The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเศรษฐกิจลำปาง มีนาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpg, 2021-06-02 00:35:08

รายงานเศรษฐกิจลำปาง มีนาคม 2564

รายงานเศรษฐกิจลำปาง มีนาคม 2564

รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจังหวดั ลาปาง

Lampang Economic & Fiscal Report

ฉบับที่ 3/2564

เศรษฐกิจการคลังจงั หวัดลาปาง ประจาเดือนมนี าคม 2564

เศรษฐกิจจังหวัดลาปางในเดือนมีนาคม 2564 โดยรวม หดตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน
จากดา้ นอุปทาน เป็นสาคัญ ภาคเกษตรกรรมหดตัว จากปริมาณผลผลิตมนั สาปะหลัง และปริมาณผลผลิต
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลง ภาคอุตสาหกรรมหดตัวน้อยลง จากผลกระทบของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
COVID - 19 ระลอกใหม่ มีความรุนแรงลดลง ภาคบริการ หดตัวน้อยลง จากการผ่อนคลายมาตรการ
ควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ ประกอบกับมีช่วงวันหยุดยาว ทาให้ประชาชน
เดินทางเพิ่มมากข้ึน ทางด้านอุปสงค์ ขยายตัว ตามการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว โดยมีปัจจัย
จากมาตรการเยียวยาผู้ได้รบั ผลกระทบของภาครัฐ จากโครงการเราชนะ โครงการ ม.33 เรารกั กัน เป็นต้น
การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัว จากรายจ่ายลงทุน ขยายตัวสูง การลงทุนภาคเอกชน หดตัว จากการลงทุน
เพ่ือการกอ่ สรา้ งชะลอลงตามสถานการณเ์ ศรษฐกิจโดยรวม และกาลังซื้อทย่ี ังเปราะบาง สาหรับเสถยี รภาพ
ทางเศรษฐกิจของจังหวดั ลาปาง อัตราเงนิ เฟ้ออยูใ่ นระดับต่า

เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) พบว่า หดตัว เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน สะท้อนจาก
ดัชนี ภาคเกษตรกรรม หดตัว ร้อยละ -28.7 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากปริมาณผลผลิต
มันสาปะหลัง เน่ืองจากเกษตรกรมีการเพาะปลูกเหลื่อมเดือน ทาให้เกษตรกรเล่ือนการเก็บเก่ียวผลผลิต
และปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลง จากสถานการณ์น้าท่ีไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก สภาพอากาศ
ท่ีแปรปรวน การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช รวมถึงราคาท่ีลดลงด้วย อย่างไรก็ตามภาครัฐมีนโยบาย
ช่วยเหลือเกษตรอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ โครงการประกันรายได้เกษตรกร โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับ
ผลกระทบจากการระบาดของเชื้อไวรัส COVID -19 และโครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนา
คุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ส่งผลให้เกษตรกรมีความต้องการเพาะปลูกเพ่ิมมากข้ึน ผลผลิต
ด้านปศุสัตว์ จานวนสุกร และไก่มีปริมาณลดลง ตามความต้องการบริโภคท่ีลดลง ภาคอุตสาหกรรม หดตัว
น้อยลง ร้อยละ -7.5 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน ตามการลดลงของปริมาณหินอุตสาหกรรม
(หินปูน- ก่อสร้าง) ปริมาณดินขาว และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม จากการผ่อนคลายมาตรการ
ของภาครัฐ มีคาส่ังซ้ือจากต่างประเทศกลับเข้ามา แม้จะไม่มากนัก ผู้ประกอบการเริ่มมีความต้องการแรงงาน
ส่วนด้านการลงทุนด้านอุตสาหกรรมในจังหวัดลาปาง พบว่า สภาวะการลงทุนภาคอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม
2564 จังหวดั ลาปาง ไม่มีโรงงานประกอบกิจการรายใหม่ และในเดือนนี้ไม่มีการแจง้ ขยายโรงงาน และแจ้งเลิก
กิจการ ภาคบริการ หดตัวน้อยลง ร้อยละ -5.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากการผ่อนคลาย
มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ และปัจจัยจากมาตรการเยยี วยาผู้ไดร้ ับ
ผลกระทบของภาครัฐ จากโครงการเราชนะ โครงการ ม.33 เรารักกัน ประกอบกับมีช่วงวันหยุดยาว
ทาให้ประชาชนเดินทางเพิ่มมากข้ึน สะท้อนจาก จานวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในจังหวัด ยอดขายสินค้า
ของห้างสรรพสินค้าในจังหวัด และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ส่วนจานวนผู้เข้าพัก พ้ืนท่ีให้อนุญาตก่อสร้าง
ด้านที่อยู่อาศัย และสินเชื่อรวมหดตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามจังหวัดลาปางมีการส่งเสริมการท่องเที่ยว
อย่างต่อเน่ือง เช่น กิจกรรมเพ่ือราลึกถึงคุณค่าของช้างไทย ในระหว่างวันที่ 12 -13 มีนาคม 2564

