ครัวเรือน และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทยอยฟื้นตัว
รวมทั้งมาตรการภาครัฐยังช่วยพยุงกำลงั ซื้อของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง การใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัว
ร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.2 ถึง 4.2 ต่อปี) เป็นผลจากมาตรการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ
สนับสนุนให้มีเม็ดเงินจากระบบงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ลงสู่ระบบเศรษฐกิจ
ให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น และสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในการก่อหนี้ผูกพันและการเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด การลงทุนภาคเอกชน คาดว่า
จะขยายตัวร้อยละ 3.6 (มีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.1 ถึง 4.1 ต่อปี) ปรับตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.5
จากปกี ่อน ตามพ้นื ทไี่ ดร้ ับอนุญาตก่อสร้างรวม สนิ เชอ่ื เพอื่ การลงทนุ และยอดขายวัสดุและอุปกรณก์ ารก่อสร้าง
ที่เพิ่มขึ้น จากแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐเพื่อกระตุ้นการ
ใช้จ่าย และการลงทุนในประเทศ รวมทั้งภาคการค้าระหว่างประเทศที่มีแนวโน้มขยายตวั ต่อเนือ่ ง ตามทิศทาง
การฟืน้ ตวั ของเศรษฐกจิ โลก มสี ว่ นชว่ ยสนับสนนุ ภาคการผลติ ใหเ้ กดิ การลงทุนใหม่ๆ เพ่มิ ข้ึน โดยมีรายละเอียด
ดงั น้ี

2.1 การใช้จ่ายภาครัฐ จากการเบิกจ่ายเงินงบประจำของส่วนราชการ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ
4.1 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.6 ถึง 4.6 ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.9 ในปีก่อน
และการเบิกจา่ ยงบลงทุนของส่วนราชการ คาดวา่ จะขยายตวั ร้อยละ 3.3 (ชว่ งคาดการณท์ ี่ร้อยละ 2.8 ถึง 3.8
ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.1 ในปีก่อน เป็นผลจากมาตรการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ
สนับสนุนให้มีเม็ดเงินจากระบบงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ลงสู่ระบบเศรษฐกิจ
ให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น และสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในการกอ่ หนี้ผูกพันและการเบิกจ่ายเงนิ ใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกำหนด

การกเบาริกเจบา่ิกยจเ่างยนิ งงบบลปงรทะนุจขาขอองสงส่ว่วนนราราชชกการาร
18.4
19.5
152.00.0 5.9 131.60.0 12.1 52.2.7

101.0.0 5.8 7.0 3.7 3.0 33.9.1 43.1.3
5.00.0
yyoyoy
--051..000.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-1-02.00.0 ปี 6-80.4 ปี 6-51.1 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
ปี 5-25.8 ปี 5-161.6 ปี 57 ปี 58 ปี 59 -1.2

-6.2

ท่ีมา : สำนักงานคลงั จังหวัดลำปาง

- 14 -

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไตรมาสที่ 2 เป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ที่ร้อยละ
56.30 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการใช้จ่ายงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 58.15 ของวงเงิน
งบประมาณงบลงทนุ

เป้าหมายการใช้จ่าย ภาพรวม (รอ้ ยละ) งบประจำ (ร้อยละ) งบลงทนุ (รอ้ ยละ)

ไตรมาสที่ 1 34.10 35.33 28.96

ไตรมาสท่ี 2 56.30 55.78 58.15

ไตรมาสที่ 3 81.80 81.76 81.65

ไตรมาสท่ี 4 100.00 100.00 100.00

ตารางผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

หนว่ ย : ล้านบาท

ผลการใช้จ่าย เป้าหมาย

รายการ งบประมาณ สะสมตั้งแตต่ ้นปี รอ้ ยละ เปา้ หมายการ การเบกิ จ่าย
ท่ีได้รับ งบประมาณจนถึง การ เบกิ จ่ายปีงบประมาณ ไตรมาสที่
จัดสรร เดอื น เบกิ จา่ ย 2/2565
กุมภาพันธ์ 2565 พ.ศ. 2565 (ร้อยละ)
(ร้อยละ)

1. งบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

รายจ่ายประจำ 1,751.57 657.06 43.52 100 55.78

รายจา่ ยลงทนุ 5,047.91 811.36 5.18 100 58.15

รายจา่ ยภาพรวม 6,799.48 1,468.42 15.38 100 56.30

2. งบประมาณเหล่อื มปี 1,377.62 1,362.94 22.28

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

สำหรับไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 รายจ่ายรัฐบาล สามารถใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมได้
ทั้งสิ้น 4,721.55 ล้านบาท หรือร้อยละ 40.61 โดยรายจา่ ยประจำใช้จ่ายไดท้ ี่ 1,429.82 ล้านบาท หรือร้อยละ
80.93 รายจ่ายลงทุนใช้จา่ ยท่ี 3,291.73 หรอื รอ้ ยละ 26.6

