The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปาง ฉบับที่ 1/2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpg, 2021-06-02 00:49:05

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปาง ฉบับที่ 1/2564

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดลำปาง ฉบับที่ 1/2564

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดลาปาง

สานกั งานคลังจังหวดั ลาปาง ศาลากลางจงั หวัดลาปาง ต.พระบาท อ.เมอื ง จ.ลาปาง
โทรศพั ท์. 0 5426 5031 โทรสาร. 0 5426 5032 www.cgd.go.th/lpg

ฉบับที่ 1/2564 ณ เดือน มนี าคม 2564

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดลาปางปี 2564

“เศรษฐกจิ จงั หวัดลาปางปี 2564 คาดวา่ จะหดตัวรอ้ ยละ -4.2 ผลจากสถานการณก์ ารระบาดระลอกใหม่
ของไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 ปรับตัวดีขนึ้ จากที่หดตวั ร้อยละ -9.0 ในปีก่อน และลดลงจากที่ประมาณ

การครงั้ ก่อนที่คาดว่าจะหดตวั ร้อยละ -3.8 ”

สำนกั งำนคลังจงั หวดั ลำปำงได้ดำเนินกำรรวบรวมขอ้ มูลสอบถำมและแลกเปล่ียนควำมคิดเหน็ จำกผ้เู ช่ียวชำญ

ด้ำนเศรษฐกิจและผู้ประกอบกำรธุรกิจที่สำคัญของจังหวัดตำมเครือ่ งช้ีเศรษฐกิจจงั หวัดในแต่ละด้ำนและประมวลผล

สรุปดัชนีเศรษฐกจิ จงั หวัดลำปำงปี 2564 คำดว่ำจะหดตัวรอ้ ยละ -4.2 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -4.7 - -3.7 ต่อป)ี

จำกปที ่ีผ่ำนมำปรับลดลงจำกกำรประมำณกำรครัง้ กอ่ นท่ีคำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -3.8 ผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำร

แพร่ระบำดของเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019 ระลอกใหม่ อย่ำงไรกด็ ียังมีกำรใช้จำ่ ยภำครฐั เป็นแรงขับเคล่อื นเศรษฐกจิ หลัก

ตำมนโยบำยและโครงกำรเพิ่มเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจผ่ำนมำตรกำรกำรใช้จ่ำยภำครัฐ และมำตรกำรด้ำน

กำรเงินเพ่ือดูแลและเยยี วยำผูท้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19)

ด้านการผลิต ปี 2564 คำดว่ำจะหดตวั รอ้ ยละ -1.0 (โดยมชี ่วงคำดกำรณ์รอ้ ยละ -1.5 - -0.5 ต่อปี) ปรับตวั ดี
ขน้ึ จำกทปี่ ระมำณกำรครัง้ ก่อนที่คำดว่ำจะหดตวั รอ้ ยละ -4.5 เนือ่ งจำก ภาคอุตสาหกรรม คำดวำ่ จะหดตัวรอ้ ยละ -9.8
(โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -10.3 - -9.3 ต่อปี) จำกเครื่องชี้เศรษฐกิจปริมำณหินอุตสำหกรรม (หินปูน-ก่อสร้ำง)
คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -10.5 ตำมปริมำณกำรผลิตท่ีลดลงเน่ืองจำกคำสั่งซื้อลดลง ปริมำณกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ
คำดว่ำจะหดตวั ร้อยละ -8.0 จำกท่ีหดตัวร้อยละ -8.0 ในปกี ่อน ภาคเกษตรกรรม คำดว่ำจะขยำยตัวรอ้ ยละ 3.1 (โดยมี
ช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ 2.6 - 3.6 ต่อปี) จำกท่ีหดตัวร้อยละ -11.6 ในปีก่อน จำกกำรเพิ่มขึ้นของปริมำณผลผลิตพืช
เศรษฐกิจท่ีสำคัญ ได้แก่ ข้ำวเหนียวนำปี มันสำปะหลงั และข้ำวโพดเล้ียงสัตว์ ผลจำกแรงจูงใจจำกภำครัฐมีนโยบำย
ช่วยเหลือเกษตรอย่ำงต่อเนื่อง ได้แก่ โครงกำรประกันรำยได้เกษตรกร และปริมำณน้ำมีเพียงพอในกำรเพำะปลูก
ภาคบริการ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 2.8 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ 2.3 - 3.3 ต่อปี) จำกกำรเพ่ิมขึ้นของจำนวน
สินเชื่อรวม ในขณะท่ีจำนวนผู้มำเยี่ยมเยือนลดลง เน่ืองจำกสถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด-19 (โควิด-19)
ประกอบกบั จังหวัดลำปำงกำหนดมำตรกำรกำรปอ้ งกันและควบคุมกำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019
(โควดิ - 19)

ด้านการใช้จา่ ย ปี 2564 คำดว่ำจะขยำยตัวรอ้ ยละ 2.0 (โดยมชี ่วงคำดกำรณร์ อ้ ยละ 1.5 - 2.5 ตอ่ ป)ี ปรบั ตัวดี
ขึ้นจำกท่ีประมำณกำรครั้งก่อนท่ีคำดว่ำจะหดตวั ร้อยละ -3.0 เน่ืองจำก การใช้จ่ายภาครัฐ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ
3.6 (โดยมชี ว่ งคำดกำรณร์ ้อยละ 3.1 - 4.1 ตอ่ ป)ี ผลจำกกำรเบกิ จำ่ ยเงนิ งบประจำและงบลงทุนของสว่ นรำชกำรเพ่มิ ขนึ้

-2-

ตำมจำนวนของงบประมำณท่ีได้รบั จัดสรรเพ่มิ ขน้ึ มำตรกำรติดตำมเรง่ รดั กำรใช้จำ่ ยเงนิ ภำครฐั และมำตรกำรกำรคลัง
ด้ำนกำรใช้จ่ำยภำครัฐ ส่งผลให้กำรจัดหำพัสดุมีควำมคล่องตัว รวดเร็ว เม็ดเงินจำกระบบงบประมำณ การบริโภค
ภาคเอกชน คำดวำ่ จะขยำยตัวรอ้ ยละ 1.1 (มชี ่วงคำดกำรณท์ ี่ร้อยละ 0.6 - 1.6 ตอ่ ป)ี จำกกำรเพิม่ ขึ้นของยอดขำยของ
บริษทั ขำยรถและภำษีมูลคำ่ เพม่ิ หมวดขำยสง่ ขำยปลกี การลงทุนภาคเอกชน ขยำยตวั ร้อยละ 0.7 (โดยมชี ว่ งคำดกำรณ์
ร้อยละ 0.2 - 1.2 ต่อปี) จำกสินเช่อื เพอ่ื กำรลงทนุ ท่ีเพ่ิมขนึ้

ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในจังหวัด
รำยได้เกษตรกรในปี 2564 คำดวำ่ จะขยำยตวั รอ้ ยละ 4.6 (โดยมีชว่ งคำดกำรณ์ร้อยละ 4.1 - 5.1 ตอ่ ปี) จำก
ท่ีหดตัวร้อยละ -10.8 เม่ือปีก่อน เป็นผลมำจำกดัชนีปริมำณผลผลิตทำง กำรเกษตรทขี่ ยำยตัว เช่น ข้ำวเหนียวนำปี
มนั สำปะหลงั และขำ้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ เป็นตน้ อตั รำเงนิ เฟอ้ ทวั่ ไปในปี 2564 คำดวำ่ จะอยู่ท่รี อ้ ยละ 0.8 ต่อปี (โดยมชี ่วง
คำดกำรณ์ร้อยละ 0.3 - 1.3 ต่อปี) จำกท่ีขยำยตวั ร้อยละ 0.6 เมื่อปีก่อน ตำมทิศทำงกำรฟืน้ ตัวของเศรษฐกจิ รวมทงั้
เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยหดตวั จำกกำรแพร่ระบำดของไวรัสโคโรนำ 2019 (โควดิ -19) สว่ นกำรจำ้ งงำน คำดว่ำ
จะหดตัวร้อยละ -2.0 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -2.5 - -1.5 ต่อปี) หรือประมำณ 51,932 คน โดยเป็นไปตำมกำร
ชะลอตัวของเศรษฐกิจ และผลกระทบจำกกำรระบำดของไวรัสโคโรนำ 2019 (โควิด-19) ที่มีควำมต้องกำรแรงงำน
ลดลง ท้ังด้ำนภำคอุตสำหกรรมและภำคบรกิ ำร

ปจั จัยสนับสนุนทางเศรษฐกจิ ในปี พ.ศ. 2564 ของจังหวัดลาปาง
1. แนวโน้มกำรฟนื้ ตัวของเศรษฐกิจและปรมิ ำณกำรค้ำโลก
2. แรงขับเคลือ่ นจำกกำรใช้จำ่ ยภำครัฐ
3. โครงกำรต่ำง ๆ ตำมนโยบำยของรัฐบำล
4. กำรกลับมำขยำยตวั ของอปุ สงค์ภำคเอกชน ในประเทศ
5. กำรควบคุม กำรแพร่ระบำดและกำรป้องกันกำรกลับมำระบำดของไวรัสโคโรนำ หรือ โควิด-19
ภำยในประเทศ

