The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มที่6รวมpowerpoint

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pawanrat.kii, 2021-03-21 09:01:20

กลุ่มที่6รวมpowerpoint

กลุ่มที่6รวมpowerpoint

Keywords: กลุ่มที่6รวมpowerpoint

ความเปน็ ครู

• ธรรมนนั ทกิ า แจ้งสว่าง (2554 : 7) ไดใ้ ห้ความหมายของครู วา่ เปน็ บคุ ลากรวชิ าชพี ท่ีทาหนา้ ทีใ่ น
การสง่ั สอนศิษยห์ รือถา่ ยทอดความรูใ้ หก้ ับศิษยม์ ีหนา้ ที่หลักทางด้านการเรยี นการสอนและการ
สง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผู้เรียนดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษา เพือ่ ให้ผ้เู รียนเกิดความรอบรู้
เจริญกา้ วหนา้ และพฒั นาในทกุ ๆดา้ น รวมท้งั ให้เป็นผ้ทู ี่มศี ีลธรรม จริยธรรม ตามทีส่ งั คมปรารถนา
จากความหมายของครทู ่ไี ด้กลา่ วมาขา้ งตน้ สามารถสรุปความหมายของครูได้วา่ ครเู ปน็

บคุ คลผปู้ ระสิทธปิ์ ระสหความรู้ อบรมบม่ นสิ ัยศิษย์ใหเ้ ปน็ คนดี โดยการสงั่ สอนใหร้ ูจ้ ักการแยกแยะ
ความดคี วามชว่ั และรจู้ ักการดารงชีวติ ในแนวทางทีถ่ กู ต้องมีคุณธรรม

อมรรตั น์ แก่นสาร. (2558)

การเป็นครูมอื อาชีพน้นั ครูควรต้องมจี ิตวิญญาณความเปน็ ครมู อื อาชพี
มีความเด็ดเดยี่ ว มงุ่ มัน่ และองอาจ ซ่ึงจะขอเรยี กรวม ๆ เปน็ ชอ่ื ยอ่ ว่า

Teachers Spirts

อธบิ ายได้ตามตวั อักษรภาษาองั กฤษ (กาญจนา คุณารกั ษ์, 2561)
ดังกล่าวไดว้ า่

อมรรัตน์ แกน่ สาร. (2558)

T หมายถงึ การสอน (Teaching) หมายถงึ ตวั ครู
E หมายถงึ ความกระตือรือร้น ความมีศรทั ธาทแ่ี รงกลา้ (Enthusiasm)
หมายถึง ความเอาใจใส่
A หมายถึง ผ้กู ระตนุ้ (Activator) ครเู ป็นผู้กระตุ้นเตอื นใหศ้ ษิ ยช์ ยันขันแข็ง มี
C หมายถงึ ผู้มใี จสงบเยือกเยน็ (Calm) "ใชค้ วามสงบสยบความเคลอ่ื นไหว"
H หมายถึง ครตู ้องมสี ุขภาพดี (Health)ทัง้ สุขภาพทางกาย และสุขภาพจติ "จติ
เป็นกาย นายเป็นบา่ ว"

อมรรัตน์ แก่นสาร. (2558)

E หมายถงึ ครคู วรตอ้ งมคี วามรเู้ ก่ียวกบั นเิ วศวิทยา (Ecology) คอื ชีววิทยาทเ่ี ก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
คนกับสิง่ แวดล้อม
R หมายถึง 3 Rs คือ ครตู ้องอา่ น (reading) มาก เขียน (wrtng) มาก และครูตอ้ งร้เู ลขคนติ (arithmetic)
s หมายถงึ ครตู ้องรู้จักสังเคราะห์ (Synthesis) สงิ่ ใหม่ ๆ ครตู อ้ งย่อเร่ืองได้
P หมายถึง ครูต้องมีความคดิ เชิงบวก (Positive thinking) มกี ารพฒั นาตนเอง มีลกั ษณะการเป็นพอ่ แม่
I หมายถงึ คดิ รเิ รม่ิ (Initive)

อมรรัตน์ แก่นสาร. (2558)

R หมายถึง ครตู ้องเปน็ ผทู้ ีน่ า่ นับถอื (Respectful) น่าเคารพยาเกรง มีความรับผิดชอบ
I หมายถึง ครูตอ้ งสรา้ งแรงบันดาลใจ (Inspiration) แก่ศษิ ยใ์ นการเสาะแสวงหาความร้แู ละกาหนด
เปา้ หมายตลอดจนแนวทางของชวี ติ
T หมายถงึ ครตู อ้ งมีความน่าไวว้ างใจ เชื่อถอื ได้ (Trustworthiness)
s หมายถึง ครูต้องมีความเปน็ หนงึ่ เดียวกัน (Sodality) ต้องมีจิตวญิ ญาณ มีปัญญาในความเป็นครู ครูต้องมี
ใจเป็นนกั กีฬา การนบั ถอื ตนเอง มีความภาคภมู ใิ จในตนเอง