- 15 -

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
เทียบกบั เป้าหมายการใช้จา่ ยสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2565

100.0 100.0
90.0 91.7
80.0 81.8 83.3
70.0 72.7
60.0
50.0 56.3 63.6
40.0 40.6 46.9
30.0 23.3 3248.1.8 37.5
20.0 15.4
10.0 10.9 22.7
- 11.4

ต.ค.64 พ.ย.64 ธ.ค.64 ม.ค.65 ก.พ.65 ม.ี ค.65 เม.ย.65 พ.ค.65 ม.ิ ย.65 ก.ค.65 ส.ค.65 ก.ย.65

ผลการใชจ้ า่ ย เปา้ หมาย

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณงบลงทุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
เทียบกบั เป้าหมายการใช้จ่ายสะสมต้ังแต่ต้นปีงบประมาณจนถงึ เดือน กุมภาพันธ์ 2565

100.0 100.0
90.0 91.7
80.0 81.7 83.3

70.0

60.0 58.2
50.0
40.0 48.5 51.6 45.1
38.8

30.0 29.0

20.0 4.9 19.3 26.6
10.0 9.7 5.2 10.7
15.3

0.0

ต.ค.64 พ.ย.64 ธ.ค.64 ม.ค.65 ก.พ.65 ม.ี ค.65 เม.ย.65 พ.ค.65 ม.ิ ย.65 ก.ค.65 ส.ค.65 ก.ย.65

ผลการใช้จา่ ย เปา้ หมาย

- 16 -

2.2 การลงทนุ ภาคเอกชน
2.2.1 ยอดขายวัสดุและอุปกรณ์การก่อสร้าง คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.1 (มีช่วงคาดการณ์รอ้ ยละ
6.6 ถงึ 7.6 ตอ่ ปี) จากท่ขี ยายตวั ร้อยละ 11.9 ในปกี อ่ น เนื่องจากแนวโนม้ ภาวะเศรษฐกิจที่คาดว่าปรับตัวดีขึ้น
รวมถึงมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจของภาครฐั สอดคลอ้ งกับพื้นทอ่ี นุญาตให้ก่อสร้างรวมที่เพ่มิ ข้นึ

ยอดขายวัสดุและอุปกรณก์ ารก่อสรา้ ง : (ร้อยละตอ่ ป)ี

30.0
20.4

20.0 11.9 9.9 11.9
10.0 6.5 7.1

yoy yoy 0.7

0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-10.0 -0.6 -3.3 -2.3

-20.0 -13.2

ทม่ี า : สำนกั งานสรรพากรพ้นื ทีล่ ำปาง

2.2.2 พนื้ ทไ่ี ดร้ ับอนุญาตให้ก่อสร้างรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0 (มชี ว่ งคาดการณ์ร้อยละ 3.5
ถึง 4.5 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 5.2 ในปีก่อน เนื่องจากแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจที่คาดว่าปรับตัวดีขึ้น
และมาตรการกระต้นุ เศรษฐกิจของภาครฐั

พ้นื ท่ีได้รับอนญุ าตให้กอ่ สร้างรวม : (ร้อยละตอ่ ป)ี

30.0 12.5 24.9 20.8 27.2
6.7

20.0 9.8 9.9 5.2 4.0
10.0

0.0
-10.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-20.0 -6.4
-30.0 -20.3

ท่ีมา : สำนกั งานสถิติจงั หวัดลำปาง

2.2.3 สนิ เชอื่ เพือ่ การลงทุน คาดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 3.1 (มชี ว่ งคาดการณ์ร้อยละ 2.6 ถงึ 3.6 ตอ่ ปี)
จากท่ขี ยายตวั ร้อยละ 2.8 ในปกี ่อน ตามมาตรการกระต้นุ เศรษฐกิจของภาครัฐ โดยเฉพาะนโยบายสง่ เสริมและ
สนับสนุนการให้สินเชื่อจากภาครัฐ ได้แก่ โครงการและมาตรการปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ เพื่อช่วยเหลือ
ผ้ปู ระกอบการและประชาชน

- 17 -

สินเช่ือเพื่อการลงทุน : ลา้ นบาท

13.7

15.0 13.0 12.4

10.0

5.0 1.9 1.1 2.8 3.1

yoy yoy 0.0

-5.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-3.5 -0.9 -2.6

-10.0 -8.5

ทม่ี า : ธนาคารแหง่ ประเทศไทย

2.3 การบรโิ ภคภาคเอกชน
2.3.1 ยอดขายของบริษัทขายรถ คาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 4.1 (มีชว่ งคาดการณ์ร้อยละ 3.6 ถึง 4.6
ต่อป)ี ปรับตวั ดขี ึ้นจากท่ีขยายตวั ร้อยละ 3.5 ในปีก่อน เนอ่ื งจากผู้ประกอบการมีกลยทุ ธโ์ ดยจัดกจิ กรรมส่งเสริม
การขายเพ่อื กระตุ้นยอดจำหน่าย และมกี ารจดั โปรโมช่นั ทจ่ี ูงใจอยา่ งต่อเนื่อง