ปัจจยั เสี่ยงทางเศรษฐกจิ ในปี พ.ศ. 2564 ของจงั หวดั ลาปาง
1. กำรลงทนุ ในโครงกำรขนำดใหญ่อำจได้รับผลกระทบจำกปัญหำเสถียรภำพทำงกำรเมือง
2. สถำนกำรณก์ ำรชุมชนทำงกำรเมือง ควำมขัดแยง้ ทำงกำรเมือง
3. สถำนกำรณ์ภัยธรรมชำติ เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย และสภำวะอำกำศแปรปรวน ปัญหำฝุ่นละอองขนำดเลก็
(PM2.5) จำกไฟปำ่ และกำรเผำพนื้ ท่ีเตรียมทำกำรเกษตร
4. ภำวะเศรษฐกจิ ชะลอตัว อำจสง่ ผลให้ภำคเอกชนชะลอกำรลงทุน
5. สถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของไวรสั โคโรนำ (โควดิ -19)
6. สถำนกำรณ์ควำมไมส่ งบของประเทศเพอื่ นบำ้ น

-3-

ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั ลาปางปี 2564

(ณ เดือน มนี าคม 2564) 2564f
2563r ( ณ มีนาคม 2564 )

เฉลย่ี ช่วง

สมมตฐิ านภายนอก

1) ปริมำณผลผลิต : ขำ้ วเหนียวนำปี (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 6.2 3.1 2.6 - 3.6

2) ปรมิ ำณผลผลิต : มันสำปะหลัง (รอ้ ยละต่อป)ี -8.9 3.4 2.9 - 3.9

3) ปรมิ ำณผลผลติ : ขำ้ วโพดเล้ียงสตั ว์ (ร้อยละต่อป)ี 9.0 3.2 2.7 - 3.7

4) จำนวนอำชำบตั ร : สกุ ร (ร้อยละต่อป)ี 0.1 2.2 1.7 - 2.7

5) จำนวนอำชำบัตร : ไก่ (รอ้ ยละต่อปี) 2.7 3.3 2.8 - 3.8

6) รำคำรำคำทเี่ กษตรกรขำยไดเ้ ฉลีย่ : ขำ้ วเหนยี วนำปี (บำทตอ่ ตนั ) 13,275 13,667 13,600 - 13,733

7) รำคำรำคำทเี่ กษตรกรขำยได้เฉลีย่ : รำคำมันสำปะหลัง (บำทต่อตนั ) 2.0 2.0 2.0 - 3.0

8) รำคำรำคำท่เี กษตรกรขำยไดเ้ ฉลี่ย : รำคำข้ำวโพดเลี้ยงสตั ว์ (บำทตอ่ ตัน) 7.0 6.9 6.9 - 7.0

9) รำคำรำคำท่เี กษตรกรขำยได้เฉลีย่ : รำคำสกุ ร (บำทต่อกิโลกรมั ) 60.8 62.1 61.8 - 62.4

10) รำคำรำคำท่ีเกษตรกรขำยไดเ้ ฉลย่ี : รำคำไก่ (บำทต่อกโิ ลกรมั ) 43.5 44.1 44.1 - 44.5

11) ปริมำณหนิ อตุ สำหกรรม (หนิ ปูน-กอ่ สรำ้ ง) (ร้อยละต่อป)ี 1.3 -10.5 -11.0 - -10.0

12) ปริมำณกำรใชไ้ ฟฟ้ำภำคอุตสำหกรรม(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 1.2 -9.0 -9.5 - -8.5

13) ปรมิ ำณกำรผลิตกระแสไฟฟำ้ (ร้อยละต่อปี) -0.4 -8.0 -8.5 - -7.5

14) สนิ เชอ่ื รวม (ร้อยละตอ่ ปี) -0.1 2.2 1.7 - 2.7

15) จำนวนผเู้ ย่ียมเยือน (ร้อยละต่อป)ี -3.0 -1.2 -1.7 - -0.7

16) ยอดขำยรถของบรษิ ทั ขำยรถ (รอ้ ยละต่อปี) 0.3 1.0 0.5 – 1.5

17) ภำษีมูลคำ่ เพ่มิ หมวดขำยสง่ ขำยปลกี (ร้อยละต่อปี) -1.3 1.2 0.7 - 1.7

18) สินเชือ่ เพอื่ กำรลงทนุ (ลำ้ นบำท) -0..4 0.8 0..3 - 1.3

19) พ้นื ที่ไดร้ บั อนญุ ำตให้ก่อสรำ้ งรวม (ร้อยละต่อปี) -0.7 0.9 0.4 - 1.4
สมมตฐิ านด้านนโยบาย

20) กำรเบิกจ่ำยเงินงบประจำของสว่ นรำชกำร(ล้ำนบำท) 18,129 18,822 18,731 - 18,913
(ร้อยละต่อป)ี -8.0 3.8 3.3 - 4.3

21 ) กำรเบิกจ่ำยงบลงทุนของสว่ นรำชกำร(ล้ำนบำท) 5,030 5,212 5,187 - 5,237
(รอ้ ยละตอ่ ปี) -8.0 3.6 3.1 - 4.1
ผลการประมาณการ

อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละตอ่ ปี) -9.0 -4.2 -4.7 - -3.7
อัตราการขยายตัวทางดา้ นอปุ ทาน (ร้อยละตอ่ ปี) -3.4 -1.0 -1.5 - - 0.5

1) อตั รำกำรขยำยตัวของภำคเกษตรกรรม (รอ้ ยละต่อปี) -11.6 3.1 2.6 - 3.6

2) อตั รำกำรขยำยตัวของภำคอุตสำหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) 1.2 -9.8 -10.3 - -9.3

3) อัตรำกำรขยำยตัวของภำคบริกำร (ร้อยละต่อป)ี 2.3 2.8 2.3 - 3.3

อัตราการขยายตัวทางดา้ นอปุ สงค์ (ร้อยละตอ่ ป)ี 0.2 2.0 1.5 - 2.5

1) อตั รำกำรขยำยตัวของกำรบริโภคภำคเอกชน(ร้อยละต่อป)ี -0.5 1.1 0.6 – 1.6

2) อัตรำกำรขยำยตวั ของกำรลงทนุ ภำคเอกชน (ร้อยละต่อปี) -0.2 0.7 0.2 - 1.2

3) อตั รำกำรขยำยตัวของกำรใช้จำ่ ยภำครัฐ (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 1.0 3.6 3.1 - 4.1

อตั ราการขยายตัวของรายได้เกษตรกร (รอ้ ยละต่อปี) -10.8 4.6 4.1 - 5.1

อัตราเงินเฟอ้ (รอ้ ยละต่อป)ี 0.6 0.8 0.3 - 1.3

จานวนผมู้ ีงานทา (คน) 55,848 51,932 51,927 - 51.937
เปลยี่ นแปลง (คน) 5.3 -2.0 -2.5 - -1.5