อมรรัตน์ แกน่ สาร. (2558)

การพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นครู

วิเชยี ร ไชยบงั กล่าวว่า “เมื่อครใู ช้กระบวนการจิตศกึ ษาเพือ่ ขัดเกลาเดก็ ในขณะเดยี วกนั นน้ั ครูไดข้ ดั
เกลาตนเองไปด้วย “จิตศึกษา” จึงกลายเป็นส่วนสาคญั ของโรงเรียนในการพฒั นาครู เพือ่ ยกระดบั จิตวิญญาณ
ของครูใหม้ ี “หัวใจของความเปน็ คร”ู อยา่ งแทจ้ ริง”

การจดั การเรียนการสอนทีย่ กระดับจติ วิญญาณของครู คอื การนาเอาหลกั การของจติ ตปญั ญาศึกษา
มาใช้ ถือวา่ เป็นการศึกษาท่มี งุ่ พฒั นาจากภายในของมนุษย์ ทั้งในเรอื่ งจติ ใจ และปัญญาใหเ้ กิดการตระหนักรู้
และเกดิ ปัญญา เปน็ กระบวนการเรียนรูด้ ้วยใจอยา่ งใครค่ รวญ

อาเธอร์ ซายองค.์ 2556 กลา่ วว่า กศุ โลบายทย่ี ังความเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและด้านในของเราให้
สมั พันธก์ ัน โดยทเ่ี ราจาเปน็ ตอ้ งก้าวข้ามผา่ นความทา้ ทายอย่างน้อย 4 ประการ

ธวชั ชยั เพง็ พนิ ิจ. (2550)

จติ ตปญั ญาศกึ ษา

สุมน อมรววิ ฒั น์ (2551 หนา้ 10) ใหค้ วามหมายจติ ตปญั ญาศกึ ษา หมายถงึ กระบวนการ เรยี นรู้ด้วย
ใจอยา่ งใคร่ครวญ เนน้ การพฒั นาคน้ ในอย่างแทจ้ รงิ เพอ่ื ให้เกดิ ความตระหนักร้ถู งึ คุณค่าของ สรรพสง่ิ
โดยปราศจากอคติ เกิดความรกั ความเมตตา ออ่ นนอ้ มตอ่ ธรรมชาติ มีจติ สานกึ ตอ่ ส่วนรวม และ สามาร
เชอ่ื มโยงศาสตรต์ ่าง ๆ มาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้อยา่ งสมดุล

สรุปแล้วจติ ตปญั ญาศึกษา หมายถึง กระบวนการในการเรยี นรู้ของบคุ คลทเี่ น้นการ เรียนรู้
จากภายใน คิดและใคร่ครวญจนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถงึ ความสาคญั ของสิ่งท่เี รียนรู้
เกิดความ เข้าใจในความเป็นธรรมชาตขิ องสง่ิ ต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง เกดิ ปญั ญา ทาให้จิตใจไดร้ ับการ
พฒั นา อยา่ งแทจ้ ริง

โดยคณุ ลกั ษณะสาคญั ของผเู้ รยี นที่บ่งบอก ว่าผ้เู รียนได้เกดิ การพฒั นา เราอาจสงั เกตไดจ้ าก
แนวทางการปฏบิ ัตติ ามกระบวนการดังตอ่ ไปนี้

เขมจริ า อ่อนหิรญั , (2556)

จิตปัญญาศกึ ษา

ดร.กุลยา ตันติผลาชวี ะ อาจารย์ประจาสาขาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ
และได้ให้ความหมายของการสอนแบบจติ ปัญญาว่า หมายถึง การจดั กจิ กรรมที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางโดยมงุ่ ถึง
จติ ปัญญา โดยให้ความหมายจิตวา่ เป็นการเรียนทต่ี รงกับความตอ้ งการของผเู้ รียน มีปฏิบัติการทางความคิด ตืน่ ตวั
และสนกุ ทจี่ ะเรียน องค์ประกอบของการสอนแบบจติ ปัญญา การสอนแบบจิตปัญญาเปน็ การสอนที่มงุ่ สรา้ งความสขุ
และปัญญาไปพร้อมกนั เนน้ ความสาคญั ที่ผ้เู รยี นใหเ้ รียนอยา่ งมคี วามสขุ อยา่ งมีความสุข เกิดความรกั ในความรู้
มอี งค์ประกอบสาคญั 4 ประการ คอื
1.มโนทัศนท์ ่ตี ้องเรียน
2.กจิ กรรมการสอนมีคณุ สมบัติ 5 ประการ
3.การประเมินภาพการสอน ต้องประกอบด้วยการประเมนิ 2 ดา้ น
4.หน่วยเวลากากบั การสอน การสอนทกุ เรอ่ื งต้องจบลงตามเวลาทก่ี าหนดแบบสมบรู ณ์

