The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเศรษฐกิจลำปาง เมษายน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpg, 2021-06-02 00:33:43

รายงานเศรษฐกิจลำปาง เมษายน 2564

รายงานเศรษฐกิจลำปาง เมษายน 2564

รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวดั ลาปาง

Lampang Economic & Fiscal Report

ฉบบั ที่ 4/2564

เศรษฐกิจการคลังจงั หวดั ลาปาง ประจาเดือนเมษายน 2564

เศรษฐกิจจังหวัดลาปางในเดือนเมษายน 2564 โดยรวม ขยายตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกัน
กับปีก่อน จากด้านอุปทาน เป็นสาคัญ ภาคเกษตรกรรม ขยายตัว จากปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง
และปริมาณผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์เพ่ิมขึ้น ตามการเพ่ิมพ้ืนท่ีการเพาะปลูกของเกษตรกร ภาคบริการ
ขยายตัว จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ระลอกใหม่
ประกอบกับมีช่วงวันหยุดยาว ทาให้ประชาชนเดินทางเพิ่มมากขึ้น ภาคอุตสาหกรรม หดตัวน้อยลง
จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ ทาให้มีคาสั่งซ้ือ
จากตา่ งประเทศกลับเข้ามา ทางด้านอุปสงค์ ขยายตัว ตามการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว ส่วนหน่ึงได้รับ
ปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ส่งผลให้การใช้จ่ายสินค้าในชีวิตประจาวัน
ปรับดีขึ้น การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัว ตามจานวนรถยนต์บรรทุกจดทะเบียนใหม่และสินเชื่อ
เพ่ือการลงทุน การใช้จ่ายภาครัฐ หดตัว จากรายจ่ายประจา เนื่องจากฐานปีก่อนสูง สาหรับเสถียรภาพ
ทางเศรษฐกิจของจงั หวัดลาปาง อัตราเงนิ เฟอ้ ทว่ั ไปปรบั เพิ่มขน้ึ

เศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (การผลิต) พบว่า ขยายตัว เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน สะท้อน
จากดัชนี ภาคเกษตรกรรม ขยายตัว ร้อยละ 33.5 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากปริมาณ
ผลผลิตมันสาปะหลัง และปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพิ่มข้ึนตามการเพิ่มพ้ืนที่การเพาะปลูกของ
เกษตรกร รวมถึงภาครัฐมีนโยบายช่วยเหลือเกษตรอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ โครงการประกันรายได้เกษตรกร
โครงการชว่ ยเหลอื เกษตรกรที่ได้รบั ผลกระทบจากการระบาดของเชื้อไวรัส COVID -19 และโครงการสนับสนุน
ค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ส่งผลให้เกษตรกรมีความต้องการเพาะปลูก
เพม่ิ มากข้ึน ผลผลติ ด้านปศสุ ตั วจ์ านวนโค กระบือ และไก่ มีปริมาณเพิ่มข้ึน สอดคล้องกับความต้องการบริโภค
ภาคบริการ ขยายตัว ร้อยละ 15.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากการผ่อนคลายมาตรการ
ควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ ประกอบกับมีช่วงวันหยุดยาว ทาให้ประชาชน
เดินทางเพ่ิมมากข้ึน สะท้อนจากจานวนนักท่องเท่ียวที่เข้ามาในจังหวัด ยอดขายสินค้าของห้างสรรพสินค้า
ในจังหวัด และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาติหดตัวสูงต่อเน่ือง ผลจากมาตรการจากัดการ
เดินทางเข้าออกระหว่างประเทศ อยา่ งไรก็ตาม ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19
ยังทาให้การท่องเที่ยวฟ้ืนตัวช้า ภาคอุตสาหกรรม หดตัว ร้อยละ -8.6 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับ
ปีก่อน ตามการลดลงของปริมาณลิกไนต์ ปริมาณหินอุตสาหกรรม (หินปูน- ก่อสร้าง) และปริมาณดินขาว
อย่างไรก็ดี ภาษีมลู ค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรมยังขยายตัวต่อเนื่อง จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่
ระบาดของเช้ือไวรัส COVID -19 ระลอกใหม่ ทาให้มีคาส่ังซ้ือจากต่างประเทศกลับเข้ามา แม้จะไม่มากนัก
ส่วนด้านการลงทุนด้านอุตสาหกรรมในจังหวัดลาปาง พบว่า สภาวะการลงทุนภาคอุตสาหกรรมเดือนเมษายน
2564 จังหวัดลาปางมีโรงงานประกอบกิจการรายใหม่ จานวน 3 โรงงาน เป็นโรงงานขุดดินในที่ดินกรรมสิทธิ์
เงินลงทุน 18.7 ล้านบาท โรงงานขุดทรายหรือที่ดินในที่ดินกรรมสิทธ์ิ เงินลงทุน 11.2 ล้านบาท และโรงงาน