ทมี่ ำ : กลุม่ งำนบริหำรกำรคลงั และเศรษฐกิจ สำนักงำนคลังจงั หวดั ลำปำง

ปรับปรงุ : มนี ำคม 2564

e = Estimate : กำรประมำณกำร f = Forecast : กำรพยำกรณ์ r : Reviced ปรบั ขอ้ มูล

-4-

สมมตฐิ านหลักในการประมาณการเศรษฐกจิ
1. ดา้ นการผลติ ปี 2564 คำดว่ำจะหดตัวรอ้ ยละ -1.0 (โดยมชี ว่ งคำดกำรณ์รอ้ ยละ -1.5 - -0.5 ตอ่ ปี) ปรบั ตวั
ดีขึ้นจำกที่ประมำณกำรไว้ในครั้งก่อนที่คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -4.5 จำก ภาคอุตสาหกรรม คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ
-9.8 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -10.3 - -9.3 ต่อปี) ปรับตัวลดลงจำกที่ประมำณกำรไว้ในครั้งก่อนทค่ี ำดว่ำจะหดตวั
ร้อยละ -6.1 เน่ืองจำกคำส่ังซ้ือภำคอุตสำหกรรมในจังหวัดยังคงมีแนวโน้มลดลงอย่ำงต่อเน่ือง ส่งผลให้ดัชนีผลผลิต
ภำคอตุ สำหกรรมหดตวั ภาคเกษตรกรรม คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 3.1 (โดยมีชว่ งคำดกำรณ์ร้อยละ 2.6 - 3.6 ตอ่ ปี)
ปรับตัวดีข้ึนจำกท่ีประมำณกำรไว้ในคร้งั ก่อนท่ีคำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 0.5 แรงจูงใจจำกภำครฐั มนี โยบำยช่วยเหลือ
เกษตรอย่ำงต่อเนื่องตำมโครงกำรประกนั รำยได้เกษตรกรและปริมำณน้ำในจงั หวัดมีเพียงพอต่อกำรเพำะปลกู ทำให้
ปรมิ ำณขำ้ วเหนยี วนำปี มนั สำปะหลงั และข้ำวโพดเลย้ี งสตั ว์ เพมิ่ สูงข้ึน ภาคบริการ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 2.8 (โดย
มีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ 2.3 - 3.3 ต่อปี) ปรับตัวดีข้ึนจำกท่ีประมำณกำรไว้ในครง้ั ก่อน ท่ีคำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -6.0
จำกจำนวนสนิ เชอ่ื รวมทเี่ พ่ิมข้ึน ในขณะทจี่ ำนวนผู้มำเยีย่ มเยอื นลดลงเนื่องจำกไดร้ บั ผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่
ระบำดของไวรัสโคโรนำ (โควิด-19) ทีแ่ พรก่ ระจำยเชื้ออย่ำงรวดเรว็ โดยมรี ำยละเอียดดังนี้
1.1 ปริมาณหินอตุ สาหกรรม (หินปนู -กอ่ สร้ำง) คำดวำ่ จะหดตวั รอ้ ยละ -10.5 (มีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -11.0
- -7.7 ต่อปี) หดตัวจำกท่ีขยำยตัวร้อยละ 1.3 ในปีก่อน ผลจำกกำรแพร่ระบำดของไวรัสโคโรนำ 2019 (โควิด-19)
ส่งผลให้คำสัง่ ซ้อื ลดลงและถกู ยกเลกิ คำสัง่ ซ้ือ เนือ่ งจำกควำมตอ้ งกำรใชห้ ินอุตสำหกรรมลดลงจำกภำคกำรกอ่ สร้ำงทั้ง
ภำครัฐและเอกชน

ปริมาณหินอตุ สาหกรรม (หนิ ปูน - กอ่ สร้าง) : ร้อยละต่อปี

9.1 1.3 2560
10.0 1.7 2561
2562
- 2560 2561 2562 -2.1 2563r 2564f 2563r
-10.0 -10.5 2564f
-20.0

ทีม่ ำ : สำนกั งำนอตุ สำหกรรมจังหวดั ลำปำง

1.2 ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรม คำดวำ่ จะหดตวั ร้อยละ -9.0 (มชี ว่ งคำดกำรณร์ อ้ ยละ -9.5 - -8.5
ต่อปี) จำกท่ขี ยำยตวั รอ้ ยละ 1.2 ในปกี ่อน เปน็ ผลจำกเศรษฐกจิ โลกและไทยชะลอตวั ทำให้มคี ำสั่งซ้ือสนิ คำ้ ลดลง อกี ท้งั
กำรแพรร่ ะบำดของไวรัสโคโรนำ (โควิด-19) บำงโรงงำนที่ไดร้ ับอนุญำตมีกำรลดกำลงั กำรผลิต ส่งผลใหม้ กี ำรใช้ไฟฟ้ำ
ภำคอุตสำหกรรมลดลงตำมไปด้วย

-5-

ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรม : รอ้ ยละตอ่ ปี 2560
2561
10.0 2562
2563r
3.5 2564f
1.2

- -0.1 -0.4
2560 2561 2562 2563r 2564f

-10.0 -9.0

ทมี่ ำ : กำรไฟฟำ้ ส่วนภมู ิภำคจังหวัดลำปำง

1.3 ปริมาณการผลิตกระแสไฟฟ้า คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -8.0 (มีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -8.5 - -7.5 ต่อปี)
จำกทีห่ ดตัวรอ้ ยละ -8.0 ในปีกอ่ น เนอื่ งจำกกำรลดตำมกำลังกำรผลิตของหมวดอุตสำหกรรม รวมถงึ ภำคอตุ สำหกรรม
มกี ำรกำรใชพ้ ลงั งำนทดแทนมำกขน้ึ

ปรมิ าณการผลติ กระแสไฟฟ้า : ร้อยละต่อปี 2560
2561
- 2560 25-67.13 2562-4.4 2563r-0.4 25-684.0f 2562
2563r
-20.0 2564f
-27.2

-40.0

ทมี่ ำ : กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลติ แหง่ ประเทศไทย (เหมอื งแมม่ ำะ)

-6-

1.4 ปรมิ าณข้าวเหนียวนาปี คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 3.1 (มีช่วงคำดกำรณ์ทรี่ ้อยละ 2.6 - 3.6 ตอ่ ป)ี ชะลอ
ตวั จำกท่ีขยำยตวั รอ้ ยละ 6.2 ในปกี อ่ น เนอื่ งจำกมีกำรเพำะปลูกเพม่ิ ขึ้นจำกแรงจงู ใจภำครฐั มนี โยบำยช่วยเหลือเกษตร
อย่ำงตอ่ เนื่อง ไดแ้ ก่ โครงกำรประกนั รำยไดเ้ กษตรกรผู้ปลูกขำ้ ว ประกอบกับปริมำณนำ้ มีเพยี งพอสำหรับกำรเพำะปลกู

ข้าวเหนยี วนาปี : ร้อยละต่อปี

20.0 17.9 2560
2561
10.0 0.1 6.2 3.1 2562
- 2563r
2564f
2560 2561 2562 2563r 2564f

-10.0 -7.5

ท่ีมำ : สำนกั งำนเกษตรจงั หวัดลำปำง

1.5 ปริมาณมันสาปะหลัง คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 3.4 (มีช่วงคำดกำรณ์ท่ีร้อยละ 2.9 - 3.9 ต่อปี) จำกท่ี
หดตัวร้อยละ -8.9 ในปีก่อน เนื่องจำกแรงจูงใจทำงด้ำนรำคำท่เี พม่ิ ขึ้นและภำครฐั มีโครงกำรประกันรำยได้เกษตรกร
เชน่ โครงกำรประกนั รำยได้เกษตรผู้ปลกู มนั สำปะหลงั สง่ ผลให้เกษตรกรเพำะปลูกมำกข้นึ

มันสาปะหลัง : รอ้ ยละต่อปี

10.0 2.7 3.4 2560
2561
- 2562
2563r
-10.0 2560 2561 2562 2563r 2564f 2564f
-8.1 -8.9

-20.0

-30.0
-40.0 -34.3

ที่มำ : สำนกั งำนเกษตรจงั หวัดลำปำง

-7-

1.6 ปรมิ าณข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ คำดวำ่ จะขยำยร้อยละ 3.2 (มีชว่ งคำดกำรณท์ ่ีร้อยละ 2.7 - 3.7 ตอ่ ป)ี จำกท่ี
ขยำยตัวร้อยละ 9.0 ในปีก่อน เนอื่ งจำกควำมต้องกำรผลผลิตมเี พ่มิ ข้ึน รำคำสงู เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรเพำะปลูกมำก
ข้ึน ประกอบกบั ภำครฐั มนี โยบำยชว่ ยเหลือเกษตร ได้แก่ โครงกำรประกันรำยได้เกษตรกรผูป้ ลูกขำ้ วโพดเล้ียงสัตว์

ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ : รอ้ ยละต่อปี

38.9 13.1 9.0 3.2 2560
40.0 2561
2562 2563r 2564f 2562
20.0 2563r
2564f
-

-20.0 25-1610.2 2561

ทมี่ ำ : สำนกั งำนเกษตรจังหวัดลำปำง

1.7 จานวนสินเชอ่ื รวม คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 2.2 (มีชว่ งคำดกำรณร์ ้อยละ 1.7 - 2.7 ตอ่ ป)ี จำกที่หดตัว
รอ้ ยละ -0.1 ในปีก่อน เนือ่ งจำกผปู้ ระกอบกำรมคี วำมจำเป็นเพ่ือใชเ้ ปน็ เงินทุนหมนุ เวยี นในช่วงสภำวะเศรษฐกิจหดตัว
อนั เน่ืองมำจำกได้รับผลกระทบจำกกำรแพร่ระบำดของไวรัสโคโรนำ (โควิด-19)เพอื่ ใหก้ ิจกำรอยูไ่ ด้

สนิ เชื่อรวม : รอ้ ยละต่อปี

15.0 13.5 2560
2561
10.0 2.2 2562
4.0 -0.1 2563r
2562 2563r 2564f 2564f
5.0

- 2560 -0.1 2561
-5.0

ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย

-8-

1.8 จานวนผู้มาเยี่ยมเยือน คำดว่ำจะหดตัวรอ้ ยละ -1.2 (มีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -1.7 - -0.7 ต่อปี) จำกที่
หดตัวร้อยละ -3.0 ในปีก่อน เน่ืองจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด-19 (โควิด-19) ประกอบกับจังหวัด
ลำปำงกำหนดมำตรกำรกำรป้องกันและควบคมุ กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนำ 2019(โควิด - 19) ส่งผลทำ
ให้นักท่องเที่ยวเกิดควำมกังวลในกำรเดินทำงและกำรรับบริกำร กำรเดินทำงเข้ำจังหวัดลำปำง ทำให้จำนวน
นักทอ่ งเทยี่ วลดลง