เขมจริ า อ่อนหริ ญั , (2556)

หลักการจดั การเรียนการสอนแบบจติ ปญั ญา
การจัดกจิ กรรมแบบจิตปญั ญาเป็นการสอนทเี่ น้นใหผ้ ูเ้ รยี นมีการปฏิบตั ิและเกดิ การคดิ โดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐานประกอบ

กบั การทางานรว่ มมอื กนั เปน็ กล่มุ ซ่งึ ในแต่ละขน้ั ตอนของการสอน ครตู ้องใสใ่ จตอ่ การสงั เกตพฤติกรรมผเู้ รยี นประกอบด้วยกระบวนการ
6 ขน้ั คือ
หลกั การการสอนท่ีสาคญั

1.การใหข้ อ้ ความรู้ การสอนแบบจติ ปญั ญาจะสรา้ งใหเ้ ดก็ ค้นพบการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองโดยมคี รูเปน็ แหล่งวิทยาการที่
สาคัญ ในระหว่างการเรียนการสอนครูต้องพร้อมให้ความร้แู ก่เด็กตลอดเวลา ในประเด็นทเี่ ด็กตอ้ งการความช่วยเหลือ

2.การกระตุ้นใหค้ ิด วธิ ีกระตนุ้ ใหเ้ ด็กคดิ ตอ้ งเป็นทัง้ ตัวกจิ กรรม คาถามของครู สื่อการสอน และวธิ ีการเรียน
3.การปฏบิ ัติการ ผ้เู รียนต้องมกี จิ กรรมปฏิบตั ิการเพอื่ การเรยี นร้ทู งั้ ในชน้ั เรียนหรอื นอกชน้ั เรยี นตามจดุ ประสงคข์ อง
การสอน
4. การสะท้อนผล ครูตอ้ งสะทอ้ นภาพการเรยี นรู้ใหผ้ ู้เรยี นทราบและเห็นทศิ ทางความก้าวหนา้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง
จากการปอ้ นขอ้ มูลกลับของครู

เขมจริ า อ่อนหิรญั , (2556)

วจิ ัย ในประเทศ

กลยทุ ธก์ ารพฒั นาจิตวญิ ญาณความเปน็ ครูเพ่ือสง่ เสรมิ ความเปน็ ครูวิชาชพี ของนกั ศึกษาคณะครศุ าสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
สวนสนุ ันทา

1.โดยภาพรวมมจี ิตวิญญาณความเปน็ ครูอยู่อยใู่ นระดับมากเมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่าอยูใ่ นระดับมากทกุ ด้าน
เรยี งลาดับจากมากไปหานอ้ ย ได้แก่ ดา้ นความศรทั ธาในตนเองและวชิ าชพี ครูด้านความเชือ่ มนั่ ในการพฒั นาศกั ยภาพของ
ผเู้ รยี นด้านความเป็นกลั ยาณมติ รในวิถแี หง่ ความเปน็ ครตู า้ นปฏบิ ตั ติ นและงานในหนา้ ทคี่ รดู า้ นเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรแู้ ละ
ดา้ นความร่วมมอื กบั อน่ื ในสถานศึกษาและชมุ ชนอย่างสรา้ งสรรค์

2. แนวทางการพัฒนาจติ วิญญาณความเป็นครขู องนักศึกษาคณะครศุ าสตร์ ได้แก่ จดั การเรียนการสอนโดยปลกู
จติ สานกึ ของความเปน็ ครกู ่อนเป็นอนั ดับแรกหลังจากนน้ั จงึ สง่ เสรมิ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทค่ี รตู ามกระบวนการของหลกั วิชาโดย
มุ่งเน้นจดั การเรียนการสอนผ่านประสบการณห์ รอื ใช้กรณีศกึ ษาการสร้างแรงจงู ใจและความภาคภมู ิใจในวชิ าชพี แลกเปลยี่ น
เรียนรูม้ ีเทคนคิ การสอนทหี่ ลากหลายรวมทัง้ ควรใชแ้ นวทาง Coaching และ Mentoring เปน็ กลวิธีทเ่ี หมาะสมในการพัฒนา
จัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งสรรค์คณุ ธรรมจรยิ ธรรมความที่สอดคล้องกนั เพอื่ ให้เกิดผลลพั ธต์ ามสมรรถนะและทกั ษะวิชาชพี โดยให้
นกั ศึกษาทกุ คนมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอนประเมนิ ผล

3. กลยุทธ์การพฒั นาจติ วญิ ญาณความเปน็ ครขู องคณะครุศาสตร์พบวา่ มกี ลยทุ ธห์ ลักและกลยทุ ธ์รอง

สจีวรรณ ทรรพวส,ุ (2560)

วจิ ัย ต่างประเทศ

จิตวญิ ญาณของครกู ารเตรียมความพร้อมสาหรับการศกึ ษา
มอนเตสซอรี เขาได้ทาการทอลองว่าตั้งใจจะสอนและใช้ทักษะทางจิตวิญญาณให้มากขึ้น