ยอดขายของบรษิ ัทขายรถ : ร้อยละตอ่ ปี

100.0 62.4

50.0

4.4 2.5 3.5 4.1

0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-50.0 -1.4 -28.8 -6.5 -10.8 -6.0 -24.1

ที่มา : สำนกั งานสรรพากรพ้นื ทล่ี ำปาง

2.3.2 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่งขายปลีก คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.8 (มีช่วงคาดการณ์ร้อยละ
4.3 ถึง 5.3 ต่อปี) เนื่องจากภาครัฐได้มีมาตรการและโครงการต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือประชาชนและ
ผู้ประกอบการ ให้มีสภาพคล่องและมีเงินหมุนเวียนในการประกอบธุรกิจ ได้แก่ โครงการคนละครึ่ง โครงการ
เพิม่ กำลงั ซอื้ ใหผ้ ถู้ ือบัตรสวสั ดิการแหง่ รฐั และโครงการเราเท่ยี วด้วยกัน

- 18 -

ภาษีมูลคา่ เพ่มิ ท่ีหมวดขายสง่ ขายปลีก : ร้อยละตอ่ ปี

30.0 19.7 20.6
20.0

yoy yoy 10.0 4.7 2.7 0.2 3.2 7.1 4.8
0.0

0.0

ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-10.0 -5.0 -2.8

ที่มา : สำนกั งานสรรพากรพืน้ ทล่ี ำปาง

2.3.3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรอื นท่ีอยู่อาศัย คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.2 (มีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ 1.7 ถึง 2.7 ต่อปี) จากที่ขยายตัวร้อยละ 9.0 ในปีก่อน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรน่า 2019 และไวรัสกลายพันธุ์ที่กำลังแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง ส่งผลให้ประชาชนไม่เดินทางไปร่วม
กจิ กรรมตา่ งๆ และเลอื กอยู่ท่พี ักอาศยั

ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ของครวั เรอื นที่อยู่อาศยั : ร้อยละตอ่ ปี

10.0 8.3 9.0
8.0 6.7 5.7 4.8
6.0

4.0 1.9 2.2 1.1 1.6 2.2
2.0

0.0

-2.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r มี.ค.65f
-0.1

ทม่ี า : สำนักงานการไฟฟา้ สวนภมู ภิ าคจังหวัดลำปาง

- 19 -

3. ดา้ นรายไดเ้ กษตรกรในปี 2565 คาดวา่ จะขยายตัวร้อยละ 8.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 7.9 ถึง 8.9
ต่อปี) ปรับตัวดีขึ้นจากท่ีขยายตัวร้อยละ 7.6 ในปีก่อน เป็นผลมาจากความต้องการของสินค้าทางการเกษตร
เพ่มิ ขน้ึ ส่งผลให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรดขี น้ึ ทำให้รายได้เกษตรกรเพมิ่ ข้นึ

รายได้เกษตรกร : ร้อยละต่อปี

30.0 26.5

20.0 7.6 8.4

10.0 4.1 7.2 4.7

yoy yoy 0.0

-10.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-20.0 -6.1 -4.1
-15.0 -18.3 -5.2

-30.0

ท่ีมา : สำนกั งานเกษตรจังหวดั ลำปาง

4. ดา้ นเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 2.3 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 1.8 ถึง

2.8 ตอ่ ปี) จากทข่ี ยายตัวรอ้ ยละ 0.7 ในปีกอ่ น ตามจากดัชนีหมวดอาหารและเคร่ืองด่ืม จากการสูงขึ้นของหมวด
ข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง หมวดเนื้อสัตว์ เป็ด ไก่ และสัตว์น้ำ หมวดผักและผลไม้
และราคาน้ำมนั ขายปลีกในประเทศทป่ี รบั เพ่ิมขึ้น ตามราคานำ้ มันดบิ ในตลาดโลกเป็นสำคญั

อัตราเงนิ เฟ้อ : ร้อยละตอ่ ปี

4.0 3.7

3.0 2.2 2.3
2.0 1.4
1.0 1.2 1.1 0.7
0.1 0.2

0.0

-1.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-0.6

-2.0 -1.5

ที่มา : สำนักงานพาณิชย์จงั หวัดลำปาง

- 20 -

การจ้างงาน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ร้อยละ 1.8 ถึง 2.3 ต่อปี) หรือประมาณ
8,546 คน จากที่ขยายตัวร้อยละ 0.1 ในปีก่อน โดยเป็นไปตามสภาวการณ์ของเศรษฐกิจ และมาตรการ
การสร้างแรงจงู ใจภาคธุรกิจในการจ้างงานอย่างต่อเนอ่ื ง ท้ังด้านภาคอตุ สาหกรรมและภาคบริการ