จานวนผู้มาเย่ยี มเยือน : รอ้ ยละต่อปี 2560
2561
19.7 2562
20.0 2563r
2564f
4.9 1.6
- 2560 2561 2562 25-633.0r 25-614.2f

-20.0

ท่ีมำ : สำนักงำนกำรท่องเทยี่ วจงั หวัดลำปำง

2. ด้านการใชจ้ ่าย ปี 2564 คำดว่ำจะขยำยตัวรอ้ ยละ 2.0 (โดยมชี ่วงคำดกำรณ์รอ้ ยละ 1.5 - 2.5 ตอ่ ป)ี
ปรับตัวดีข้ึนจำกที่ประมำณกำรในครง้ั ก่อนที่คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -3.0 โดย การใช้จ่ายภาครัฐ คำดว่ำจะขยำยตัว
ร้อยละ 3.6 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ 3.1 - 4.1 ต่อปี) ผลจำกกำรเบิกจ่ำยเงินงบประจำและงบลงทุนของส่วน
รำชกำรเพ่ิมขึ้นตำมจำนวนของงบประมำณทไี่ ด้รับจัดสรรเพิ่มข้ึน มำตรกำรติดตำมเร่งรัดกำรใช้จำ่ ยเงินภำครัฐ และ
มำตรกำรกำรคลงั ดำ้ นกำรใชจ้ ำ่ ยภำครัฐ ส่งผลให้กำรจดั หำพัสดุมีควำมคลอ่ งตวั รวดเร็ว เมด็ เงินจำกระบบงบประมำณ
การบริโภคภาคเอกชน คำดวำ่ จะขยำยตวั รอ้ ยละ 1.1 (มีช่วงคำดกำรณ์ที่รอ้ ยละ 0.6 - 1.6 ตอ่ ป)ี จำกกำรเพม่ิ ข้นึ ของ
ยอดขำยของบรษิ ทั ขำยรถและภำษีมลู คำ่ เพ่มิ หมวดขำยส่งขำยปลกี การลงทุนภาคเอกชน ขยำยตวั ร้อยละ 0.7 (โดยมี
ช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ 0.2 - 1.2 ตอ่ ป)ี จำกสินเช่ือเพอ่ื กำรลงทนุ ทเ่ี พมิ่ ข้ึน โดยมีรำยละเอยี ดดังน้ี

2.1 การเบิกจ่ายเงนิ งบประจาของส่วนราชการ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 3.8 (ช่วงคำดกำรณท์ ร่ี ้อยละ
3.3 - 4.3 ต่อปี) จำกท่ีหดตัวร้อยละ -8.0 ในปีก่อน และการเบิกจ่ายงบลงทุนของส่วนราชการ คำดว่ำจะขยำยตัว
ร้อยละ 3.6 (ช่วงคำดกำรณ์ท่รี อ้ ยละ 3.1 - 3.6 ต่อปี) จำกท่ีหดตัวร้อยละ -8.0 ในปีก่อน จำกงบประมำณทีไ่ ด้รับกำร
จัดสรรเพิ่มข้ึน นโยบำยของรัฐบำลที่มโี ครงกำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งควำมเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐำนรำกภำยใต้กลมุ่
แผนงำน/โครงกำรฟ้ืนฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชนบนพื้นฐำนของโอกำสและศักยภำพของท้องถ่ิน และมำตรกำร
ติดตำมเร่งรัดกำรใช้จ่ำยเงินงบประมำณในกำรก่อหน้ีผูกพันและกำรเบิกจ่ำยเงินให้เป็น ไปตำมเป้ำหมำยที่กำหนด
ตลอดจนมำตรกำรกำรคลังด้ำนกำรใช้จ่ำยภำครัฐ ในกำรยกเว้นกำรปฏิบัติตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำร
จัดซอ้ื จดั จ้ำงและกำรบรหิ ำรพสั ดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 สำหรบั กำรจัดหำพสั ดใุ นปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 ในเรือ่ งกำรนำ
ร่ำงประกำศและร่ำงเอกสำรซอื้ หรอื จำ้ งด้วยวิธีประกวดรำคำอิเลก็ ทรอนิกส์ และกำรเผยแพร่ประกำศและเอกสำรซื้อ

-9-

หรือจ้ำงโดยวิธีประกำศเชิญชวนท่วั ไป ส่งผลให้กำรจัดหำพัสดุมคี วำมคลอ่ งตัว รวดเร็ว เม็ดเงินจำกระบบงบประมำณ
รำยจำ่ ยและกำรใชจ้ ่ำยภำครัฐอืน่ ๆ ลงสู่ระบบเศรษฐกจิ ได้อยำ่ งรวดเรว็

การเบิกจา่ ยเงนิ งบประจาของสว่ นราชการ 2560
2561
188.6 2562
200.0 2563r
2564f
100.0 5.1 3.8

- -0.2 -8.0
-100.0 2560 2561 2562 2563r 2564f

การเบิกจ่ายงบลงทุนของส่วนราชการ 2560
2561
20.0 15.0 2562
3.6 2563r
2564f
-

2560 2561 2562 25-683.0r 2564f
-8.4
-20.0 -15.0

ทม่ี ำ : สำนักงำนคลังจังหวัดลำปำง

2.2 ยอดขายของบรษิ ัทขายรถ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 1.0 (มีช่วงคำดกำรณร์ อ้ ยละ 0.5 - 1.5 ตอ่
ป)ี จำกที่ขยำยตัวรอ้ ยละ 0.3 เมอื่ ปกี อ่ น เนื่องจำกผูป้ ระกอบกำรมกี ลยทุ ธ์ทกี่ ระตนุ้ ยอดขำยรวมถงึ กำรมโี ปรโมชั่นที่จูง
ใจอย่ำงต่อเน่ือง

ยอดขายของบริษัทขายรถ : รอ้ ยละตอ่ ปี

5.0 4.4 2560
2561
0.3 0.5 1.0 1.5 2562
- 2563r
2564f
2560 2561 2562 2563r 2564f

ท่มี ำ : สำนกั งำนสรรพำกรพนื้ ที่ลำปำง

- 10 -

2.3 ภาษีมลู ค่าเพ่มิ หมวดขายส่งขายปลีก คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 1.2 (มีช่วงคำดกำรณร์ อ้ ยละ 0.5 -
1.7 ต่อป)ี จำกท่หี ดตัวร้อยละ -1.3 เมอ่ื ปีกอ่ น เนอื่ งจำกสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของไวรัสโคโรนำ 2019 (โควิด-19)
ภำครฐั ไดม้ มี ำตรกำรและโครงกำรต่ำง ๆ ไดแ้ ก่ โครงกำรคนละครึ่ง โครงกำรเพ่มิ กำลงั ซื้อให้ผ้ถู ือบัตรสวัสดกิ ำรแห่งรัฐ
โครงกำรเรำเทีย่ วด้วยกัน โครงกำรเรำชนะ และโครงกำร ม.33เรำรักกัน เพื่อช่วยเหลือประชำชนและผู้ประกอบกำร
ให้มีสภำพคลอ่ งและมีเงนิ หมนุ เวยี นในกำรประกอบธุรกจิ และประชำชนมีเงินใช้จำ่ ยในกำรดำรงชพี

ภาษมี ลู คา่ เพิ่มท่หี มวดขายส่งขายปลีก : ร้อยละตอ่ ปี 2560
2561
5.0 2.7 2.8 1.2 2562
2563r
0.6 2564f

- 2560 2561 2562 2563r-1.3 2564f

-5.0

ทม่ี ำ : สำนักงำนกำรสรรพำกรพื้นทล่ี ำปำง

2.4 สินเชื่อเพ่ือการลงทุน คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 0.8 (มีช่วงคำดกำรณ์ ร้อยละ 0.3 -1.3 ต่อปี) จำกที่
หดตัวรอ้ ยละ -0.4 เมอื่ ปีกอ่ น เนือ่ งจำกสถำบนั กำรเงนิ ได้เพิ่มกำรพจิ ำรณำมำตรกำรชว่ ยเหลือภำคธุรกจิ ขนำดกลำงและ
ขนำดยอ่ มเพ่ิมเตมิ รวมถึงประชำชนมคี วำมต้องกำรสินเชอื่ เพ่ือหมนุ เวียนในธุรกิจ

สินเช่อื เพื่อการลงทุน : ลา้ นบาท

4.0 2.3 0.8 2560
2.0 2561
2562
2563r
2564f

- 2560 25-611.2 25-602.3 -0.4
-2.0 2563r 2564f

ที่มำ : ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย

- 11 -

ในปงี บประมำณพ.ศ. 2564 เปำ้ หมำยกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณภำพรวมไว้ทร่ี ้อยละ 77 ของวงเงินงบประมำณ
ในภำพรวม และเป้ำหมำยกำรเบิกจ่ำยงบลงทุนไว้ทร่ี อ้ ยละ 65 ของวงเงนิ งบประมำณงบลงทุน