[2]

ณ ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย อ.ห้างฉัตร จ.ลาปาง กิจกรรมกระตุ้นการท่องเที่ยว ชวนคนเหนือเท่ียวภาคเหนือ
ภายใตก้ จิ กรรม “ไหว้พระธาตุเมอื งเหนือ...เสรมิ มงคลชวี ติ ” เป็นตน้

เครอื่ งชด้ี ้านอปุ ทาน ป2ี 563 Q1/64 ปี 2563-2564 YTD
(Supply Side)(สัดส่วนต่อ GPP) ม.ค. ก.พ. มี.ค.

ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม(%yoy) -2.9 19.8 109.6 29.0 -28.7 19.8

ดชั นผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) -9.7 -12.1 -6.8 -22.0 -7.5 -12.1

ดชั นีผลผลติ ภาคบรกิ าร (%yoy) -10.8 -5.6 0.0 -11.2 -5.9 -5.6

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) พบว่า ขยายตัว สะท้อนจาก การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว
ร้อยละ 53.0 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากภาษีมูลค่าเพ่ิมหมวดขายส่งขายปลีก
จานวนรถจักรยานยนต์ที่จดทะเบียนใหม่ และปริมาณจาหน่ายสุรา โดยมีปัจจัยจากการผ่อนคลายมาตรการ
ควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ระลอกใหม่ รวมท้ังมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบของภาครัฐ
เช่น โครงการเราชนะ โครงการ ม.33 เรารักกัน เป็นต้น ทาให้การใช้จ่ายสินค้าประจาวันปรับ ตัวดีขึ้น
ขณะท่ีการใช้จ่ายหมวดบริการหดตัวน้อยลง การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวต่อเนื่อง ร้อยละ 5.3 เม่ือเทียบจาก
ช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากรายจ่ายลงทุน ขยายตัวสูง เป็นผลจาก พระราชบัญญัติงบประมาณปีก่อน
ประกาศใช้ล่าช้า รวมทั้งการเร่งรัดเบิกจ่าย โดยขยายตัวมากในหมวดท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างของสานักงาน
ก่อสร้างชลประทานขนาดกลางที่ 2 โครงการชลประทานลาปาง และแขวงทางหลวงชนบทลาปาง การลงทุน
ภาคเอกชน หดตัวร้อยละ -0.7 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากการลงทุนเพื่อการก่อสร้าง
ชะลอลงตามสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวม และกาลังซื้อท่ียังเปราะบาง สะท้อนจากสินเช่ือเพื่อการลงทุน
พนื้ ทไี่ ด้รับอนญุ าตให้กอ่ สรา้ งรวม และยอดขายวัสดแุ ละอุปกรณก์ ารก่อสร้าง

เครอ่ื งชีด้ ้านอปุ สงค์ ป2ี 563 Q1/63 ปี 2563-2564 YTD
(Demand Side) ม.ค. ก.พ. มี.ค.

ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน (%yoy) -11.1 10.6 -9.0 -12.9 53.0 10.6

ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐ(%yoy) 4.5 16.4 33.8 11.0 5.3 16.4

ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน(%yoy) -1.8 -0.9 -1.4 -0.6 -0.7 -0.9

ด้านรายได้เกษตรกร พบว่า หดตัว ร้อยละ -29.0 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน เป็นผล
มาจากปริมาณผลผลิตภาคเกษตรกรรม หดตวั รอ้ ยละ -28.7

ด้านการเงิน พิจารณาจาก ปรมิ าณเงินฝากรวม ขยายตัว รอ้ ยละ 9.7 เมื่อเทียบจากชว่ งเดือนเดยี วกัน
กับปีก่อนจากความต้องการรักษาสภาพคล่องของผู้ฝาก และส่วนหน่ึงเป็นเงินเยียวยาของภาครัฐ เช่น โครงการ
เราชนะ และโครงการ ม.33 เรารกั กนั เป็นต้น สว่ นดา้ น ปริมาณสินเชื่อรวม หดตวั รอ้ ยละ -0.7 เมอ่ื เทยี บจาก
ชว่ งเดอื นเดยี วกนั กบั ปีก่อน โดยสนิ เชอ่ื ธนาคารพาณชิ ยห์ ดตัว จากสนิ เช่อื ธุรกิจตามภาวะเศรษฐกจิ โดยรวม

เครอื่ งชีด้ ้านรายได้เกษตร ป2ี 563 Q1/63 ปี 2563-2564 YTD
และด้านการเงนิ ม.ค. ก.พ. มี.ค. 26.5
9.3
ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร (%yoy) -29.1 26.5 128.9 39.7 -29.0 0.1

เงินฝากรวม(%yoy) 5.6 9.3 9.0 9.1 9.7

สนิ เชอ่ื รวม(%yoy) -0.9 0.1 0.9 -0.1 -0.7

[3]

เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ลดลง ร้อยละ -0.8 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกัน
กับปีก่อน ตามราคาสินค้ากลุ่มอาหารกลับมาหดตัว โดยราคาลดลงในข้าวสารเหนียว ผักและผลไม้สด
และไก่สด ประกอบกับราคาสินค้ากลุ่มพลังงานหดตัวมากขึ้น ผลจากมาตรการบรรเทาภาระค่าใช้จ่าย
ด้านสาธารณูปโภคของภาครัฐ ที่ปรับลดค่าไฟฟ้าและค่าน้าประปา ขณะท่ีราคาน้ามันเชื้อเพลิงขายปลีก
ยังเพิ่มข้ึนต่อเนื่อง สาหรับการจ้างงาน หดตัว ร้อยละ -0.3 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน
จากจานวนผู้ขอรับสิทธิประโยชนท์ ดแทนกรณวี า่ งงานในระบบประกันสงั คมยังอยู่ในเกณฑ์สูง

เครอ่ื งชีด้ ้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ป2ี 563 Q1/63 ปี 2563-2564 YTD
(Stabilities) ม.ค. ก.พ. มี.ค.

อตั ราเงินเฟอ้ -0.6 -1.0 -1.1 -1.0 -0.8 -1.0
(Inflation Rate) (%yoy)

การจ้างงาน -7.2 0.4 0.5 0.9 -0.3 0.4
(Employment) (%yoy)

ด้านการคลงั เดอื นมีนาคม 2564 พบวา่ ผลการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณรวมจานวนทัง้ สนิ้ 2,791.9 ล้านบาท
ขยายตัว ร้อยละ 11.8 เม่ือเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากรายจ่ายลงทุน ขยายตัวสูง เป็นผลจาก
พระราชบัญญัติงบประมาณปีก่อนประกาศใช้ล่าช้า รวมท้ังการเร่งรัดเบิกจ่าย โดยขยายตัวมากในหมวด