6.0 4.3 การจา้ งงาน : รอ้ ยละตอ่ ปี

4.0 0.2 0.6 2.1
2.0 0.8 0.1 0.1

0.0

yoy -2.0 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64r ม.ี ค.65f
-4.0 -2.2 -0.5

-6.0

-8.0

-10.0 -9.0 -9.2

ท่ีมา : สำนักงานสถิติจงั หวัดลำปาง

- 21 -

ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มของจังหวดั ลำปาง
Lampang Province Macroeconomic Summary

เคร่อื งชี้ หน่วย 2564r 2565F
Min Consensus
Ecomomic Growth Max
GPP current market price Million Baht 71,029.4 75,708.2 75,653.0
76,422.4
%yoy -7.3 6.0 6.5 7.0
41,488.7
GPP constant prices Million Baht 39,845.0 41,092.6 41,538.0 4.7
717,700.0
population %yoy 2.9 3.7 4.2 -0.3
GPP per capita person 720,100.0 715,700.0 716,700.0 107,338.6
%yoy -0.6 -0.5 8.4
Baht /person/year -0.5 106,640.7 106,410.1 4.6
98,638.2 9.5
2.9
%yoy 0.8 7.4 7.9 4.5
4.1
Agriculture Production Index: API %yoy 3.5 3.6 4.1 4.2
8.9
Industrial Production Index: IPI %yoy 8.2 8.5 9.0
2.8
Service Index: SI %yoy -3.9 1.9 2.4 2.8

Private Consumption Index : CP %yoy 3.5 3.5 4.0 421,204.3
2.3
Private Investment Index : IP %yoy 3.5 3.1 3.6
8,551
Government Expenditure Index : G %yoy 3.2 3.2 3.7

Farm income %yoy 7.6 7.9 8.4

Economic Stabilities % p.a. 0.7 1.8 2.3
Inflation rate %yoy 0.1 1.8 2.3
GPP Deflator

Employment person 412,653.2 421,194.3 421,199.3
%yoy 0.1 1.8 2.1

yoy 350 8,541 8,546

e = Estimate : การประมาณการ f = Forecast : การพยากรณ์ r : Reviced ปรบั ข้อมูล
ท่ีมา : กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวัด สำนกั งานคลงั จงั หวัดลำปาง ปรบั ปรงุ ลา่ สดุ : มีนาคม 2565

- 22 -

นยิ ามตัวแปรและวธิ กี ารคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกจิ จังหวัด

ช่ือข้อมลู / ความหมาย ทมี่ า/การคำนวน
สัญลกั ษณ์
อัตราการเปลย่ี นแปลง (ข้อมูลปปี จั จบุ ัน - ข้อมูลปกี อ่ น)/ขอ้ มูลปกี ่อน
%yoy เทียบกบั ช่วงเดยี วกนั ของ ปี
กอ่ น ได้จากชว่ งขอ้ มูลในการตอบแบบสอบถาม
Min สถานการณ์ทค่ี าดวา่ จะ ไดจ้ ากช่วงข้อมลู ในการตอบแบบสอบถาม
Consensus เลวรา้ ยท่ีสดุ ได้จากช่วงข้อมลู ในการตอบแบบสอบถาม
สถานการณ์ที่คาดวา่ จะจะ ข้อมูลจรงิ ถึงปี 2558 ส่วนปี 2559 เปน็ การประมาณการของแบบจา้ ลองเศรษฐกิจ
Max เสปถ็นาไนดก้มาารกณท์ที่สคี่ ดุ าดวา่ จะดี ข้อมูลจรงิ ถึงปี 2558 สว่ นปี 2559 เปน็ การประมาณการของแบบจ้าลองเศรษฐกจิ
GPP current ทสี่ ดุ ประกาศโดยสำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ
ได้จากการนา้ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปปี จั จุบนั หารด้วยจ้านวนประชากรของจังหวัด
prices ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
GPP constant ณ ราคาปฐี าน 2548
ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด
prices ณ ราคาปีปัจจบุ ัน
Population จ้านวนประชากรของ
GPP per capita จงั หวัด