เป้าหมายการเบิกจา่ ย ภาพรวม (ร้อยละ) งบประจา (ร้อยละ) งบลงทนุ (ร้อยละ)

ไตรมำสท่ี 1 ปงี บประมำณ พ.ศ.2564 32 36 20

ไตรมำสท่ี 2 ปีงบประมำณ พ.ศ.2564 54 57 45

ไตรมำสที่ 3 ปีงบประมำณ พ.ศ.2564 77 80 65

ไตรมำสที่ 4 ปงี บประมำณ พ.ศ.2564 98.29 96.42 84.06

สำหรบั ไตรมำสท่ี 2 ปีงบประมำณ พ.ศ.2564 รำยจำ่ ยรัฐบำล สำมำรถเบิกจ่ำยงบประมำณภำพ รวมร้อยละใช้
จ่ำยได้ท้ังสิน้ 5,066.1 ลำ้ นบำท หรอื รอ้ ยละ 73.1 โดยรำยจ่ำยประจำเบกิ จำ่ ยไดท้ ี่ 1,906.3 ลำ้ นบำท หรอื รอ้ ยละ 76.0
และรำยจ่ำยลงทุนเบกิ จ่ำยที่ 3,159.8 หรือรอ้ ยละ 71.5

ตารางผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564

หน่วย : ล้ำนบำท

เปา้ หมาย

ผลการเบกิ จ่าย เป้าหมายการ การ

รายการ งบประมาณ สะสมตง้ั แต่ต้นปี รอ้ ยละ เบิกจ่าย เบิกจา่ ย
ท่ไี ด้รับ งบประมาณจนถงึ การเบกิ จ่าย ปงี บประมาณ ไตรมาสที่
จดั สรร พ.ศ. 2564 2/2564
เดอื น (รอ้ ยละ)
มีนาคม 2564 (รอ้ ยละ)

1. งบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รำยจ่ำยประจำ 2,506.8 1,906.3 76.0 100 45

รำยจำ่ ยลงทุน 4,422.3 3,159.8 71.5 100 57

รายจ่ายภาพรวม 6,929.1 5,066.1 73.1 100 54

2. งบประมาณเหล่อื มปี 1,505.7 1,327.6 88.2 89

ทมี่ ำ : รำยงำน MIS จำกระบบบริหำรกำรเงินกำรคลงั ภำครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

- 12 -

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564
เทียบกบั เป้าหมายการใช้จา่ ยสะสมตั้งแตต่ ้นปงี บประมาณจนถึงเดอื น มนี าคม 2564

100.0 100.0
90.0
80.0 89.0
70.0 73.1 77.0 81.0
60.0
50.0 67.0
40.0
30.0 54.0 59.0
20.0
10.0 37.308.8 45.0
-
24.3 29.0
32.0

17.0 21.2
5.8 10.6

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 มี.ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 ม.ิ ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการใชจ้ า่ ย เป้าหมาย

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทนุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564
เทยี บกับเป้าหมายการใช้จา่ ยสะสมตง้ั แตต่ ้นปีงบประมาณจนถึงเดอื น มนี าคม 2564

100.0 100.0
90.0

80.0 80.0
70.0 71.5 74.0
65.0
60.0 58.0

50.0
40.0 45.0 45.0
35.0
30.0 29.0

20.0 20.0 21.1

10.0 0.7 6.0 2.7 12.0 8.8 11.8
0.0

ต.ค.63 พ.ย.63 ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 ม.ี ค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 ม.ิ ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

ผลการใชจ้ ่าย เปา้ หมาย

- 13 -

3. ดา้ นรายไดเ้ กษตรกรในปี 2564 คำดว่ำจะขยำยตวั รอ้ ยละ 4.6 (โดยมีชว่ งคำดกำรณ์รอ้ ยละ 4.1 - 5.1 ตอ่ ป)ี
จำกทหี่ ดตัวรอ้ ยละ -10.8 เมื่อปกี อ่ น เป็นผลมำจำกดัชนีปริมำณผลผลติ ทำงกำรเกษตรทีข่ ยำยตัว เชน่ ข้ำวเหนียวนำปี
มันสำปะหลงั และข้ำวโพดเลี้ยงสตั ว์ เปน็ ต้น

รายไดเ้ กษตรกร : ร้อยละตอ่ ปี 2560
2561
50.0 41.2 2562
4.6 2563r
2564f
- 2560 2561 2562 2563r-10.8 2564f
-50.0 -27.1 -36.1

ทมี่ ำ : สำนักงำนเกษตรจงั หวดั ลำปำง

อัตรำเงินเฟ้อท่ัวไปในปี 2564 คำดว่ำจะอยู่ท่ีร้อยละ 0.8 ต่อปี (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ 0.3 - 1.3
ตอ่ ปี) จำกที่ขยำยตวั รอ้ ยละ 0.6 เมือ่ ปกี ่อน ตำมทิศทำงกำรฟน้ื ตวั ของเศรษฐกจิ รวมท้ังเศรษฐกจิ โลกและเศรษฐกิจไทย
หดตัว จำกกำรแพร่ระบำดของไวรัสโคโรนำ 2019 (โควิด-19)

อตั ราเงนิ เฟอ้ : ร้อยละต่อปี

1.0 0.8 2560
0.6 2561
2562
0.5 0.2 0.2 0.1 2563r
2564f
-
2560 2561 2562 2563r 2564f

ทีม่ ำ : สำนกั งำนพำณชิ ยจ์ ังหวัดลำปำง

- 14 -

ส่วนกำรจ้ำงงำน คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ -2.0 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ร้อยละ -2.5 - -1.5 ต่อปี) หรือประมำณ
51,932 คน โดยเป็นไปตำมกำรชะลอตัวของเศรษฐกจิ และผลกระทบจำกกำรระบำดของไวรัสโคโรนำ 2019 (โควิด-
19) ทมี่ ีควำมต้องกำรแรงงำนลดลง ทั้งด้ำนภำคอุตสำหกรรมและภำคบรกิ ำร

การจ้างงาน : ร้อยละตอ่ ปี

10.0 6.5 5.3 2560
2561
- 2561 2562 2563r 2564f -2.0 2562
2560 -8.1 2563r
2564f
-10.0 -15.1

-20.0

ที่มำ : สำนกั งำนสถติ จิ ังหวดั ลำปำง

- 15 -

ตารางสรปุ ภาพรวมเศรษฐกจิ และแนวโนม้ ของจงั หวัดลาปาง
Lampang Province Macroeconomic Summary

เครอ่ื งช้ี หนว่ ย 2563r 2564F
Min Consensus Max
Ecomomic Growth Million Baht
GPP current market price %yoy 64,321 68,562 63,157 69,264

- 8.3 - 2.3 - 1.8 - 1.3

GPP constant prices Million Baht 37,786 39,925 40,135 40,345
%yoy
- 9.0 - 4.7 - 4.2 - 3.7

population person 723,400 722,400 723,400 724,400
%yoy 0.1
- 0.4 - 0.9 - 0.4

GPP per capita Baht /person/year 88,914 94,908 87,305 95,615
%yoy - 8.0 - 10.2 - 9.7 - 9.2

Agriculture Production Index: API %yoy - 11.6 2.6 3.1 3.6
Industrial Production Index: IPI %yoy 1.2 - 10.3 - 9.8 - 9.3
Service Index: SI %yoy
- 1.8 2.3 2.8 3.3

Private Consumption Index : CP %yoy - 0.5 0.6 1.1 1.6
- 0.2 0.2 0.7 1.2
Private Investment Index : IP %yoy
1.0 3.1 3.6 4.1
Government Expenditure Index : G %yoy

Farm income %yoy - 10.8 4.1 4.6 5.1
Economic Stabilities - 0.2 0.2 0.7 1.2
Inflation rate % p.a.
GPP Deflator %yoy 1.0 3.1 3.6 4.1
0.1 1.9 2.4 2.9

Employment person 55,848 51,927 51,932 51,937
%yoy 5.3 - 2.5 - 2.0 - 1.5
yoy
2,831 - 3,917 - 3,916 - 3,916

ทม่ี ำ : กลุ่มงำนบรหิ ำรกำรคลงั และเศรษฐกิจ สำนักงำนคลงั จังหวดั ลำปำง
ปรับปรุงลำ่ สุด : มนี ำคม 2564

-----------------------------------------------------
e = Estimate : กำรประมำณกำร f = Forecast : กำรพยำกรณ์ r : Reviced ปรบั ข้อมูล