ท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างของสานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 2 โครงการชลประทานลาปาง และ

แขวงทางหลวงชนบทลาปาง รายไดจ้ ัดเก็บเดือนมีนาคม 2564 มจี านวนทงั้ ส้ิน 44.7 ล้านบาท มีรายได้จัดเก็บ

ลดลง ร้อยละ -22.5 เม่ือเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากสานักงานสรรพากรพ้ืนที่ลาปาง และ

สานักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีลาปาง ท่ีหดตัว ร้อยละ -30.6 -18.4 ท้ังนี้ ดุลเงินงบประมาณเดือนมีนาคม 2564

ขาดดุลจานวน -2,742.5 ล้านบาท

ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สะสมตั้งแตต่ ้นปีงบประมาณจนถงึ เดือนมนี าคม 2564

หน่วย : ล้านบาท

เครอ่ื งชดี้ า้ นการคลัง (Fiscal) หนว่ ย ปงี บประมาณ(FY) Q1/FY64 Q2/FY64 ปงี บประมาณ (FY) พ.ศ. 2564 ม.ี ค. YTD (FY)
พ.ศ. 2563 ม.ค. ก.พ.

ผลตา่ งระหว่างประมาณการกบั รายไดจ้ ัดเกบ็ ล้านบาท 1,908.8 344.9 428.7 152.5 120.7 155.5 773.6
%yoy 11.1 0.9 4.9 7.9 0.9 5.3 -59.5

รายไดจ้ ัดเกบ็ จริง ล้านบาท 673.5 179.5 152.2 49.9 57.6 44.7 331.8
%yoy -21.6 -2.1 -14.4 -18.5 -2.3 -22.5 -50.7

รายไดน้ าส่งคลัง ล้านบาท 659.1 177.6 150.5 49.9 51.2 49.5 328.2
%yoy -22.4 4.2 -18.2 -26.1 -9.2 -17.7 -50.2

รายจ่าย ภาพรวม ลา้ นบาท 31,181.4 7,402.9 8,256.6 2,979.2 2,485.5 2,791.9 15,659.4

%yoy 1.9 5.2 20.6 34.6 16.4 11.8 -49.8

3.1 ดลุ เงินงบประมาณ ลา้ นบาท -30,522.2 -7,225.2 -8,106.0 -2,929.3 -2,434.3 -2,742.5 -15,331.2

[4]

รายการ งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ยจรงิ ร้อยละการเบกิ จา่ ย เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย
ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร (รอ้ ยละ)
1.รายจา่ ยจริงปงี บประมาณปปี จั จบุ นั
1.1รายจ่ายประจา 6,929.1 3,381.4 48.8 100
1.2 รายจ่ายลงทนุ 2,506.8
2.รายจา่ ยงบประมาณเหลอื่ มปี 4,422.3 1,885.2 75.2 100
3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 1,505.7
8,434.8 1,496.2 33.8 100

1,025.3 68.1

4,406.7 52.2

ทมี่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เทียบกับเป้าหมายการเบกิ จ่าย
สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนมนี าคม 2564

100.0 91.7 100.0

90.0 80.0 83.3

80.0 71.1

70.0 62.2

60.0 57.0
47.5

50.0 38.0
40.0 32.0 48.8

30.0 21.3 38.8

20.0 10.7 29.0
24.3

10.0 17.0

- 5.8
ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 ม.ี ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 ม.ิ ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการใช้จ่าย เป้าหมาย

[5]

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณงบลงทุน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เทียบกับเปา้ หมายการเบกิ จา่ ย
สะสมต้ังแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนมนี าคม 2564

100.0 91.7 100.0
90.0 83.3

80.0

70.0 65.0
57.8
60.0 50.6
45.0
50.0 37.5

40.0 30.0 33.8

30.0 20.0 21.1

20.0 13.3 8.8 11.8
10.0 6.7
0.0 0.7 2.7

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 ม.ี ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 ม.ิ ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการเบกิ จา่ ย เปา้ หมาย

ผลการเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของหนว่ ยงานท่ีไดร้ บั งบประมาณจัดสรรต้งั แต่ 100 ลา้ นบาท ขึ้นไป

สะสมตั้งแตป่ งี บประมาณจนถงึ เดือนมีนาคม 2564

หนว่ ย : ลา้ นบาท

ลาดบั ท่ี หนว่ ยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ ผลการ ร้อยละ
ทไี่ ดร้ บั จดั สรร การกอ่ หนี้ เบกิ จา่ ยจริง การเบกิ จา่ ย

1 สานักงานกอ่ สร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 2 587.0 73.7 12.6 386.4 65.8

2 สานักงานทรัพยากรนา ภาค 1 550.4 345.6 62.8 178.2 32.4

3 ศนู ย์สร้างทางลาปาง 419.8 155.8 37.1 134.6 32.1

4 แขวงทางหลวงลาปางที่ 1 409.1 306.9 75.0 69.9 17.1

5 แขวงทางหลวงลาปางท่ี 2 362.9 215.5 59.4 120.0 33.1

6 สานักงานสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ จังหวดั 326.3 0.0 0.0 6.2 1.9

7 โครงการชลประทานลาปาง 312.3 20.2 6.5 161.9 51.8
8 แขวงทางหลวงชนบทลาปาง 242.5 121.1 50.0 107.8 44.5
9 สานักงานชลประทานท่ี 2 189.5 19.7 10.4 71.0 37.5
10 สานักจัดการทรัพยากรปา่ ไม้ ท่ี 3 (ลาปาง) 156.5 48.8 31.2 53.9 34.4
11 งปม.จว.-สานักงานจังหวดั ลาปาง 150.0 21.0 14.0 2.6 1.8
12 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดจังหวดั ลาปาง 102.0 71.4 70.0 16.8 16.4

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทนุ วงเงินต้งั แต่ 100 ล้านบาทข้นึ ไป จานวน 12 หนว่ ยงาน รวมรายจ่าย
ลงทุน 3,808.3 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ86.1ของงบรายจ่ายลงทุนท่ีไดร้ ับ

[6]

ผลการเบิกจา่ ยงบลงทุนของหนว่ ยงานท่ไี ดร้ ับงบประมาณจดั สรรต้ังแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท

สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นมีนาคม 2564

หนว่ ย : ล้านบาท

ลาดบั ที่ หนว่ ยงาน งบประมาณ กอ่ หน้ี ร้อยละ ผลการ ร้อยละ
ทไี่ ดร้ บั จดั สรร การกอ่ หนี้ เบกิ จา่ ยจรงิ การเบกิ จา่ ย

1 มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง 83.4 56.7 68.0 12.0 14.3

2 องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั ลาปาง 60.0 0.0 0.0 0.0 0.0

3 สานักบริหารพนื ทอี่ นุรักษท์ ี่ 13 ลาปาง 39.4 17.2 43.7 18.7 47.3

4 โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง 37.4 30.8 82.4 5.0 13.3

5 สานักทรัพยากรนาบาดาล เขต 1 (จ.ลาปาง) 36.4 1.5 4.0 28.1 77.0

6 ศนู ยป์ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 10 26.7 23.0 86.1 3.2 11.8

7 ทที่ าการปกครองจังหวัดลาปาง 26.3 17.4 66.1 8.9 33.9

8 สานักงานเขตพนื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 2 25.4 7.1 27.9 16.4 64.6

9 วทิ ยาลยั เทคนิคลาปาง 22.4 20.0 89.0 0.0 0.0

10 สานักงานเขตพนื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาลาปาง เขต 35 20.1 10.5 52.6 4.2 21.1

11 สถานีพฒั นาทดี่ นิ จังหวดั ลาปาง 20.1 2.4 12.1 11.2 55.8

12 สานักงานเขตพนื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 19.0 12.8 67.3 2.4 12.4