API รายไดต้ อ่ หวั ประชากร

API (P) ดัชนผี ลผลิตภาค สรา้ งข้นึ จากข้อมลู ผลผลิตการเกษตรหลกั ของจงั หวัด ได้แก่ ขา้ วเหนยี วนาปี ขา้ วเหนียวนาปรงั มนั สำปะหลัง ข้าวโพด
เกษตรกรรมจงั หวดั เล้ียงสัตว์ สบั ปะรด กระเทยี ม ถวั่ (ถว่ั เหลืองและถว่ั ลสิ ง) กระบอื โค สุกร ไก่คา้ นวนน้ำหนกั ตามมลู คา่ ผลผลิตจาก
IPI (Agriculture Production ฐานขอ้ มลู ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด แบบ Bottom up ณ ราคาประจำปี
Index)
IS ดัชนผี ลผลติ ภาค สร้างขน้ึ จากขอ้ มลู ราคาผลผลิตการเกษตรหลกั ของจังหวัด ไดแ้ ก่ ขา้ วเหนยี วนาปีและข้าวเหนียวนาปรัง มันสำปะหลงั
เกษตรกรรมจงั หวดั ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ สบั ปะรด กระเทียม ถ่วั (ถวั่ เหลอื งและถว่ั ลิสง) กระบอื โค สกุ ร ไก่ คา้ นวนนำ้ หนกั ตามมลู ค่าผลผลติ
CP (Agriculture Production จาก ฐานขอ้ มูลผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั แบบ Bottom up ณ ราคาประจำปี
Price Index)
IPI ดชั นีผลผลิต สรา้ งขนึ้ จากขอ้ มลู สะท้อนปริมาณผลผลติ ของภาคอตุ สาหกรรมในจงั หวัด ไดแ้ ก่ ปรมิ าณลกิ ไนต์ ปรมิ าณหิน
ภาคอุตสาหกรรมจังหวัด อุตสาหกรรม (หินปนู – กอ่ สร้าง)ปรมิ าณดินขาว ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรม ภาษมี ลู ค่าเพิ่มหมวด
G อุตสาหกรรม ปริมาณการผลติ กระแสไฟฟ้า คำนวนนำ้ หนักจากการหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างข้อมูล ดงั กลา่ วกับมูลค่า
Farm Income ดัชนีปริมาณผลผลิตภาค ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั แบบ Top down สาขาอตุ สาหกรรม
บริการจงั หวดั สร้างขน้ึ จากขอ้ มูลสะท้อนปรมิ าณผลผลติ ของภาคบริการในจังหวดั ได้แก่ จำนวนผโู้ ดยสารผา่ นสนามบิน ปรมิ าณการ
Inflation ใชไ้ ฟฟ้าภาคบรกิ ารภาษีมลู คา่ เพิม่ หมวดโรงแรมและภตั ตาคาร รายไดจ้ ากสนามบนิ จำนวนนกั ทอ่ งเทย่ี วที่เขา้ มาใน
ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน จังหวัด ยอดขายสินค้าของหา้ งสรรพสินคา้ ในจงั หวัด สินเชื่อรวมพ้ืนท่ใี หอ้ นุญาตกอ่ สรา้ ง คำนวนนำ้ หนักจากสดั สว่ น
จังหวดั มูลคา่ เพ่มิ ของ GPP
สรา้ งขึ้นจากขอ้ มูลสะทอ้ นการบริโภคของภาคครัวเรือนในจงั หวัด ได้แก่ ยอดขายของบริษทั ขายรถ ภาษีมูลคา่ เพม่ิ
ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน หมวดขายส่งขายปลีกจำนวนรถจกั รยานยนต์ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนท่ีอยอู่ าศยั จดทะเบียนใหม่ รายได้การ
จงั หวัด จำหน่ายน้ำประปา ปรมิ าณจำหน่ายสุรา ปริมาณจำหน่ายเบยี ร์ คำนวนน้ำหนกั ตามสดั ส่วนของมูลค่าที่เป็นตวั เงนิ เฉลี่ย
10 ปีของข้อมลู แต่ละรายการ
ดัชนีการใชจ้ า่ ยภาครัฐ สร้างขึน้ จากข้อมูลสะทอ้ นการลงทุนของภาคครัวเรอื นในจังหวัด ไดแ้ ก่ จำนวนรถยนต์พาณชิ ยท์ จี่ ดทะเบยี นใหม่
จงั หวัด จำนวนรถยนต์บรรทุกท่จี ดทะเบยี นใหม่ พ้นื ท่ไี ดร้ บั อนุญาตใหก้ อ่ สร้างรวม สินเช่อื เพอ่ื การลงทุนยอดขายวัสดุและ
ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกรจงั หวัด อปุ กรณก์ ารกอ่ สรา้ งคำนวนนำ้ หนกั ตามสดั สว่ นของมลู ค่าท่เี ป็นตัวเงินเฉล่ยี 10 ปขี องขอ้ มูลแต่ละรายการ
สร้างขึน้ จากข้อมลู ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณของจงั หวัดประกอบดว้ ยการเบิกจ่ายงบประจำและงบลงทนุ คำนวน
น้ำหนัก ตามสัดส่วนของมูลคา่ ท่เี ปน็ ตัวเงินเฉลยี่ 10 ปี
คำนวนจากดัชนผี ลผลิตภาคเกษตรกรรมจงั หวัด คูณกบั ดัชนรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวัด

อัตราเงินเฟอ้ จงั หวดั คำนวนจากการหาอัตราการเปลีย่ นแปลงของดชั นีราคาผบู้ รโิ ภคของจังหวัด

- 23 -

คำนยิ ามตัวแปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจงั หวดั ลำปาง

GPP constant price ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาปฐี าน

GPP current prices ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด ณ ราคาปีปจั จบุ นั