- 16 -

นยิ ามตัวแปรและวธิ กี ารคานวณในแบบจาลองเศรษฐกิจจังหวดั

ช่อื ขอ้ มลู /สญั ลกั ษณ์ ความหมาย ที่มา/การคานวน
%yoy
อตั รำกำรเปล่ยี นแปลงเทียบกับชว่ งเดยี วกัน (ขอ้ มูลปปี จั จุบัน - ขอ้ มูลปีก่อน)/ข้อมลู ปกี ่อน
Min
Consensus ของ ปีก่อน

สถำนกำรณท์ ี่คำดวำ่ จะเลวร้ำยทีส่ ุด ได้จำกช่วงข้อมูลในกำรตอบแบบสอบถำม

สถำนกำรณท์ ่ีคำดวำ่ จะจะเป็นไดม้ ำกทีส่ ดุ ได้จำกช่วงข้อมลู ในกำรตอบแบบสอบถำม

Max สถำนกำรณท์ ี่คำดว่ำจะดที ีส่ ดุ ได้จำกชว่ งข้อมลู ในกำรตอบแบบสอบถำม
GPP current prices ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ รำคำปีฐำน ข้อมูลจรงิ ถึงปี 2558 ส่วนปี 2559 เปน็ กำรประมำณกำรของแบบจ้ำลอง
GPP constant prices 2548 เศรษฐกจิ
ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ รำคำปีปัจจบุ ัน ข้อมูลจริงถึงปี 2558 สว่ นปี 2559 เป็นกำรประมำณกำรของแบบจำ้ ลอง
Population จำ้ นวนประชำกรของจงั หวดั เศรษฐกจิ
GPP per capita รำยไดต้ ่อหัวประชำกร ประกำศโดยสำนักงำนสถติ แิ หง่ ชำติ
ดชั นีผลผลติ ภำคเกษตรกรรมจังหวัด ได้จำกกำรน้ำผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ รำคำปปี ัจจบุ นั หำรดว้ ยจ้ำนวน
API (Agriculture Production Index) ประชำกรของจังหวัด
สรำ้ งขึ้นจำกข้อมูลผลผลิตกำรเกษตรหลกั ของจังหวดั ได้แก่ ข้ำวเหนียวนำปี
API (P) ดชั นผี ลผลิตภำคเกษตรกรรมจังหวดั ข้ำวเหนยี วนำปรงั มันสำปะหลัง ขำ้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ สบั ปะรด กระเทียม ถว่ั
(Agriculture Production Price Index) (ถั่วเหลอื งและถว่ั ลิสง) กระบือ โค สุกร ไก่ค้ำนวนนำ้ หนกั ตำมมลู คำ่ ผลผลติ
IPI จำก ฐำนข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวดั แบบ Bottom up ณ รำคำ
ดชั นีผลผลิตภำคอุตสำหกรรมจงั หวัด ประจำปี
IS สรำ้ งขึ้นจำกข้อมลู รำคำผลผลิตกำรเกษตรหลกั ของจังหวัด ได้แก่ ขำ้ วเหนียว
ดชั นีปรมิ ำณผลผลิตภำคบรกิ ำรจงั หวัด นำปแี ละขำ้ วเหนยี วนำปรัง มันสำปะหลัง ข้ำวโพดเลยี้ งสตั ว์ สบั ปะรด
CP กระเทียม ถัว่ (ถว่ั เหลอื งและถั่วลิสง) กระบือ โค สุกร ไก่ คำ้ นวนนำ้ หนกั ตำม
ดัชนกี ำรบริโภคภำคเอกชนจังหวัด มูลค่ำผลผลิตจำก ฐำนขอ้ มูลผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด แบบ Bottom up ณ
IPI รำคำประจำปี
ดัชนกี ำรลงทนุ ภำคเอกชนจังหวดั สรำ้ งขนึ้ จำกขอ้ มูลสะทอ้ นปรมิ ำณผลผลิตของภำคอุตสำหกรรมในจังหวดั
ได้แก่ ปริมำณลิกไนต์ ปรมิ ำณหินอุตสำหกรรม (หนิ ปูน – ก่อสรำ้ ง)ปริมำณ
ดินขำว ปรมิ ำณกำรใชไ้ ฟฟ้ำภำคอตุ สำหกรรม ภำษมี ลู คำ่ เพม่ิ หมวด
อุตสำหกรรม ปริมำณกำรผลติ กระแสไฟฟำ้ คำนวนนำ้ หนกั จำกกำรหำ
ควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำงขอ้ มูล ดังกล่ำวกับมูลค่ำผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั แบบ
Top down สำขำอุตสำหกรรม
สรำ้ งขึ้นจำกข้อมูลสะทอ้ นปรมิ ำณผลผลติ ของภำคบรกิ ำรในจังหวดั ไดแ้ ก่
จำนวนผูโ้ ดยสำรผำ่ นสนำมบนิ ปริมำณกำรใช้ไฟฟำ้ ภำคบรกิ ำรภำษมี ลู คำ่ เพ่มิ
หมวดโรงแรมและภตั ตำคำร รำยไดจ้ ำกสนำมบินจำนวนนักท่องเที่ยวท่ีเขำ้ มำ
ในจงั หวัด ยอดขำยสินค้ำของห้ำงสรรพสินค้ำในจงั หวัด สินเชอื่ รวมพ้นื ทใ่ี ห้
อนุญำตก่อสร้ำง คำนวนน้ำหนักจำกสัดสว่ นมลู ค่ำเพิม่ ของ GPP
สรำ้ งขึ้นจำกขอ้ มลู สะท้อนกำรบรโิ ภคของภำคครวั เรอื นในจังหวัด ได้แก่
ยอดขำยของบรษิ ัทขำยรถ ภำษมี ลู ค่ำเพม่ิ หมวดขำยส่งขำยปลีกจำนวน
รถจกั รยำนยนต์ ปริมำณกำรใชไ้ ฟฟำ้ ของครวั เรอื นท่ีอยู่อำศยั จดทะเบียน
ใหม่ รำยได้กำรจำหน่ำยน้ำประปำ ปริมำณจำหนำ่ ยสุรำ ปริมำณจำหนำ่ ย
เบียร์ คำนวนน้ำหนกั ตำมสดั ส่วนของมลู ค่ำท่ีเปน็ ตวั เงนิ เฉล่ยี 10 ปขี องข้อมลู
แต่ละรำยกำร
สรำ้ งขน้ึ จำกขอ้ มลู สะทอ้ นกำรลงทุนของภำคครัวเรอื นในจังหวัด ไดแ้ ก่
จำนวนรถยนต์พำณชิ ยท์ ี่จดทะเบียนใหม่ จำนวนรถยนต์บรรทกุ ทจี่ ดทะเบยี น
ใหม่ พ้นื ทไี่ ด้รบั อนญุ ำตใหก้ ่อสรำ้ งรวม สินเช่อื เพ่ือกำรลงทุนยอดขำยวัสดุ
และอปุ กรณก์ ำรกอ่ สรำ้ งคำนวนนำ้ หนักตำมสดั ส่วนของมลู ค่ำทเี่ ปน็ ตวั เงิน
เฉล่ยี 10 ปขี องข้อมูลแตล่ ะรำยกำร

ชื่อข้อมูล/สญั ลกั ษณ์ ความหมาย - 17 -

G ดัชนกี ำรใช้จ่ำยภำครัฐจังหวัด ท่ีมา/การคานวน
สรำ้ งขึน้ จำกข้อมลู ผลกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณของจงั หวัดประกอบดว้ ยกำร
Farm Income ดชั นีรำยไดเ้ กษตรกรจังหวัด เบกิ จ่ำยงบประจำและงบลงทุน คำนวนนำ้ หนัก ตำมสัดสว่ นของมลู ค่ำท่เี ปน็
Inflation อตั รำเงนิ เฟอ้ จังหวดั ตัวเงนิ เฉลีย่ 10 ปี
คำนวนจำกดัชนผี ลผลิตภำคเกษตรกรรมจังหวัด คูณกบั ดชั นรี ำคำผลผลติ
ภำคเกษตรกรรมจังหวัด
คำนวนจำกกำรหำอัตรำกำรเปลย่ี นแปลงของดัชนีรำคำผบู้ ริโภคของจังหวดั

คานยิ ามตวั แปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกิจจังหวัดลาปาง

GPP constant price ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ณ รำคำปฐี ำน

GPP current prices ผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ รำคำปีปจั จบุ ัน

GPPS ดชั นผี ลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ รำคำปีฐำน ด้ำนอุปทำน

GPPD ดัชนผี ลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ รำคำปีฐำน ดำ้ นอุปสงค์

API ดชั นปี ริมำณผลผลิตภำคเกษตร

IPI ดชั นีปริมำณผลผลติ ภำคอตุ สำหกรรม

SI ดชั นปี รมิ ำณผลผลิตภำคบรกิ ำร

Cp Index ดัชนกี ำรบรโิ ภคภำคเอกชน

Ip Index ดัชนีกำรลงทุนภำคเอกชน

G Index ดัชนีกำรใช้จ่ำยภำครฐั บำล

GPP Deflator ระดบั รำคำเฉลี่ยของผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ลำปำง