และต้องเพ่ิมครูท่ีมีการสอนโดยใช้ทักษะทางจิตวิญญาณแล้วเขายังต้องการที่จะเพิ่มด้านสุขภาพคือ
เตรยี มครูหรือคนท่ีตอ้ งการจะนาทักษะไปใช้อย่างเปิดเผยและสนทนาเรื่องจิตวิญญาณและความนิยม
และยินดที ่จี ะทาตาม และเขายังเห็นวา่ วารสาร - จติ วญิ ญาณยงั เก่ยี วขอ้ งกับการค้นหาว่าอะไรดีและ
มีความหมายชีวิตท่ีเตรียมล่วงหน้าทางวิญญาณคืออะไรท่ีควรปฎิบัติและทาการเปลี่ยนแปลงให้
เปน็ ไปตามทกั ษะไดอ้ ย่างถกู ต้องและดีท่สี ดุ

lim Tolles 28 กรกฎาคม 2563

แนวคิดจิตวิญญาณความเปน็ ครูของ ต่างประเทศ

THE PROCESS OF BECOMING A SPIRITUAL TEACHER มีวธิ กี ารปลูกฝังใหม้ จี ิตวิญญาณความเป็นครูลายทาง
และจิตวญิ ญาณการสอนของครมู หี ลายประเภทอาชพี

What Is a Spiritual Teacher อะไรคอื : จิตวิญญาณความเป็นครู
Ego Corruptions of Teaching (การไมห่ วงั ผลตอบแทน)
Many Trees in the Forest: All Are Sacred (ต้นไม้แต่ละตน้ มคี วามเฉพาะในตัวของมนั เอง)
Types of Development as Spiritual Teacher (ประเภทของการพัฒนาในจติ วญิ ญาณของคร)ู
What is Intuition? อะไรคือการรโดยสญั ชาตญาณ
Expanding Your Natural Gifts (ส่งิ ทีธ่ รรมชาติมอบให้)
Knowing Your Limits (รู้ถึงขดี จากัด ของตัวเอง)

lim Tolles 28กรกฎาคม 2563

จติ วญิ ญาณครู

Mary ได้กล่าวว่า บคุ คลทมี่ ีบทบาทและความ
รับผิดชอบในการสอนมนุษยห์ รือส่ิงที่เปน็ สากลในสิ่งที่
ถกู ต้องและเฉพาะเจาะจงทจี่ ะต้องรเู้ รยี นรู้และเขา้ ใจใน
ระดบั จติ วิญญาณเพอ่ื นาไปสขู่ ้อตกลงจติ วญิ ญาณ
จดุ มงุ่ หมายของจติ วญิ ญาณหรอื วิวฒั นาการทางจิต
วิญญาณ

ครทู างจติ วิญญาณอาจเปน็ บคุ คลใดกไ็ ด้ทีเ่ รารูจ้ กั
และรจู้ ักและมีความสัมพันธ์กบั บคุ คลน้ีในช่วงเวลาหนง่ึ
หรือตลอดชวี ิต

สรุป จติ วญิ ญาณความเปน็ “คร”ู
จติ วิญญาณความเป็นครหู มายถงึ จิตสานกึ ตามกรอบคุณธรรม
จรยิ ธรรม ซึง่ ทาให้เกดิ การใฝร่ ู้ ค้นหา สร้างวรรค์ ถ่ายทอด ปลกู ฝงั
และเปน็ แบบอย่างท่ดี ีของศษิ ย์ เพ่ือนรว่ มงานและคนในสังคม

การเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และเป็นพลเมอื งทเี่ ข้มแขง็
ดารงตนใหเ้ ปน็ ทเ่ี คารพศรทั ธาของ

ผูเ้ รยี นและสมาชกิ ในชุมชน

คณะผ้จู ัดทา การเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และเป็นพลเมอื งที่เขม้ แขง็ ดารงตนใหเ้ ป็นท่เี คารพศรทั ธาของ
ผู้เรียนและสมาชิกในชมุ ชน

นางสาวพลอยพมิ ล ศรีหาวตั ร นางสาวสุปรียา แสนสระ นางสาววราภรณ์ แก้ววจิ ติ ร์
รหัสนักศึกษา 63121860041 รหัสนักศึกษา 63121860033 รหัสนักศึกษา 63121860048

การเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี

ครอบครวั
1.ประกอบอาชพี ทสี่ ุจรติ
2.อบรมสง่ั สอนบตุ รให้เป็นคนดีมคี ณุ ธรรมมวี ินยั ในการดารงชวี ิต
3.ปลกู ฝังเจตคติทีด่ ใี นการศึกษาหาความรู้ เพื่อปรบั ปรุงชวี ิตใหม้ ีหลักฐานมัน่ คง
4.อบรมส่ังสอนบตุ รให้มคี วามเอ้อื เฟื้อเผ่ือแผ่ โอบอ้อมอารี