13 โรงเรียนกฬี าจังหวดั ลาปาง 17.4 1.0 5.5 2.7 15.7

14 สานักงานเขตพนื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 14.8 1.9 12.9 12.9 86.9

15 สานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั ลาปาง 14.7 0.3 2.1 4.0 27.1

16 สานักงานโยธาธกิ ารและผังเมอื งจังหวัดลาปาง 11.3 1.2 10.6 9.7 86.3

17 สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม จ.ลาปาง 10.9 9.2 84.6 0.0 0.0

18 มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห่งขาติ วทิ ยาเขตลาปาง 10.5 2.4 23.4 8.0 76.1

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจา่ ยลงทุน วงเงินต้งั แต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จานวน18 หน่วยงานรวมรายจ่าย
ลงทนุ 496.2ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ11.2ของงบรายจา่ ยลงทนุ ท่ีไดร้ ับจดั สรรทั้งหมด

[7]

เครื่องชภ้ี าวะเศรษฐกิจการคลังจงั หวดั ลาปาง (Economic and Fiscal) รายเดอื น
ตารางที่ 1 เคร่ืองช้เี ศรษฐกจิ

เครอื่ งชเ้ี ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/64 ปี 2563 – 2564 YTD
เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.

ดชั นผี ลผลิตภาคบริการ %yoy -10.8 -5.6 0.0 -11.2 -5.9 -5.6
(โครงสร้างสัดส่วน 50%)
รายไดจ้ ากผเู้ ยยี่ มเยือน ลา้ นบาท 2,292.1 587.4 155.1 198.6 233.7 587.4
-51.0 -21.1 111.1 -13.5
จานวนนักทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ข้ามาในจังหวัด %yoy -47.5 -13.5 56,736.0 72,438.0 84,906.0 214,080.0
-47.1 -17.0 83.9 -11.1
ยอดขายสินคา้ ของหา้ งสรรพสนิ คา้ ในจังหวัด คน 816,486.0 214,080.0 342.2 387.7 368.5 1,098.4
ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม -13.0 13.0 4.4 0.8
(โครงสร้างสัดส่วน 40%) %yoy -39.9 -11.1

ปริมาณหนิ อตุ สาหกรรม (หนิ ปนู - กอ่ สร้าง) ล้านบาท 3,958.3 1,098.4

ปริมาณดนิ ขาว %yoy -15.1 0.8

ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรม %yoy -9.7 -12.1 -6.8 -22.0 -7.5 -12.1
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม
(โครงสร้างสัดส่วน 10%) พันตนั 1,541.4 341.2 116.0 108.4 116.8 341.2

ปริมาณผลผลิต : มันสาปะหลัง %yoy -19.0 -23.5 -20.6 -30.1 -19.2 -23.5

ปริมาณผลผลิต : ขา้ วโพดเลยี งสตั ว์ พันตนั 302.2 51.7 18.6 15.9 17.1 51.7

จานวนอาชญาบตั ร : สกุ ร %yoy 10.9 -41.1 -42.2 -43.2 -37.7 -41.1

จานวนอาชญาบตั ร : ไก่ kwh 625,883,437.5 140,014,336.7 46,350,443.9 46,135,946.2 47,527,946.7 140,014,336.7

%yoy 0.0 -7.0 -2.3 -2.4 -14.9 -7.0

%yoy -2.9 19.8 109.6 29.0 -28.7 19.8

ตนั 124,268.0 54,221.4 9,323.7 26,091.2 18,806.5 54,221.4
-37.0 54.7 -45.6 -18.1
%yoy 30.7 -18.1 44,060.6 0.0 1,014.2 45,074.8
5,435.3 -100.0 -63.7 711.1
ตนั 191,198.2 45,074.8

%yoy -20.2 711.1

ตวั 62,515.4 9,558.0 1,662.0 3,393.0 4,503.0 9,558.0

%yoy -7.9 -40.8 -71.8 -32.9 -13.5 -40.8

ตวั 10,610,774.9 3,182,300.0 1,265,300.0 1,080,500.0 836,500.0 3,182,300.0

%yoy 35.8 7.5 74.2 14.7 -35.3 7.5

เครอื่ งชเ้ี ศรษฐกจิ [8] ปี 2563 – 2564 YTD
เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค์ หนว่ ย ปี 2563 Q1/64 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.

ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน %yoy -11.1 10.6 -9.0 -12.9 53.0 10.6
ภาษีมูลคา่ เพ่ิมทหี่ มวดขายสง่ ขายปลกี
ลา้ นบาท 367.2 147.5 37.3 29.1 81.1 147.5
จานวนรถจักรยานยนตท์ จี่ ดทะเบยี นใหม่
%yoy -2.8 47.0 12.9 -18.4 156.2 47.0
ปริมาณจาหนา่ ยสุรา
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน คนั 11,434.0 2,801.0 770.0 864.0 1,167.0 2,801.0

พืนทไ่ี ดร้ ับอนุญาตใหก้ อ่ สร้างรวม %yoy -7.3 -4.7 -31.7 6.9 16.5 -4.7
113,622.1 106,674.9 144,648.5 364,945.5
สนิ เชอ่ื เพื่อการลงทนุ ลิตร 1,622,573.2 364,945.5
-30.8 -20.1 14.5 -13.9
ยอดขายวัสดแุ ละอปุ กรณก์ ารกอ่ สร้าง %yoy -13.0 -13.9 -1.4 -0.6 -0.7 -0.9
ดชั นกี ารใชจ้ า่ ยของรัฐบาล
%yoy -1.8 -0.9 56,571.0 37,544.0 36,729.8 130,844.8
การเบกิ จ่ายเงนิ งบประจาของ สว่ นราชการ + ทอ้ งถนิ่
ตรม. 497,557.5 130,844.8 16.5 -13.9 -1.3 1.1
การเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของ ส่วนราชการ + ทอ้ งถนิ่ 9,885.0 9,862.8 9,183.9 28,931.7
%yoy 13.5 1.1 -1.3 -0.5 -0.7
190.4 231.4 201.1 -0.8
ลา้ นบาท 115,048.4 28,931.7 -15.3 -3.9 -14.1 622.9
33.8 11.0 -11.0
%yoy -1.5 -0.8 2,590.3 2,031.1 5.3 16.4
26.1 2,164.3 6,785.8
ลา้ นบาท 2,337.0 622.9 388.9 5.7 -0.9 10.2
145.1 454.4 627.6 1,470.8
%yoy -16.7 -11.0 113.5 99.9 114.6

%yoy 4.5 16.4

ตนั 23,563.4 6,785.8

%yoy -3.9 10.2

ตนั 5,113.4 1,470.8

%yoy -18.5 114.6

[9]

เครอื่ งชเี้ ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/64 ปี 2563 – 2564 YTD
ดา้ นรายได้ (Income) ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
26.5
ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกรรม %yoy -29.1 26.5 128.9 39.7 -29.0 19.8
109.6 29.0 -28.7 5.6
ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy -2.9 19.8 9.2 8.3 -0.5
260,751.6
ดชั นีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -27.0 5.6 9.3