CPI ดัชนีรำคำผ้บู รโิ ภคจังหวดั ลำปำง

PPI ดชั นีรำคำผู้ผลิตระดบั ประเทศ

Inflation rate อัตรำเงินเฟ้อจงั หวดั ลำปำง

Farm Income Index ดัชนีรำยไดเ้ กษตรกร

Population จำนวนประชำกรของจงั หวดั ลำปำง

Employment จำนวนผ้มู งี ำนทำของจังหวัดลำปำง

%yoy อตั รำกำรเปลยี่ นแปลงเทยี บกบั ช่วงเดยี วกนั ของปกี ่อน

Base year ปฐี ำน (2548 = 100)

Min สถำนกำรณ์ท่ีคำดว่ำจะเลวรำ้ ยท่ีสดุ

Consensus สถำนกำรณ์ที่คำดวำ่ จะจะเป็นได้มำกทส่ี ุด

Max สถำนกำรณ์ที่คำดวำ่ จะดที ่ีสุด

- 18 -

การคานวณดัชนี

ดชั นีช้วี ัดเศรษฐกจิ ด้านอุปทาน (Supply Side หรอื Production Side: GPPS)

ประกอบดว้ ย 3 ดัชนีไดแ้ ก่

(1) ดัชนีผลผลติ ภำคบรกิ ำรจังหวดั ลำปำง โดยให้น้ำหนกั 0.510
(2) ดัชนผี ลผลิตภำคอตุ สำหกรรมจังหวัดลำปำง โดยให้นำ้ หนกั 0.375
(3) ดชั นีผลผลิตภำคเกษตรกรรมจงั หวัดลำปำง โดยให้น้ำหนัก 0.115

กำรกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหำสัดส่วนจำกมูลค่ำเพ่ิมรำคำปีปัจจุบัน ของเคร่ือง
ชี้เศรษฐกิจภำคเกษตรกรรม (สำขำเกษตร + สำขำประมง) เคร่ืองชี้เศรษฐกิจภำคอุตสำหกรรม (สำขำเหมืองแร่
สำขำอุตสำหกรรม และสำขำไฟฟ้ำ) และเคร่ืองชี้เศรษฐกิจภำคบริกำร (11 สำขำ ต้ังแต่สำขำก่อสร้ำง ถึง
สำขำลกู จำ้ งในครวั เรอื น) จำกขอ้ มลู GPP ของ สศช. เทยี บกับ GPP รวมรำคำปีปจั จบุ ันของ สศช.

จัดทำข้นึ เพือ่ ใช้ติดตำมภำวกำรณ์ผลิตภำคเกษตรกรรม ภำคอุตสำหกรรม และภำคบริกำรของจงั หวดั ลำปำงเปน็
รำยเดือน ซึ่งจะล่ำช้ำประมำณ 1เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยกำรคำนวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้กำหนดปีฐำน 2548
ซ่ึงคำนวณจำกเครือ่ งช้ผี ลผลติ ภำคเกษตรกรรม ภำคอุตสำหกรรม และภำคบริกำรของจงั หวดั ลำปำงรำยเดือน อนกุ รม
เวลำยอ้ นหลังไปตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2548 เปน็ ต้นมำ

ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (Agricultural Production Index: API)

• ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบทง้ั ส้ิน 10 ตวั คือ โดยให้น้ำหนกั 0.464
- ปริมำณผลผลติ : ข้ำวเหนยี วนำปี โดยใหน้ ้ำหนัก 0.403
- ปริมำณผลผลิต : มันสำปะหลงั
โดยให้น้ำหนัก 0.173
- ปริมำณผลผลติ : ขำ้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ โดยให้นำ้ หนัก 0.118
- ปรมิ ำณผลผลิต : สับปะรด โดยให้น้ำหนัก 0.043
- ปริมำณผลผลติ : กระเทยี ม
โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.020
- ปรมิ ำณผลผลติ : ถั่ว(ถ่วั เหลอื งและถ่วั ลสิ ง)
โดยให้นำ้ หนัก 0.018
- ปริมำณผลผลิต : ข้ำวเหนียวนำปรงั
โดยให้นำ้ หนกั 0.033
- จำนวนอำชญำบัตร : โค โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.042
- จำนวนอำชญำบัตร : สกุ ร โดยให้น้ำหนกั 0.029
- จำนวนอำชญำบตั ร : ไก่ โดยให้น้ำหนัก 0.018
- จำนวนอำชญำบตั ร : กระบือ

- 19 -

• โดยตวั ชว้ี ัดทุกตวั ได้ปรับฤดูกำล (Seasonal Adjusted : SA) แล้ว
กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ API (Q) ให้น้ำหนักของเคร่ืองช้ีข้ำงต้น ได้จำกสัดส่วน
มูลค่ำเพิ่มของเครื่องช้ี ณ รำคำปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ รำคำปีปัจจุบันภำคเกษตรกรรม
(สำขำเกษตร และสำขำประมง)

ดัชนีปรมิ าณผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม (Industrial Production Index: IPI)

• ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั สิ้น 8 ตวั คอื โดยใหน้ ้ำหนัก 0.335
- ปรมิ ำณหนิ อตุ สำหกรรม (หนิ ปนู – ก่อสร้ำง) โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.197
- ปรมิ ำณกำรใช้ไฟฟ้ำภำคอุตสำหกรรม โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.138
- ปรมิ ำณกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ โดยให้นำ้ หนกั 0.117
- ภำษมี ูลค่ำเพม่ิ หมวดอตุ สำหกรรม โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.116
- ปรมิ ำณลกิ ไนต์ โดยให้นำ้ หนกั 0.097
- ปริมำณดินขำว

กำรกำหนดน้ำหนกั ขององคป์ ระกอบในกำรจดั ทำ IPI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จำกหำควำมสมั พันธ์ Correlation
ระหว่ำง เคร่ืองช้ีเศรษฐกิจผลผลิอุตสำหกรรมรำยปี กับ GPP (สศช.) ณ รำคำคงที่ ภำคอุตสำหกรรม (สำขำเหมอื งแร่
สำขำอตุ สำหกรรม และสำขำไฟฟำ้ )

ดชั นปี ริมาณผลผลติ ภาคบรกิ าร (Service Index: SI) โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.254
โดยให้นำ้ หนัก 0.207
• ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบท้งั ส้ิน 8 ตวั คือ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.207
- สินเชอ่ื รวม โดยให้นำ้ หนัก 0.207
- จำนวนผู้มำเยยี่ มเยอื น โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.012
- ปรมิ ำณกำรใชไ้ ฟฟำ้ ภำคบรกิ ำร โดยให้นำ้ หนกั 0.012
- ภำษมี ูลค่ำเพ่ิมหมวดโรงแรมและภตั ตำคำร โดยให้น้ำหนกั 0.012
- รำยไดจ้ ำกผเู้ ยย่ี มเยอื น โดยให้น้ำหนัก 0.088
- จำนวนนกั ท่องเทยี่ วทเี่ ข้ำมำในจงั หวดั
- ยอดขำยสินค้ำของห้ำงสรรพสินคำ้ ในจงั หวดั
- พน้ื ทใี่ ห้อนญุ ำตก่อสรำ้ งด้ำนท่อี ยูอ่ ำศัย

กำรกำหนดนำ้ หนกั ขององค์ประกอบในกำรจัดทำ SI ใหน้ ้ำหนักของเคร่อื งช้ี โดยเคร่ืองชี้ภำคบริกำรด้ำนขำยส่ง
ขำยปลีก บริหำรรำชกำร กำรศึกษำ และโรงแรมได้จำกสัดส่วนของ GPP สำขำโรงแรม สำขำกำรศึกษำ สำขำโรงแรม
และภัตตำคำร ณ รำคำปีปัจจบุ นั 2552 (สศช.) เทยี บ GPP รวมภำคบริกำร ณ รำคำปปี ัจจุบัน (สศช.) หำรด้วยจำนวน
เครอ่ื งชีใ้ นด้ำนน้ัน ๆ

- 20 -

ดชั นีชว้ี ัดเศรษฐกจิ ด้านอุปสงค์ (Demand Side: GPPD)
• ประกอบไปดว้ ย 3 ดชั นีไดแ้ ก่
(1) ดชั นีกำรบรโิ ภคภำคเอกชน โดยให้นำ้ หนัก 0.329
(2) ดชั นีกำรลงทนุ ภำคเอกชน โดยใหน้ ้ำหนัก 0.347
(3) ดัชนกี ำรใชจ้ ่ำยภำครัฐ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.324

กำรกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหำค่ำเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับเทียบกับ GPP
constant price โดยเฉล่ียเพอื่ หำสดั ส่วน และคำนวณหำน้ำหนักจำกสัดสว่ นของแต่ละดชั นีเทียบผลรวมสัดสว่ นดัชนี
รวมทัง้ หมด