โรงเรยี น
ผูบ้ รหิ าร

(เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ์.2537:64)ผูบ้ รหิ ารที่ดี ตอ้ งพยายามเข้าใจเกย่ี วกับพฤตกิ รรมมนษุ ย์ และต้องสนใจ
ปรับปรงุ พัฒนาทักษะในการจดั การบคุ ลากรให้มี ประสิทธิภาพ
ความสาเร็จของผบู้ ริหารกค็ ือ ความสามารถในการทาใหผ้ รู้ ่วมงานไดร้ ับการตอบสนองในสิง่ ที่ต้องการ และ มี
ความพอใจในผลงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย สามารถสร้างบรรยากาศการบรหิ าร ใหเ้ กิดแรงจูงใจต่อบุคลากร

การประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี. (สงั คม กลุ สวุ รรณ,2558)

ผ้บู ริหารต้องมบี ทบาทสาคัญ
คือ กระต้นุ ควบคมุ อานวยความสะดวก ให้คาปรึกษา และสง่ เสริมสนับสนุนใหค้ รมู ี ลกั ษณะตามทส่ี ังคมตอ้ งการ
โดยผูบ้ รหิ ารตอ้ งพยายามกระตุ้นใหบ้ ุคลากรรู้ถึงคุณคา่ ในงานวชิ าชพี ครู ใหค้ วามสนใจ สรา้ งบรรยากาศการ
ทางาน รบั ฟังความคดิ เหน็ เพอื่ เปิดโอกาสให้บคุ ลากรแตล่ ะคน แสดงความสามารถกับงานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ด้ตรงตาม
เป้าหมายขององคก์ ารอนั จะนามาซึง่ ความพึงพอใจ ขวญั กาลังใจ และ การปฏิบัติงานในวิชาชีพทม่ี ีประสิทธิ

การประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี (เสรมิ ศกั ดิ์ วิศาลาภรณ.์ 2537:64)

เพื่อนครู
1.ครูพึงชว่ ยเหลือเกอื้ กูลครดู ว้ ยกนั ในทางสรา้ งสรรค์ เช่น การแนะนาแหลง่ วทิ ยาการให้กนั แลกเปลี่ยน
ประสบการณท์ างวชิ าชีพซ่ึงกนั และกนั
2.รกั ษาความสามัคครี ะหว่างครู และชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกันในหน้าทก่ี ารงาน ไม่แบง่ พรรคแบง่ พวกคิด
ทาลายกลัน่ แกล้งซ่งึ กันและกนั เตม็ ใจช่วยเหลือเมอื่ เพอื่ นครขู อความชว่ ยเหลือ เชน่ เป็นวิทยากรให้แก่กนั
ช่วยงานเวรหรอื งานพเิ ศษซงึ่ กันและกัน
3.ไมแ่ อบอ้างหรือนาผลงานทางวชิ าการของเพอื่ นครูมาเป็นของตนทั้งยงั ต้องชว่ ยเหลอื ให้เพื่อนครูอ่ืน ๆ ได้
สรา้ งสรรค์งานวิชาการอย่างเต็มความสามารถดว้ ย
4.ประพฤตติ นดว้ ยความสภุ าพ ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน และใหเ้ กยี รติซงึ่ กนั และกนั ไม่วา่ จะสงั กดั หน่วยงานใด

การประพฤตปิ ฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดีสังคม.(กลุ สวุ รรณ, 2558)

ครู

หนา้ ท่ีของครใู นแงค่ ุณลกั ษณะท่ีประสงคน์ ั้น รัญจวน อนิ ทรกาแหง (2529:27) สรุปไว้ดงั นี้
1. ครเู ป็นผูท้ ี่สามารถใหท้ างแหง่ ความรอดแก่ศิษย์ ความรอดมอี ยสู่ องทาง คือ ทางรอดทางกายและทางรอดทางใจ
2. ครตู ้องสามารถดารงความเปน็ ครูอยไู่ ดท้ กุ อริ ยิ าบถ
3. ครูต้องสามารถเป็นตวั อยา่ งตามกาสอนแก่ศษิ ย์ สอนอย่างไรทาอย่างนนั้

นักเรยี น

1. ต้งั ใจส่งั สอนศษิ ยแ์ ละปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ใหเ้ กดิ ผลดีด้วยความเอาใจใส่
2. อทุ ศิ เวลาของตนให้แกศ่ ษิ ย์ จะละทิ้งหรอื ทอดทง้ิ หนา้ ทีก่ ารงานมไิ ด้
3. ถา่ ยทอดวชิ าความร้โู ดยไม่บิดเบอื นและปิดบงั อาพราง ไมน่ าหรือยอมให้นาผลงานทางวิชาการของตน
ไปใช้ในทางทุจริตหรือเป็นภยั ตอ่ ศษิ ย์
4. สุภาพเรียบร้อย ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี ก่ศิษย์
5. ครตู ้องรกั และเมตตาศษิ ยโ์ ดยใหค้ วามเอาใจใสช่ ่วยเหลอื สง่ เสริมให้กาลังใจในการศึกษาเลา่ เรยี นแก่
ศิษย์โดยเสมอหนา้