GPPS ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ ราคาปฐี าน ด้านอุปทาน

GPPD ดัชนผี ลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปสงค์

API ดัชนีปรมิ าณผลผลิตภาคเกษตร

IPI ดัชนปี รมิ าณผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม

SI ดัชนปี รมิ าณผลผลติ ภาคบรกิ าร

Cp Index ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน

Ip Index ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน

G Index ดชั นกี ารใช้จ่ายภาครฐั บาล

GPP Deflator ระดับราคาเฉลยี่ ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดลำปาง

CPI ดัชนีราคาผบู้ รโิ ภคจังหวดั ลำปาง

PPI ดัชนีราคาผู้ผลติ ระดบั ประเทศ

Inflation rate อัตราเงินเฟอ้ จังหวดั ลำปาง

Farm Income Index ดัชนีรายไดเ้ กษตรกร

Population จำนวนประชากรของจังหวัดลำปาง

Employment จำนวนผู้มงี านทำของจงั หวัดลำปาง

%yoy อตั ราการเปลี่ยนแปลงเทยี บกับชว่ งเดยี วกนั ของปีกอ่ น

Base year ปฐี าน (2548 = 100)

Min สถานการณ์ทคี่ าดว่าจะเลวร้ายทส่ี ุด

Consensus สถานการณ์ทคี่ าดว่าจะจะเป็นได้มากท่สี ุด

Max สถานการณ์ทคี่ าดวา่ จะดที ่ีสดุ

การคำนวณดชั นี

ดชั นีช้วี ดั เศรษฐกจิ ดา้ นอุปทาน (Supply Side หรอื Production Side: GPPS)

ประกอบด้วย 3 ดชั นไี ดแ้ ก่

(1) ดัชนผี ลผลิตภาคบริการจงั หวัดลำปาง โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.510

(2) ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรมจังหวัดลำปาง โดยให้น้ำหนกั 0.375

(3) ดัชนผี ลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวัดลำปาง โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.115

การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพิ่มราคาปีปัจจุบัน ของ

เครื่อง ชีเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร + สาขาประมง) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขา

เหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้า) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (11 สาขา ตั้งแต่สาขา

ก่อสร้าง ถงึ สาขาลกู จ้างในครัวเรอื น) จากขอ้ มูล GPP ของ สศช. เทยี บกบั GPP รวมราคาปีปจั จุบนั ของ สศช.

- 24 -

จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวการณ์ผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัด

ลำปางเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคำนวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้

กำหนดปีฐาน 2548 ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของ

จังหวัดลำปางรายเดอื น อนกุ รมเวลายอ้ นหลงั ไปตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นตน้ มา

ดชั นีปรมิ าณผลผลติ ภาคบริการ (Service Index: SI)

• ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบท้งั ส้นิ 8 ตวั คือ

- สนิ เชือ่ รวม โดยให้น้ำหนัก 0.285

- พื้นท่ีให้อนญุ าตก่อสร้างด้านที่อยู่อาศยั โดยให้นำ้ หนกั 0.216

- ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคบริการ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.153

- รายได้จากผูเ้ ยยี่ มเยือน โดยให้น้ำหนัก 0.152

- ยอดขายสินค้าของหา้ งสรรพสนิ ค้าในจังหวัด โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.152

- จำนวนผู้เขา้ พกั โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.014

- ภาษีมูลค่าเพ่มิ หมวดโรงแรมและภตั ตาคาร โดยใหน้ ้ำหนกั 0.014

- จำนวนนักทอ่ งเที่ยวท่เี ข้ามาในจงั หวัด โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.014

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ SI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ โดยเครื่องชี้ภาคบริการ

ด้านขายส่งขายปลีก บริหารราชการ การศึกษา และโรงแรมได้จากสัดส่วนของ GPP สาขาโรงแรม สาขา

การศึกษา สาขาโรงแรมและภตั ตาคาร ณ ราคาปีปัจจุบนั 2552 (สศช.) เทยี บ GPP รวมภาคบรกิ าร ณ ราคาปี

ปจั จุบัน (สศช.) หารด้วยจำนวนเครื่องช้ีในดา้ นน้นั ๆ

ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production Index: IPI)

• ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบทั้งสน้ิ 6 ตวั คือ

- ปริมาณหินอุตสาหกรรม (หนิ ปูน – กอ่ สร้าง) โดยใหน้ ้ำหนกั 0.252

- ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.184

- ปริมาณการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.155
- ปริมาณลกิ ไนต์ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.142

- ปริมาณดนิ ขาว โดยใหน้ ้ำหนัก 0.128

- ภาษมี ูลค่าเพ่ิมหมวดอุตสาหกรรม โดยให้นำ้ หนกั 0.139

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จากหาความสัมพันธ์

Correlation ระหว่าง เครื่องชี้เศรษฐกิจผลผลิอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) ณ ราคาคงที่

ภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมอื งแร่ สาขาอุตสาหกรรม และสาขาไฟฟา้ )

ดชั นปี รมิ าณผลผลิตภาคเกษตร (Agricultural Production Index: API)

• ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบทั้งสนิ้ 11 ตวั คือ

- ปริมาณผลผลติ : ขา้ วเหนียวนาปี โดยให้นำ้ หนัก 0.483

- ปรมิ าณผลผลติ : ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ โดยให้นำ้ หนัก 0.203

- ปริมาณผลผลติ : สับปะรด โดยให้น้ำหนัก 0.067
- ปริมาณผลผลิต : มนั สำปะหลงั โดยใหน้ ้ำหก 0.045

- 25 -

- ปรมิ าณผลผลิต : กระเทียม โดยใหน้ ้ำหนกั 0.040

- ปริมาณผลผลติ : ขา้ วเหนยี วนาปรัง โดยใหน้ ้ำหนกั 0.026

- ปริมาณผลผลิต : ถ่วั (ถ่วั เหลืองและถว่ั ลสิ ง) โดยให้นำ้ หนกั 0.007

- จำนวน : ไก่ โดยให้นำ้ หนัก 0.045

- จำนวนอาชญาบตั ร : สุกร โดยใหน้ ้ำหนกั 0.044

- จำนวนอาชญาบตั ร : โค โดยให้นำ้ หนัก 0.032

- จำนวนอาชญาบัตร : กระบือ โดยให้นำ้ หนัก 0.008

• โดยตัวชี้วัดทกุ ตวั ไดป้ รับฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แลว้

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ API (Q) ให้นำ้ หนักของเครื่องชี้ข้างต้น ได้จากสัดส่วน

มูลค่าเพิ่มของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาคเกษตรกรรม

(สาขาเกษตร และสาขาประมง)

ดัชนชี ี้วัดเศรษฐกิจด้านอปุ สงค์ (Demand Side: GPPD)

• ประกอบไปดว้ ย 3 ดัชนีไดแ้ ก่

(1) ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน โดยใหน้ ้ำหนัก 0.379

(2) ดชั นีการใชจ้ ่ายภาครฐั โดยใหน้ ้ำหนัก 0.322

(3) ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน โดยให้นำ้ หนกั 0.299

การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับเทียบกับ

GPP constant price โดยเฉลี่ยเพื่อหาสัดส่วน และคำนวณหาน้ำหนักจากสัดส่วนของแต่ละดัชนีเทียบผลรวม

สดั สว่ นดัชนีรวมทัง้ หมด

จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน และใช้จ่ายภาครัฐของ

จังหวัดลำปางเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคำนวณ Cp Index, Ip Index,

G Index ได้กำหนดปีฐาน 2548 ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน

และใชจ้ า่ ยภาครฐั ของจงั หวดั ลำปางเป็นรายเดอื น อนกุ รมเวลาย้อนหลังไปต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2548 เปน็ ต้นมา
ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip)

• ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั สิ้น 5 ตวั คอื

- สนิ เชอ่ื เพื่อการลงทุน โดยให้น้ำหนกั 0.910

- พนื้ ท่ไี ดร้ บั อนุญาตใหก้ ่อสรา้ งรวม โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.031

- ยอดขายวสั ดแุ ละอปุ กรณ์การก่อสรา้ ง โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.030

- จำนวนรถยนต์พาณิชยท์ ีจ่ ดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.024

- จำนวนรถยนต์บรรทกุ ท่จี ดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.005

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Ip Index ให้น้ำหนักของเครื่องช้ี จากการหาค่าเฉล่ีย

ของเครอื่ งชี้ในการจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหนว่ ยเดียวกัน (บาท) แล้วหานำ้ หนกั จากสัดส่วนมูลค่า

เครอื่ งช้ีฯ เทียบกบั มลู คา่ รวมของเครอ่ื งชี้ทง้ั หมด

- 26 -

ดชั นีการใช้จ่ายภาครัฐ (Government Expenditure Index: G)

• ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบทั้งส้นิ 4 ตัว คือ

- การเบกิ จ่ายเงนิ งบประจำของสว่ นราชการ โดยให้น้ำหนัก 0.653

- การเบกิ จ่ายเงนิ งบลงทุนของส่วนราชการ โดยให้นำ้ หนัก 0.167

- รายจ่ายประจำขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.150

- รายจ่ายลงทนุ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ โดยให้นำ้ หนกั 0.030

ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption Index : Cp Index)

• ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบทงั้ สน้ิ 7 ตัว คอื โดยให้น้ำหนัก 0.384
- ยอดขายของบริษัทขายรถ

- ภาษมี ลู คา่ เพิ่มหมวดขายสง่ ขายปลกี โดยให้น้ำหนัก 0.356

- ปรมิ าณจำหน่ายเบียร์ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.086

- ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าของครวั เรือนท่อี ยู่อาศยั โดยใหน้ ้ำหนกั 0.071