ดา้ นการเงิน ลา้ นบาท 972,672.9 86,917.2 86,776.4 87,087.9 86,887.3 215,022.5
ปริมาณเงินฝากรวม %yoy 5.6 9.3 9.0 9.1 9.7 0.1
ล้านบาท 849,553.0
สินเชอื่ รวม %yoy -0.9 71,674.2 73,012.8 72,320.8 69,688.9 102.1
0.1 0.9 -0.1 -0.7 -1.0
0.9
ดา้ นเสถยี รภาพเศรษฐกจิ -1.5
(Stability) 101.8
-0.1
ดชั นรี าคาผบู้ ริโภคทว่ั ไป 102.1 102.1 102.4 102.5 101.2 99.3
-1.1 -1.0 -0.8 0.4
(อตั ราเงินเฟ้อทวั่ ไป) %yoy -0.6 -1.0 0.9 0.9 1.1 148,405
-2.5 -1.9 -0.1 0.4
- หมวดอาหารและเคร่ืองดมื่ %yoy 2.7 0.9 101.8 101.8 101.8
-0.1 -0.1 -0.1
- หมวดอนื่ ๆ ไม่ใชอ่ าหารและเครือ่ งดมื่ %yoy -3.0 -1.5 98.8 99.3 99.8
-0.6 0.1 1.8
ดชั นรี าคาผบู้ ริโภคพืนฐาน 101.8 101.8 49,247 49,501 49,657
0.5 0.9 -0.3
(อตั ราเงนิ เฟ้อพืนฐาน) %yoy 0.0 -0.1

ดชั นรี าคาผผู้ ลิต 97.7 99.3

(อตั ราการเปลยี่ นแปลง) %yoy -6.8 0.4

การจ้างงาน: Employment คน 590,264 49,468
%yoy -7.2 0.4

หมายเหตุ :1. ดัชนกี ารใช้จา่ ยภาครัฐรวมรายจา่ ยขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ (อปท.)
2. eคอื ข้อมลู ประมาณการ
3. r คือการปรับปรุงข้อมูลยอ้ นหลงั

[10]

ตารางท่ี 2 เครอื่ งช้ีการคลัง

เครอ่ื งชดี้ า้ นการคลัง (Fiscal) หนว่ ย ปงี บประมาณ(FY) ปงี บประมาณ (FY) พ.ศ. 2564
รายไดจ้ ัดเกบ็ จริง พ.ศ. 2563 Q1/FY64
สรรพากรพืนท่ี Q2/FY64 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. YTD (FY)
สรรพสามิตพืนที่ 331.8
ธนารักษ์พืนทล่ี าปาง ลา้ นบาท 673.5 179.5 152.2 49.9 57.6 44.7 -50.7
ส่วนราชการอนื่ 219.6
รายไดน้ าส่งคลงั %yoy -21.6 -2.1 -14.4 -18.5 -2.3 -22.5 -52.7
29.8
3.1 ดลุ เงนิ งบประมาณ ลา้ นบาท 464.2 123.9 95.7 30.4 33.2 32.2 -49.2
17.1
%yoy -21.7 -1.9 -23.2 -27.8 -8.3 -30.6 -8.4
65.2
ลา้ นบาท 58.7 16.4 13.4 4.4 4.3 4.7 -50.6
328.2
%yoy -2.6 -6.5 -8.4 -20.6 -7.5 6.0 -50.2
-15,331.2
ลา้ นบาท 18.7 4.2 12.9 4.0 8.1 0.8

%yoy -17.5 28.9 14.2 -5.5 33.2 -18.4

ลา้ นบาท 131.9 35.0 30.2 11.1 12.0 7.0

%yoy -28.2 -3.2 10.3 18.9 -0.1 17.9

ล้านบาท 659.1 177.6 150.5 49.9 51.2 49.5

%yoy -22.4 4.2 -18.2 -26.1 -9.2 -17.7

ล้านบาท -30,522.2 -7,225.2 -8,106.0 -2,929.3 -2,434.3 -2,742.5

หมายเหตุ
FYคือ ปงี บประมาณ (ต.ค.2563-ก.ย.2564)
Q1 คอื ยอดสะสมต้งั แตเ่ ดือนตุลาคม ถงึ เดือนธนั วาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2563)
Q2 คือ ยอดสะสมตั้งแต่เดอื นมกราคม ถึงเดอื นมนี าคม (ม.ค. - ม.ี ค. 2564)
Q3 คือ ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดือนเมษายน ถึงเดอื นมถิ ุนายน (เม.ย. - ม.ิ ย. 2564)
Q4 คือ ยอดสะสมตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถงึ เดอื นกนั ยายน (ก.ค. - ก.ย. 2564)


Click to View FlipBook Version