[2]

แปรรูปไม้โดยใช้เครื่องจักร เพื่อประดิษฐ์กรรมทาเคร่ืองเรือนเคร่ืองใช้จากไม้ เงินลงทุน 8 ล้านบาท และ
ในเดอื นนไ้ี ม่มกี ารแจ้งขยายโรงงานและแจง้ เลิกกิจการ

เครอื่ งช้ดี ้านอปุ ทาน ป2ี 563 Q1/64 ปี 2563-2564 YTD
(Supply Side)(สัดส่วนต่อ GPP) ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. 23.8
-0.4
ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม(%yoy) -2.9 19.8 29.0 -28.7 33.5 -10.3

ดชั นผี ลผลติ ภาคบริการ (%yoy) -10.8 -3.7 -11.6 -0.5 15.1

ดชั นผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) -9.7 -10.9 -22.0 -4.1 -8.6

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) พบว่า ขยายตัว สะท้อนจาก การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว
ร้อยละ 97.2 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากภาษีมูลค่าเพ่ิมหมวดขายส่งขายปลีก
ยอดขายของบริษัทขายรถ และจานวนรถจักรยานยนต์ท่ีจดทะเบียนใหม่ ส่วนหนึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ เช่น โครงการเราชนะ ข้อมูลของจังหวัดลาปาง ณ วันท่ี 27 เมษายน
2564 มผี ู้ใช้สทิ ธิข์ องจังหวดั ลาปาง ทัง้ สน้ิ 419,150 ราย ยอดใชจ้ ่ายโครงการเราชนะ 2,254.3 ล้านบาท
และโครงการ ม.33 เรารักกัน เป็นต้น ส่งผลให้การใช้จ่ายสินค้าในชีวิตประจาวันปรับดีข้ึน โดยเฉพาะกลุ่ม
สินค้าจาเป็น ด้านการใช้จ่ายหมวดสินค้าคงทนในกลุ่มยานยนต์กลับมาขยายตัวในกลุ่มรถยนต์เชิงพาณิชย์
ตามความต้องการของลูกค้ากลุ่มเกษตรกร และการขนส่งสินค้า ประกอบกับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย
เพื่อกระตุ้นยอดจาหน่าย การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัว ร้อยละ 8.4 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับ
ปีก่อน จากการลงทุนเพื่อการผลิต ตามจานวนรถยนต์บรรทุกจดทะเบียนใหม่ท่ีขยายตัวได้ โดยเฉพาะในกลุ่ม
ธรุ กิจขนส่งสินคา้ และสนิ คา้ เกษตร สว่ นสินเชอื่ เพอ่ื การลงทุนขยายตัว โดยธุรกิจรายใหญ่บางรายยังมีการลงทุน
เพื่อรองรับคาส่ังซื้อในอนาคตและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ด้านการลงทุนเพื่อการก่อสร้างหดตัว
ตามสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวม และกาลังซ้ือที่ยังเปราะบาง สะท้อนจากพื้นท่ีได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างรวม
หดตัว การใช้จ่ายภาครัฐ หดตัว ร้อยละ -1.4 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากรายจ่ายประจา
เนื่องจากฐานปีก่อนสูง โดยหดตัวมากในหมวดเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถาบันการศึกษาและหมวดรายจ่ายอื่น
ส่วนทางด้านรายจ่ายลงทุน ขยายตัวต่อเน่ือง จากการเร่งเบิกจ่ายของหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมวดท่ีดิน
และสิ่งกอ่ สรา้ งของแขวงทางหลวงลาปางที่ 2 แขวงทางหลวงชนบทลาปาง และศูนยส์ รา้ งทางลาปาง