- ปรมิ าณจำหน่ายสุรา โดยใหน้ ้ำหนกั 0.052

- จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบยี นใหม่ โดยให้น้ำหนกั 0.035

- รายไดก้ ารจำหนา่ ยน้ำประปา โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.016

การกำหนดนำ้ หนกั ขององค์ประกอบในการจัดทำ Cp Index ให้น้ำหนกั ของเครอื่ งช้ี จากการหาค่าเฉล่ีย

ของเครื่องช้ีในการจัดทำ Cp Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดยี วกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสดั ส่วนมูลคา่

เครื่องช้ีฯ เทยี บกบั มูลคา่ รวมของเครอ่ื งช้ีท้ังหมด

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Ip Index ให้นำ้ หนกั ของเคร่ืองชี้ จากการหาค่าเฉล่ยี

ของเครือ่ งชใี้ นการจดั ทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหนว่ ยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนกั จากสดั ส่วนมูลคา่

เครื่องช้ีฯ เทยี บกบั มลู ค่ารวมของเครือ่ งชี้ทั้งหมด

ผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาคงท่ี (GPP constant price)

• ประกอบไปดว้ ยดชั นี 2 ดา้ น

- ดัชนีชว้ี ัดเศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน (GPPS) โดยให้นำ้ หนัก 0.650

- ดชั นชี ว้ี ดั เศรษฐกิจดา้ นอปุ สงค์ (GPPD) โดยให้น้ำหนัก 0.350

ดัชนชี ้วี ัดดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ

• GPP Deflator : ระดบั ราคา ประกอบไปดว้ ย

- ดัชนรี าคาผผู้ ลติ (PPI) โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.650

- ดัชนีราคาผู้บรโิ ภคจังหวดั ลำปาง (CPI) โดยใหน้ ้ำหนัก 0.350

• การเปล่ยี นแปลงของจำนวนผู้มีงานทำ

คำนวณจาก GPP constant price X 0.062 (อัตราการพึง่ พาแรงงาน)

- 27 -

อตั ราการพง่ึ พาแรงงาน
คำนวณจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis)
โดยมีรปู แบบความสัมพันธ์ คอื ln(Emp) =  +(ln(GPP))
โดยท่ี Emp = จำนวนผมู้ งี านทำจำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจังหวัดลำปาง
ขอ้ มลู Website สำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ ซึง่ ใชป้ ี 2549 - 2562 โดยไม่รวม
จำนวนผู้มีงานทำในสาขาการก่อสร้าง
GPP = ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ลำปาง ณ ราคาคงที่ ข้อมลู จาก สศช.
ซ่ึงใชป้ ี 2549 - 2562 โดยไม่รวม GPP สาขาการกอ่ สรา้ ง

- 28 -

หนว่ ยงานผสู้ นับสนุนข้อมลู ในการประมาณการเศรษฐกจิ ประกอบด้วย

สว่ นราชการภาครฐั ท้องถน่ิ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนในจังหวัด

สานกั งานคลังจงั หวัดลาปางจงึ ขอขอบคุณหน่วยงานดงั กลา่ วข้างตน้ ในการสนบั สนนุ ข้อมลู

สำนักงานโยธาธิการและผงั เมอื งจงั หวดั ลำปาง
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั ลำปาง
สำนกั งานเกษตรจังหวัดลำปาง
สำนักงานปศสุ ตั วจ์ ังหวัดลำปาง
สำนกั งานสรรพากรพนื้ ท่ลี ำปาง
สำนักงานสรรพสามติ พืน้ ท่ีลำปาง
สำนักงานขนสง่ จังหวดั ลำปาง
สำนกั งานพาณิชย์จังหวัดลำปาง
สำนักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั ลำปาง
สำนกั งานสถติ จิ ังหวดั ลำปาง
การไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค จงั หวดั ลำปาง
การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค อำเภอเกาะคา
การประปาส่วนภูมภิ าค สาขาลำปาง
การประปาสว่ นภมู ิภาค สาขาแม่ขะจาน
การประปาสว่ นภูมิภาค สาขาเถิน
การประปาสว่ นภูมภิ าค สาขาเกาะคา
การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย (เหมืองแม่มาะ)
หอการคา้ จงั หวัดลำปาง
สภาอตุ สาหกรรมจงั หวดั ลำปาง
ชมรมธนาคารจังหวัดลำปาง
ธนาคารออมสินเขตลำปาง
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สาขาลำปาง
ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาลำปาง
ธนาคารพฒั นาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแหง่ ประเทศไทย สาขาลำปาง
สำนักงานท้องถน่ิ จังหวัดลำปาง

สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง

THE LAMPANG PROVINCIAL COMPTROLLER OFFICE




สำนักงานคลังจังหวัดลำปาง กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด
โทรศัพท์ 0 54265 031 E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version