หนา้ ท่ีและความผดิ ชอบของวิชาครู.(จีระวฒุ ิ โคกใหญ่. ( 2557 )

ผ้ปู กครอง
1.ครูตอ้ งใหค้ าปรึกษาหารอื และแนะนาผปู้ กครองในการอบรมเลยี้ งดูเด็กในปกครองอยา่ งใกลช้ ดิ ตลอดจนแนะ
แนวการศึกษาตอ่ และการเลือกอาชพี ของศิษย์
2.ครูต้องรายงานข้อมูลต่าง ๆ ของศิษยใ์ หผ้ ้ปู กครองทราบสมา่ เสมอและถกู ตอ้ งไมบ่ ิดเบือน
3.ครูพงึ ใหค้ วามชว่ ยเหลือเกอื้ กลู ผปู้ กครองและชมุ ชนในทางสร้างสรรค์ตามความเหมาะสม
4.ครูต้องใหค้ วามร่วมมือกับผู้ปกครองในการอบรมส่ังสอนศิษย์อยา่ งใกล้ชิดตลอดจนการร่วมแก้ปญั หาของศษิ ย์
ทุก ๆดา้ น ทง้ั ดา้ นการศึกษาเล่าเรยี น ความประพฤติ สภุ าพพลานามยั ปญั หาทางจติ ใจ

ตอ่ ชุมชน

1.ครตู ้องเลือ่ มใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมุขดว้ ยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ

2.ครูต้องยึดมั่นในศาสนาทีต่ นนับถือและไม่ดูหม่นิ ศาสนาอ่ืน

ครพู งึ ประพฤตเิ ป็นผู้นาในการอนรุ ักษส์ ภาพแวดล้อมและศลิ ปวฒั นธรรมของชุมชน

3.ครพู งึ ร่วมพฒั นาชมุ ชนทุก ๆด้าน ช่วยให้ขอ้ มลู ขา่ วสารและความร้ใู หมๆ่ ในการดาเนนิ ชวี ติ แก่สมาชิกทกุ

คนในชุมชน หนา้ ท่ีและความผดิ ชอบของวชิ าครู.(จีระวฒุ ิ โคกใหญ่. ( 2557 )

คณุ ธรรมม จรยิ ธรรม
คุณธรรม
เสถียร ชาวไทย (2536, หน้า 7) คุณธรรม คอื การกระทาความดีเป็นสิ่งทีทาไปแล้วตนเองไมเ่ ดือดร้อน

ผูอ้ น่ื ไมเ่ ดือดร้อนเปน็ ประโยชน์ทัง้ สองฝา่ ย และส่ิงท่ที าไปเปน็ ประโยชนเ์ กอื กลู ด้วยประการทงั้ ปวง
สมผิว ช่นื ตระกูล (2537, หน้า 82) คณุ ธรรม คอื อปุ นิสยั อนั ดีงามทีสะสมอยู่ในจิตใจซ่งึ อปุ นิสยั อันดี

งามนี ไดม้ าจากความพยายามท่จี ะปฏิบัติในสงิ่ ท่ถี ูกต้องดงี ามต่อกนั มาเปน็ เวลานาน
จรยิ ธรรม
สมเดช มุงเมือง (2542, หนา้ 51) จริยธรรม คอื การประพฤติปฏบิ ัตทิ ตี งั้ อยู่ในคณุ งามความดี โดยเฉพาะ

ในสงั คมไทย เรายดึ ม่ันในคณุ งามความดี ตามหลักธรรมคาส่ังสอนของพระพทุ ธศาสนา
วรี ะพงศ์ ถิน่ แสนดี (2550, หน้า 23) จรยิ ธรรม คือ เป็นแนวทางในการประพฤตปิ ฏิบตั ิ และการกระทาที

ดีงามและถกู ต้องของบุคคล ตลอดจนความรู้สึกนกึ คดิ อนั ถูกตอ้ งดีงาม ทคี วรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในส่ิงนนั ๆ เพื่อให้เกดิ
ความเจริญรุ่งเรอื ง แก่ตนเองและบุคคลอ่นื โดยทั่วไปในสังคม

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (ทพิ ย์ หาสาสนศ์ รี 2553)