เครอื่ งชดี้ ้านอปุ สงค์ ป2ี 563 Q1/63 ปี 2563-2564 YTD
(Demand Side) ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. 30.2
ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน (%yoy) 3.8
-11.1 19.0 -12.4 79.6 97.2 11.7
ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน(%yoy)
-1.8 2.4 -0.1 8.2 8.4
ดชั นีการใชจ้ า่ ยภาครฐั (%yoy)
4.5 16.4 11.0 5.3 -1.4

ด้านรายได้เกษตรกรพบว่า ขยายตัวร้อยละ 28.8 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน เป็นผล
มาจากปรมิ าณผลผลติ ภาคเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 33.5

ด้านการเงิน พิจารณาจาก ปริมาณเงินฝากรวม ขยายตัว ร้อยละ16.0 เม่ือเทียบจากช่วงเดือน
เดียวกันกับปีก่อนจากความต้องการรักษาสภาพคล่องของผู้ฝาก ส่วนด้าน ปริมาณสินเช่ือรวม ขยายตัว ร้อยละ
7.4 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน โดยสินเช่ือธนาคารพาณิชย์กลับมาขยายตัว จากสินเชื่ออุปโภค
บริโภค และสินเชื่อเพอื่ ธุรกิจหดตวั นอ้ ยลง

[3]

เครอื่ งชด้ี ้านรายได้เกษตร ป2ี 563 Q1/63 ปี 2563-2564 YTD
และด้านการเงนิ ก.พ. มี.ค. เม.ย. 27.7
11.1
ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (%yoy) -29.1 26.5 39.7 -29.0 28.8 3.0

เงินฝากรวม(%yoy) 5.6 9.6 9.1 10.6 16.0

สนิ เชอ่ื รวม(%yoy) -0.9 1.6 -0.1 4.0 7.4

เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อท่ัวไป เพิ่มข้ึน ร้อยละ 2.3 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกัน
กับปีก่อน โดยมีปัจจัยสาคัญจากการส้ินสุดของมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐในการลดค่ากระแสไฟฟ้าและ
ค่าน้าประปา รวมถึงราคาน้ามันเช้ือเพลิงปรับตัวสูงข้ึน นอกจากน้ี ผักและผลไม้ราคาปรับตัวสูงขึ้นเช่นกัน
เนื่องจากความแปรปรวนของสภาพอากาศ ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตลดลง ประกอบกับความต้องการบริโภค
ที่มากขึ้นในช่วงวันหยุดยาว และมาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายต่างๆ ของภาครัฐที่ช่วยเพ่ิมกาลังซื้อให้กับ
ประชาชน สาหรับการจ้างงาน ขยายตัวเล็กน้อย ร้อยละ 0.1 เม่ือเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน
อย่างไรก็ตามจานวนผ้ขู อรบั สทิ ธปิ ระโยชน์ทดแทนกรณวี ่างงานในระบบประกันสังคมยังอยู่ในเกณฑ์สงู

เครอื่ งชี้ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ป2ี 563 Q1/63 ปี 2563-2564 YTD
(Stabilities) -0.6 -1.0 ก.พ. มี.ค. เม.ย. -0.2
-1.0 -0.8 2.3
อตั ราเงินเฟอ้ -7.2 0.4 0.3
(Inflation Rate) (%yoy) 0.9 -0.3 0.1
การจา้ งงาน
(Employment) (%yoy)