จัดทำข้ึนเพื่อใช้ติดตำมภำวะกำรใช้จ่ำยเพ่ือกำรบริโภคภำคเอกชน กำรลงทุน และใช้จ่ำยภำครัฐของจังหวัด
ลำปำงเป็นรำยเดือน ซ่ึงจะล่ำช้ำประมำณ 1เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยกำรคำนวณ Cp Index, Ip Index, G Index ได้
กำหนดปีฐำน 2548 ซ่ึงคำนวณจำกเคร่อื งชี้ภำวะกำรใช้จำ่ ยเพ่ือกำรบรโิ ภคภำคเอกชน กำรลงทุน และใช้จ่ำยภำครัฐ
ของจังหวัดลำปำงเป็นรำยเดอื น อนกุ รมเวลำยอ้ นหลังไปตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2548 เปน็ ต้นมำ

ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน (Private Consumption Index : Cp Index)

• ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบทั้งส้ิน 6 ตัว คอื โดยให้น้ำหนัก 0.429
- ยอดขำยของบริษัทขำยรถ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.304
- ภำษีมลู คำ่ เพ่มิ หมวดขำยส่งขำยปลกี โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.054
- จำนวนรถจกั รยำนยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.065
- ปรมิ ำณกำรใช้ไฟฟำ้ ของครัวเรอื นทอ่ี ยูอ่ ำศยั โดยให้นำ้ หนกั 0.012
- รำยไดก้ ำรจำหนำ่ ยนำ้ ประปำ โดยให้นำ้ หนัก 0.069
- ปริมำณจำหนำ่ ยสุรำ โดยใหน้ ้ำหนกั 0.067
- ปริมำณจำหนำ่ ยเบียร์

กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ Cp Index ให้น้ำหนักของเคร่ืองชี้ จำกกำรหำค่ำเฉล่ียของ
เครื่องชี้ในกำรจัดทำ Cp Index และแปลงเปน็ มลู ค่ำหน่วยเดียวกนั (บำท) แล้วหำน้ำหนักจำกสัดส่วนมูลค่ำเครื่องชฯี้
เทียบกบั มูลคำ่ รวมของเครือ่ งชที้ ง้ั หมด

ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip)

• ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบทงั้ ส้นิ 8 ตัว คอื โดยให้น้ำหนัก 0.025
- จำนวนรถยนต์พำณิชยท์ ่จี ดทะเบียนใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.006
- จำนวนรถยนตบ์ รรทกุ ทจี่ ดทะเบยี นใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.031
- พื้นท่ไี ดร้ ับอนญุ ำตใหก้ อ่ สรำ้ งรวม โดยให้นำ้ หนกั 0.907
- สนิ เช่ือเพือ่ กำรลงทุน โดยให้น้ำหนัก 0.031
- ยอดขำยวัสดแุ ละอุปกรณ์กำรกอ่ สร้ำง

- 21 -

กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ Ip Index ให้น้ำหนักของเครื่องช้ี จำกกำรหำค่ำเฉลี่ยของ
เคร่ืองช้ีในกำรจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมลู ค่ำหน่วยเดียวกัน (บำท) แล้วหำน้ำหนักจำกสัดส่วนมูลค่ำเครือ่ งช้ฯี
เทยี บกบั มลู คำ่ รวมของเครอื่ งช้ที ง้ั หมด

ดชั นีการใชจ้ า่ ยภาครฐั (Government Expenditure Index: G) โดยให้น้ำหนกั 0.491
โดยให้นำ้ หนัก 0.289
• ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั สนิ้ 4 ตัว คอื โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.176
- รำยจ่ำยประจำภำครัฐ ทง้ั ส่วนกลำงและสว่ นภมู ภิ ำค โดยใหน้ ้ำหนัก 0.044
- รำยจำ่ ยลงทนุ ภำครัฐ ทง้ั สว่ นกลำงและส่วนภูมภิ ำค
- รำยจ่ำยประจำขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
- รำยจำ่ ยลงทุนขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ Ip Index ให้นำ้ หนักของเคร่อื งช้ี จำกกำรหำค่ำเฉลย่ี ของ
เครือ่ งชี้ในกำรจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมลู คำ่ หนว่ ยเดยี วกัน (บำท) แล้วหำน้ำหนกั จำกสัดส่วนมูลค่ำเคร่ืองชฯ้ี
เทียบกับมลู คำ่ รวมของเครอ่ื งชีท้ งั้ หมด

ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ ราคาคงท่ี (GPP constant price) 0.650
0.350
• ประกอบไปดว้ ยดัชนี 2 ด้ำน
- ดัชนีชว้ี ัดเศรษฐกจิ ดำ้ นอุปทำน (GPPS) โดยใหน้ ้ำหนัก
- ดชั นชี ว้ี ัดเศรษฐกิจดำ้ นอุปสงค์ (GPPD) โดยใหน้ ำ้ หนกั

ดชั นีชวี้ ัดด้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ

• GPP Deflator : ระดับรำคำ ประกอบไปดว้ ย

- ดชั นีรำคำผ้ผู ลิต (PPI) โดยให้น้ำหนัก 0.650

- ดชั นีรำคำผบู้ รโิ ภคจงั หวัดลำปำง (CPI) โดยใหน้ ้ำหนัก 0.350

• กำรเปลีย่ นแปลงของจำนวนผมู้ งี ำนทำ

คำนวณจำก GPP constant price X 0.0563 (อตั รำกำรพงึ่ พำแรงงำน)

อตั ราการพ่งึ พาแรงงาน
คำนวณจำกกำรวิเครำะห์กำรถดถอยเชิงเส้นอย่ำงง่ำย (Simple Linear Regression Analysis) โดยมี

รปู แบบควำมสัมพนั ธ์ คอื ln(Emp) =  +(ln(GPP))
โดยที่ Emp = จำนวนผมู้ งี ำนทำจำแนกตำมอุตสำหกรรม และเพศของจังหวัดลำปำง

ขอ้ มูลWebsite สำนกั งำนสถติ ิแหง่ ชำติ ซงึ่ ใช้ปี 2549 – 2552 โดยไม่รวม
จำนวนผูม้ งี ำนทำในสำขำกำรกอ่ สร้ำง
GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดลำปำง ณ รำคำคงที่ ข้อมูลจำก สศช.
ซึ่งใชป้ ี 2549 – 2552 โดยไมร่ วม GPP สำขำกำรก่อสร้ำง

- 22 -

หนว่ ยงานผสู้ นับสนนุ ขอ้ มูลในการประมาณการเศรษฐกจิ ประกอบดว้ ย

ส่วนราชการภาครัฐ ท้องถ่นิ รัฐวสิ าหกจิ และภาคเอกชนในจังหวัด

สานักงานคลงั จังหวดั ลาปางจึงขอขอบคุณหนว่ ยงานดงั กล่าวขา้ งตน้ ในการสนับสนุนข้อมลู

สำนกั งำนโยธำธกิ ำรและผงั เมอื งจังหวดั ลำปำง
สำนกั งำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดลำปำง
สำนักงำนเกษตรจงั หวัดลำปำง
สำนกั งำนปศุสตั ว์จงั หวดั ลำปำง
สำนกั งำนสรรพำกรพ้ืนทล่ี ำปำง
สำนักงำนสรรพสำมิตพื้นท่ลี ำปำง
สำนกั งำนขนสง่ จงั หวดั ลำปำง
สำนักงำนพำณชิ ยจ์ งั หวดั ลำปำง
สำนักงำนเขตพนื้ ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1
สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 2
สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 3
สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมธั ยมศกึ ษำ เขต 35
สำนกั งำนอุตสำหกรรมจังหวดั ลำปำง
สำนกั งำนสถติ จิ งั หวดั ลำปำง
กำรไฟฟ้ำสว่ นภมู ภิ ำค จงั หวดั ลำปำง
กำรไฟฟำ้ สว่ นภูมภิ ำค อำเภอเกำะคำ
กำรประปำสว่ นภมู ภิ ำค สำขำลำปำง
กำรประปำสว่ นภมู ิภำค สำขำแม่ขะจำน
กำรประปำสว่ นภูมิภำค สำขำเถนิ
กำรประปำส่วนภูมภิ ำค สำขำเกำะคำ
กำรไฟฟำ้ ฝ่ำยผลิตแหง่ ประเทศไทย (เหมืองแม่มำะ)
หอกำรคำ้ จังหวัดลำปำง
สภำอตุ สำหกรรมจงั หวัดลำปำง
ชมรมธนำคำรจังหวัดลำปำง
ธนำคำรออมสินเขตลำปำง
ธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ สำขำลำปำง
ธนำคำรเพ่อื กำรเกษตรและสหกรณก์ ำรเกษตร สำขำลำปำง
ธนำคำรพัฒนำวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมแหง่ ประเทศไทย สำขำลำปำง
สำนักงำนท้องถิ่นจังหวดั ลำปำง
องค์กำรบรหิ ำรสว่ นจงั หวัดลำปำง


Click to View FlipBook Version