ดา้ นการคลงั เดือนเมษายน 2564 พบวา่ ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมจานวนทั้งส้ิน 2,592.3 ล้านบาท
หดตัว ร้อยละ -0.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับปีก่อน จากรายจ่ายประจา เน่ืองจากฐานปีก่อนสูง
โดยหดตัวมากในหมวดเงินอุดหนุนทั่วไปของสถาบันการศึกษาและหมวดรายจ่ายอ่ืน ส่วนทางด้านรายจ่าย
ลงทุนขยายตัวต่อเนื่อง จากการเร่งเบิกจ่ายของหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมวดที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ
แขวงทางหลวงลาปางที่ 2 แขวงทางหลวงชนบทลาปาง และศนู ย์สร้างทางลาปาง รายได้จัดเก็บเดือนเมษายน
2564 มีจานวนทั้งสิ้น 39.9 ล้านบาท มีรายได้จัดเก็บเพ่ิมข้ึน ร้อยละ 8.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันกับ
ปีก่อน จากสานักงานสรรพากรพื้นท่ีลาปาง และสรรพสามิตพ้ืนที่ลาปาง ท่ีขยายตัว ร้อยละ 15.0 43.2 ท้ังน้ี
ดุลเงินงบประมาณเดือนเมษายน 2564 ขาดดลุ จานวน -2,550.9 ลา้ นบาท

[4]

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สะสมตั้งแตต่ น้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนเมษายน 2564

หน่วย : ล้านบาท

เครอ่ื งชดี้ า้ นการคลัง (Fiscal) หนว่ ย ปงี บประมาณ(FY) Q1/FY64 Q2/FY64 ปงี บประมาณ (FY) พ.ศ. 2564 เม.ย. YTD (FY)
พ.ศ. 2563 ก.พ. ม.ี ค.

ผลตา่ งระหว่างประมาณการกบั รายไดจ้ ัดเกบ็ ล้านบาท 1,908.8 344.9 428.7 120.7 155.5 175.7 949.2
%yoy 11.1 0.9 4.9 0.9 5.3 159.9 -50.3

รายไดจ้ ัดเกบ็ จริง ล้านบาท 673.5 179.5 152.2 57.6 44.7 39.9 371.6

%yoy -21.6 -2.1 -14.4 -2.3 -22.5 8.0 -44.8

รายไดน้ าส่งคลัง ลา้ นบาท 659.1 177.6 150.5 51.2 49.5 41.4 369.6

%yoy -22.4 4.2 -18.2 -9.2 -17.7 9.8 -43.9

รายจ่าย ภาพรวม ลา้ นบาท 31,181.4 7,402.9 8,256.6 2,485.5 2,791.9 2,592.3 18,251.7

%yoy 1.9 5.2 20.6 16.4 11.8 -0.5 -41.5

3. ดลุ การคลงั

3.1 ดลุ เงนิ งบประมาณ ล้านบาท -30,522.2 -7,225.2 -8,106.0 -2,434.3 -2,742.5 -2,550.9 -17,882.2

รายการ งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ยจริง รอ้ ยละการเบกิ จา่ ย เปา้ หมาย
ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร (ร้อยละ)

1.รายจา่ ยจรงิ ปงี บประมาณปี 7,413.4 4,084.8 55.1 100
100
1.1รายจ่ายประจา 2,930.4 2,175.2 74.2 100

1.2 รายจ่ายลงทุน 4,483.0 1,909.7 42.6

2.รายจา่ ยงบประมาณเหลอ่ื มปี 1,505.7 1,090.0 72.4

3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 8,919.1 5,174.8 58.0

ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เทียบกับเป้าหมายการเบกิ จ่าย
สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นเมษายน 2564

100.0 91.7 100.0

90.0 80.0 83.3

80.0 71.1

70.0 62.2
60.0 57.0
47.5
50.0 38.0 55.1

40.0 32.0 48.8

30.0 21.3 38.8

20.0 10.7 29.0
24.3

10.0 17.0

- 5.8

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 ม.ี ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 ม.ิ ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการใชจ้ ่าย เปา้ หมาย

[5]

กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณงบลงทนุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เทียบกับเปา้ หมายการเบกิ จ่าย
สะสมต้ังแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนเมษายน 2564

100.0 91.7 100.0
90.0 83.3

80.0

70.0 65.0
57.8
60.0 50.6
45.0
50.0 37.5 42.6

40.0 30.0 33.8

30.0 20.0 21.1

20.0 13.3 8.8 11.8
10.0 6.7
0.0 0.7 2.7

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 มี.ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 มิ.ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการเบิกจา่ ย เป้าหมาย

ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทนุ ของหน่วยงานท่ไี ดร้ บั งบประมาณจัดสรรต้งั แต่ 100 ลา้ นบาท ข้นึ ไป

สะสมต้ังแตป่ งี บประมาณจนถงึ เดือนเมษายน 2564

หน่วย : ล้านบาท

ลาดบั ที่ หนว่ ยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ ผลการ ร้อยละ
ทไ่ี ดร้ บั จดั สรร การกอ่ หน้ี เบกิ จา่ ยจริง การเบกิ จา่ ย

1 สานักงานกอ่ สร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 2 641.1 66.2 10.3 398.4 62.1
2 สานักงานทรัพยากรน้า ภาค 1
3 ศนู ยส์ ร้างทางลาปาง 556.0 314.0 56.5 216.0 38.9
4 แขวงทางหลวงลาปางที่ 1
5 แขวงทางหลวงลาปางที่ 2 419.8 135.6 32.3 171.5 40.8
6 โครงการชลประทานลาปาง
7 สานักงานสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ จังหวัด 409.4 221.2 54.0 159.4 38.9
8 แขวงทางหลวงชนบทลาปาง
9 สานักงานชลประทานที่ 2 362.6 132.6 36.6 206.2 56.9
10 สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 (ลาปาง)
11 งปม.จว.-สานักงานจังหวัดลาปาง 312.3 15.5 5.0 190.3 60.9
12 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาปาง
312.1 0.0 0.0 50.6 16.2

245.5 108.1 44.0 124.2 50.6

200.3 41.6 20.8 81.1 40.5

156.5 56.5 36.1 62.5 39.9

150.0 22.1 14.7 6.3 4.2

102.0 81.5 79.9 20.5 20.1

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)

หนว่ ยงานท่มี รี ายจา่ ยลงทุน วงเงินต้งั แต่ 100 ล้านบาทข้ึนไป จานวน 12 หน่วยงาน รวมรายจ่าย
ลงทุน 3,867.7 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 86.3 ของงบรายจา่ ยลงทุนทีไ่ ดร้ บั จัดสรรทั้งหมด

[6]

ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหนว่ ยงานที่ไดร้ บั งบประมาณจดั สรรตั้งแต่ 10 ถงึ 100 ล้านบาท

สะสมต้ังแตต่ น้ ปงี บประมาณจนถงึ เดอื นเมษายน 2564

หน่วย : ล้านบาท

ลาดบั ที่ หนว่ ยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ ผลการ ร้อยละ
ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร การกอ่ หน้ี เบกิ จา่ ยจริง การเบกิ จา่ ย

1 มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง 83.4 56.2 67.5 12.5 15.0

2 องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดลาปาง 60.0 51.9 86.5 0.0 0.0

3 สานักทรัพยากรน้าบาดาล เขต 1 (จ.ลาปาง) 39.9 2.5 6.2 32.7 81.9

4 สานักบริหารพน้ื ทอ่ี นุรักษท์ ี่ 13 ลาปาง 39.4 11.6 29.4 25.4 64.4

5 โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง 37.4 30.8 82.4 5.0 13.3

6 ศนู ยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 10 26.7 22.6 84.5 3.8 14.4

7 ทที่ าการปกครองจังหวดั ลาปาง 26.3 17.1 65.0 9.2 35.0

8 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 2 23.5 5.4 23.1 17.6 75.0

9 วทิ ยาลยั เทคนิคลาปาง 22.4 12.7 56.7 7.3 32.4

10 สถานีพฒั นาทดี่ นิ จังหวัดลาปาง 20.1 2.5 12.6 13.2 66.0

11 สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 19.1 1.7 8.8 17.1 89.6

12 สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาลาปาง เขต 35 18.8 10.5 55.8 5.4 28.7

13 โรงเรียนกฬี าจังหวดั ลาปาง 17.4 1.0 5.5 2.7 15.7

14 สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 16.9 12.2 71.8 3.7 21.9

15 สานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดลาปาง 15.9 0.0 0.0 9.9 62.3

16 สานักงานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจังหวดั ลาปาง 11.3 0.9 8.2 10.1 89.9

17 มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแห่งขาติ วิทยาเขตลาปาง 10.5 2.4 23.4 8.0 76.1

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

หนว่ ยงานท่ีมรี ายจา่ ยลงทนุ วงเงนิ ตั้งแต่ 10 ถงึ 100 ล้านบาท จานวน 17 หน่วยงาน รวมรายจ่าย
ลงทุน 489.0 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 10.9 ของงบรายจา่ ยลงทนุ ที่ไดร้ บั จดั สรรทั้งหมด

[7]

เคร่อื งชี้ภาวะเศรษฐกิจการคลงั จงั หวัดลาปาง (Economic and Fiscal) รายเดอื น
ตารางท่ี 1 เครือ่ งชเ้ี ศรษฐกิจ

เครอื่ งชเี้ ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/64 ปี 2563 – 2564 YTD
เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
-0.4
ดชั นผี ลผลิตภาคบริการ %yoy -10.8 -3.7 -11.6 -0.5 15.1
(โครงสร้างสัดส่วน 50%) 82,870.0
จานวนผเู้ ขา้ พัก คน 371,068.3 70,794.0 23,272.0 28,564.0 12,076.0 -44.3
%yoy -39.6 -51.9 -54.8 -14.4 708.8 838.5
รายไดจ้ ากผเู้ ยย่ี มเยือน ล้านบาท 2,292.1 587.4 198.6 233.7 251.1 22.9
%yoy -47.5 -13.5 -21.1 111.1 6,541.8 302,207.0
จานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วทเี่ ขา้ มาในจังหวัด คน 214,080.0 72,438.0 84,906.0 88,127.0 24.8
%yoy 816,486.0 -11.1 -17.0 83.9 5,802.7 1,534.0
ยอดขายสนิ คา้ ของหา้ งสรรพสินคา้ ในจังหวัด ล้านบาท -39.9 1,150.5 376.4 411.6 383.5 21.4
ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม %yoy 3,958.3 5.6 9.7 16.6 119.4
(โครงสร้างสัดส่วน 40%) -15.1 -10.3
%yoy -10.9 -22.0 -4.1 -8.6
ปริมาณลกิ ไนต์ -9.7 4,552.3
-8.0
ปริมาณหนิ อตุ สาหกรรม (หนิ ปนู - กอ่ สร้าง) พันตนั 13,404.8 3,414.2 1,117.5 1,183.9 1,138.1 454.9
%yoy -4.5 2.1 23.5 4.9 -29.0 -25.7
ปริมาณดนิ ขาว พันตนั 1,541.4 341.2 108.4 116.8 113.7 69.0
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -19.0 -23.5 -30.1 -19.2 -31.5 -37.1
(โครงสร้างสัดส่วน 10%) พันตนั 302.2 51.7 15.9 17.1 17.2
%yoy 10.9 -41.1 -43.2 -37.7 -21.1 23.8
ปริมาณผลผลิต : มันสาปะหลัง
%yoy -2.9 19.8 29.0 -28.7 33.5 87,065.0
ปริมาณผลผลติ : ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ -0.5
ตนั 124,268.0 54,221.4 26,091.2 18,806.5 32,843.6
จานวนอาชญาบตั ร : กระบอื 57,790.4
%yoy 30.7 -18.1 54.7 -45.6 54.3 407.2
จานวนอาชญาบตั ร : โค 265.0
ตนั 191,198.2 45,074.8 0.0 1,014.2 12,715.6 -34.9
จานวนอาชญาบตั ร : ไก่ 2,455.0
%yoy -20.2 711.1 -100.0 -63.7 117.9 -14.2
4,661,040.0
ตวั 987.3 177.0 73.0 75.0 88.0 18.9

%yoy 19.3 -47.2 -47.1 -39.0 22.2

ตวั 7,570.9 1,151.0 365.0 687.0 1,304.0

%yoy -22.4 -47.4 -48.7 1.6 93.8

ตวั 10,610,774.9 3,182,300.0 1,080,500.0 836,500.0 1,478,740.0

%yoy 35.8 7.5 14.7 -35.3 54.4

[8]

เครอ่ื งชเ้ี ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/64 ปี 2563 – 2564 YTD
เศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค์ ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
30.2
ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน %yoy -11.1 19.0 -12.4 79.6 97.2 1,786.3
ยอดขายของบริษัทขายรถ ลา้ นบาท 4,122.2 1,339.7 430.4 552.9 446.6 10.5

ภาษีมูลคา่ เพิ่มทหี่ มวดขายสง่ ขายปลีก %yoy -28.1 -5.9 2.2 14.0 131.6 182.5
52.4
จานวนรถจักรยานยนตท์ จ่ี ดทะเบยี นใหม่ ล้านบาท 367.2 147.5 29.1 81.1 35.0 3,961.0
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน 1.1
%yoy -2.8 47.0 -18.4 156.2 80.8 3.8
จานวนรถยนตบ์ รรทกุ จดทะเบยี นใหม่ คนั 11,434.0 2,801.0 864.0 1,167.0 1,160.0 92.0
176.0
พ้ืนทไี่ ดร้ ับอนญุ าตใหก้ อ่ สร้างรวม %yoy -7.3 -4.7 6.9 16.5 18.4 165,894.3
%yoy -1.8 2.4 -0.1 8.2 8.4 -4.2
สินเชอ่ื เพื่อการลงทนุ คนั 128.7 65.0 18.0 26.0 27.0 39,599.6
ดชั นกี ารใชจ้ า่ ยของรัฐบาล %yoy -58.4 160.0 200.0 160.0 224.0 3.3
ตรม. 497,557.5 130,844.8 37,544.0 36,729.8 35,049.5 11.7
การเบกิ จ่ายเงนิ งบประจาของ สว่ นราชการ + ทอ้ งถน่ิ %yoy 13.5 1.1 -13.9 -1.3 -20.0 8,881.1
ลา้ นบาท 115,048.4 29,699.7 9,862.8 9,951.9 9,899.9 7.0
การเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของ สว่ นราชการ + ทอ้ งถนิ่ %yoy -1.5 1.8 -0.5 7.6 8.0 1,967.8
%yoy 4.5 16.4 11.0 5.3 -1.4 71.2
ตนั 23,563.4 6,785.8 2,031.1 2,164.3 2,095.3
%yoy -3.9 10.2 5.7 -0.9 -2.2
ตนั 5,113.4 1,470.8 454.4 627.6 497.0
%yoy -18.5 114.6 113.5 99.9 7.2

[9]

เครอ่ื งชเี้ ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 Q1/64 ปี 2563 – 2564 YTD
ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
ดา้ นรายได้ (Income) 27.7
ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกรรม %yoy -29.1 26.5 39.7 -29.0 28.8 23.8
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -2.9 19.8 29.0 -28.7 33.5 3.2
ดชั นีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -27.0 5.6 8.3 -0.5 -3.5
348,825.9
ดา้ นการเงิน ล้านบาท 972,672.9 87,149.3 87,087.9 87,583.6 87,377.9 11.1
%yoy 5.6 9.6 9.1 10.6 16.0
ปริมาณเงินฝากรวม ลา้ นบาท 290,967.9
%yoy 849,553.0 72,769.9 72,320.8 72,976.0 72,658.3 3.0
สนิ เชอ่ื รวม -0.9 1.6 -0.1 4.0 7.4
102.1
ดา้ นเสถยี รภาพเศรษฐกจิ 102.1 102.1 102.5 101.2 102.2 -0.2
(Stability) %yoy -0.6 -1.0 1.0
%yoy 2.7 0.9 -1.0 -0.8 2.3 -0.3
ดชั นรี าคาผบู้ ริโภคทวั่ ไป %yoy -3.0 -1.5 101.8
(อตั ราเงินเฟ้อทว่ั ไป) 101.8 0.9 1.1 1.2 -0.1
- หมวดอาหารและเครื่องดมื่ 101.8 -0.1 99.4
- หมวดอน่ื ๆ ไม่ใชอ่ าหารและเครื่องดม่ื %yoy 0.0 99.3 -1.9 -0.1 3.7 1.2
ดชั นรี าคาผบู้ ริโภคพ้ืนฐาน 0.4 197,847
(อตั ราเงนิ เฟ้อพื้นฐาน) 97.7 49,468 101.8 101.8 101.9 0.3
ดชั นีราคาผผู้ ลิต %yoy -6.8 0.4
(อตั ราการเปลยี่ นแปลง) คน 590,264 -0.1 -0.1 0.0
%yoy -7.2
การจ้างงาน: Employment 99.3 99.8 99.7

0.1 1.8 3.6

49,501 49,657 49,442
0.9 -0.3 0.1

หมายเหตุ :1. ดัชนกี ารใช้จ่ายภาครัฐรวมรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ (อปท.)
2. eคอื ข้อมูลประมาณการ
3. r คอื การปรบั ปรงุ ขอ้ มูลยอ้ นหลัง

[10]

ตารางท่ี 2 เคร่อื งชกี้ ารคลัง

เครอ่ื งชด้ี า้ นการคลัง (Fiscal) หนว่ ย ปงี บประมาณ(FY) Q1/FY64 Q2/FY64 ปงี บประมาณ (FY) พ.ศ. 2564 เม.ย. YTD (FY)
รายไดจ้ ัดเกบ็ จริง พ.ศ. 2563 ก.พ. ม.ี ค. 39.9 371.6
สรรพากรพ้ืนท่ี 57.6 44.7 8.0 -44.8
สรรพสามิตพ้ืนท่ี ล้านบาท 673.5 179.5 152.2 -2.3 -22.5 27.6 247.3
ธนารักษ์พ้ืนทล่ี าปาง 33.2 32.2 15.0 -46.7
ส่วนราชการอนื่ %yoy -21.6 -2.1 -14.4 -8.3 -30.6 4.1 33.9
รายไดน้ าส่งคลัง 4.3 4.7 43.2 -42.2
รายจ่าย ภาพรวม ล้านบาท 464.2 123.9 95.7 -7.5 6.0 0.8 17.9
8.1 0.8 -13.4 -4.4
3.1 ดลุ เงินงบประมาณ %yoy -21.7 -1.9 -23.2 33.2 -18.4 7.3 72.5
12.0 7.0 -19.6 -45.0
ล้านบาท 58.7 16.4 13.4 -0.1 17.9 41.4 369.6
51.2 49.5 9.8 -43.9
%yoy -2.6 -6.5 -8.4 -9.2 -17.7 2,592.3 18,251.7
2,485.5 2,791.9 -0.5 -41.5
ล้านบาท 18.7 4.2 12.9 16.4 11.8 -2,550.9 -17,882.2
-2,434.3 -2,742.5
%yoy -17.5 28.9 14.2

ลา้ นบาท 131.9 35.0 30.2

%yoy -28.2 -3.2 10.3

ลา้ นบาท 659.1 177.6 150.5

%yoy -22.4 4.2 -18.2

ล้านบาท 31,181.4 7,402.9 8,256.6

%yoy 1.9 5.2 20.6

ลา้ นบาท -30,522.2 -7,225.2 -8,106.0

หมายเหตุ
FYคอื ปงี บประมาณ (ต.ค.2563-ก.ย.2564)
Q1 คือ ยอดสะสมตัง้ แต่เดอื นตลุ าคม ถงึ เดอื นธันวาคม (ต.ค. - ธ.ค. 2563)
Q2 คือ ยอดสะสมต้งั แตเ่ ดือนมกราคม ถงึ เดอื นมนี าคม (ม.ค. - ม.ี ค. 2564)
Q3 คือ ยอดสะสมตั้งแตเ่ ดอื นเมษายน ถึงเดอื นมถิ ุนายน (เม.ย. - ม.ิ ย. 2564)
Q4 คือ ยอดสะสมตั้งแต่เดอื นกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน (ก.ค. - ก.ย. 2564)


Click to View FlipBook Version