จรยิ ธรรมของนกั กฎหมาย

กฎหมาย หมายถงึ กฎระเบียบขอ้ บงั คับและกติกาของสังคมซึ่งอาจหมายถึงจรยิ ธรรมและศลี ธรรมของ
ศาสนาต่าง ๆ ทสี่ าคญั ของคนในสงั คมและเป็นอาวุธทมี่ คี มรอบด้านเพราะฉะนั้นผู้ยกร่างกฎหมายหรอื ออก
กฎหมายหรือผู้ตัดสินความถูกผดิ จะต้องเป็นผู้มคี ณุ ธรรมและมคี วามรู้ในสจั ธรรมอย่างแทจ้ รงิ โดยต้องรวู้ า่
ความดคี วามช่วั ความถูกความผิดเปน็ สิง่ สมบรู ณ์หรอื เป็นส่งิ สมั พัทธก์ ฎหมายท่บี ญั ญัติออกมาใชน้ ั้นเปน็ คุณ
เป็นโทษอย่างไรกบั คนทีอ่ ยขู่ า้ งบนและคนทีอ่ ยขู่ า้ งลา่ งคนทอ่ี ยูข่ ้างหนา้ และคนทอี่ ยูข่ ้างหลงั คนทอี่ ยขู่ า้ งขวา
และคนทอ่ี ยู่ข้างซา้ ยตดั สนิ ความถูกผิดไปแลว้ มีคุณมโี ทษอย่างไรกบั สถานการณ์ในปัจจุบันและในอนาคต

คุณธรรมจริยธรรมทางศาสนา
ศาสนา ทม่ี อี ยมู่ ลี กั ษณะตา่ ง ๆ กันดังนป้ี ระการแรกศาสนาโบราณเกดิ จากความหวาดกลวั ในอานาจของ
ธรรมชาติวิญญาณผีสางเทวดาหรือเทพเจ้าประการท่ีสองศาสนาทถ่ี ือวา่ มีเทพเจ้าหลายองค์เห็นวา่ เทพเจ้า
เหล่านน้ั สงิ สถิตอยใู่ นสรรพสง่ิ แต่ไม่มีอานาจในการสร้างโลกประการทสี่ ามศาสนาท่ีถอื วา่ มพี ระเจา้ สงู สดุ อยู่องค์
เดยี วสถติ อยู่เป็นคโู่ ลกและทรงเป็นผสู้ ร้างโลก
ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์หรอื ฮินดู ศาสนาพทุ ธ
การปลกู ฝงั

ครอบครัว เคารพเชื่อฟงั คาส่ังสอนแนะนาของบิดามารดา
กลมุ่ เพื่อน ความประพฤติในทางดี
สถานศกึ ษา ส่งเสรมิ ให้ศิษย์มเี หตผุ ลรู้จักวิเคราะหว์ ิจารณศ์ ึกษาเพม่ิ เตมิ ดว้ ยตวั เองมคี วามคดิ

ริเริ่มสรา้ งสรรค์กบั มีสานกึ ในหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
สงั คม เคารพกฎเกณฑห์ รือมาตรฐานความประพฤติ

พลเมอื งเข้มแขง็
พลเมือง (Citizen)” เป็นแนวคดิ ทค่ี วรมาควบค่กู บั การสรา้ งความเป็นประชาธปิ ไตย (Democratize) อันเน่อื งมาจาก
พลเมอื งเปน็ สิ่งท่ถี ูกสรา้ งขึน้ ในโลกสงั คมการเมอื งยุคใหม่พลเมอื งมกั จะตอ้ งมีสิทธแิ ละหนา้ ทท่ี ต่ี ้องรับผดิ ชอบตอ่
บ้านเมืองตามตดิ ตัวมาด้วยเสมอพลเมอื งจงึ มิใช่“ ประชาชน
การท่ีประชาชนทกุ คนสรา้ งความเปน็ ผนู้ าให้แกต่ นเอง
พลเมืองท่ีดี
คณุ สมบัติพ้ืนฐาน คอื คุณสมบัติทัว่ ไปของการเป็นพลเมืองดี เชน่ ขยัน อดทน ซื่อสตั ย์ ประหยดั
รับผดิ ชอบ มีเหตุผล โอบออ้ มอารี มีเมตตา เห็นประโยชน์ส่วนรวมมีความสาคัญเสมอ
คุณสมบตั เิ ฉพาะ คอื คณุ สมบตั ิเฉพาะอยา่ งที่สังคมตอ้ งการให้บคุ คลพง่ึ ปฏบิ ัติ เช่นต้องการบุคคลทม่ี ี
คุณธรรมนาความรู้ ตอ้ งการให้คนในสงั คมไทยหนั มาสนใจ พฒั นาวิจยั ในงานอาชพี ดา้ นการเกษตรใหม้ าก
เน่ืองจากเป็นพน้ื ฐานของสังคมไทย เนื่องจากเป็นพนื้ ฐานของสังคมไทย เพอ่ื การพัฒนาสังคมใหเ้ จริญ
กา้ วหน้าอย่างย่ังยนื

พลเมืองดีของประเทศชาติและสงั คมโลก.(อเนก เหลา่ ธรรมทศั น,์ 2551)

การปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีของประเทศชาติและสงั คมโลก
เคารพกฎหมาย มีเหตผุ ล ยอมรบั เสยี งสว่ นมาก มีนา้ ใจ เคารพสทิ ธเิ สรีภาพของผอู้ ื่น มีความ
รบั ผิดชอบ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม



การเป็นท่ีเคารพศรทั ธา

ศรัทธา คอื พลงั แหง่ ความเช่อื ม่ัน ศรัทธาเป็นพลังช่วยใหค้ วามอยาก ความปรารถนาประสบความสาเรจ็ ใหง้ ่ายข้ึน
หลักธรรมในการศรทั ธา

อรยิ สัจ 4

เปน็ หลักคาสอนหน่งึ ของพระโคตมพุทธเจา้ แปลว่า ความจริงอันประเสรฐิ ความจริงของพระอริยะ หรอื ความจริงทที่ าใหผ้ ู้เขา้ ถงึ กลายเปน็ อริยะ
มีอยู่ 4 ประการ คอื

1.ทุกข์ คอื สภาพทท่ี นไดย้ าก

2. สมุทัย คือ สาเหตุทีท่ าใหเ้ กิดทุกข์
3. นโิ รธ คอื ความดบั ทุกข์
4. มรรค คอื แนวปฏบิ ัติทน่ี าไปสหู่ รอื นาไปถึงความดบั ทกุ ข์

ฆราวาสธรรม 4 แปลว่า คณุ สมบัติของผู้ประสบความสาเรจ็ ในการดาเนินชวี ติ ทางโลก ประกอบดว้ ยธรรมะ 4 ประการ

1.สัจจะ แปลว่า จรงิ ตรง แท้ มคี วามซื่อสตั ยเ์ ป็นพน้ื ฐาน การสรา้ งศรทั ธาในวิชาชีพครู.(ปารชิ าติ มหาวรรณ, 2557)
2.ทมะ แปลว่า ฝกึ ตน ข่มจติ และรกั ษาใจ บงั คบั ตวั เองเพื่อลดและละกิเลส
3.ขนั ติ แปลวา่ อดทน ไมใ่ ช่แพียงแต่อดทนกบั คาพูด
4.จาคะ แปลว่า เสยี สละ บรจิ าคสิง่ ทีไ่ ม่ควรมอี ยู่ในตน

พรมวิหาร 4ประกอบด้วยหลกั ปฏิบตั ิ 4 ประการ คือ

1.เมตตา ความรักใคร่
2.กรุณา ความสงสาร
3.มทุ ิตา ความยนิ ดี
4 อเุ บกขา ความวางใจเปน็ กลาง คือมจี ติ เรยี บตรง

พละ 4 หลกั ธรรม 4 ประการท่ีเป็นกาลงั ในการดาเนินชวี ติ ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ด้วยความม่ันใจและปลอดภยั มี

1.ปัญญาพละ หมายถึง ปัญญาทเ่ี ปน็ กาลัง ให้รดู้ ี รูช้ อบ รถู้ กู ต้อง

2. วิริยะพละ หมายถึง ความเพียรพยายามทเ่ี ปน็ พลัง ในการทาใหค้ นเราไปสู่จดุ มงุ่ หมายท่ีต้องการ
3. อนวชั ชพล หมายถึง การกระทาท่ีไมม่ ีโทษเปน็ กาลัง
4. สังคหพละ หมายถึง การสงเคราะหเ์ ป็นกาลงั เพราะคนเมื่ออยูร่ ่วมกันในสังคม

อธิษฐานธรรม 4 คือธรรมทีค่ วรต้ังไว้ในใจ 4 อยา่ ง

1.ปญั ญา แปลว่า ร้ทู ่วั ทุกด้าน รทู้ ั้งเหตทุ ั้งผล ร้เู บ้อื งต้นเบือ้ งปลาย ในส่งิ ทคี่ วรรู้ท้ังคดโี ลกทง้ั คดธี รรม
2.สจั จะ แปลวา่ ความจรงิ ใจ คอื ประพฤตสิ ่งิ ใดก็ใหไ้ ด้จริง เรือ่ งสัจจะนี้มที างอธิบายได้มาก
3.จาคะ สละสิ่งท่ีเป็นขา้ ศึกแก่ความจรงิ ใจหมายความว่า เม่อื บุคคลต้งั ใจจริง กระทาสงิ่ ท่ีดี ประพฤตดิ ี มักจะมีอปุ สรรคเข้ามาขดั ขวาง
ใหเ้ สียการเสยี งาน เสยี ความต้งั ใจจริงไปบ้างไม่มากกน็ ้อย
4.อุปสมะ แปลวา่ ความสงบใจจากท่ีเปน็ ขา้ ศึกแกค่ วามสงบ หมายความว่า การระงบั หรือการเขา้ ไประงบั

คา่ นิยม
หมายถงึ ทศั นะของคนหรอื สงั คมทม่ี ตี ่อส่งิ ของ ความคิด และเหตกุ ารณท์ ี่เกย่ี วขอ้ งกบั ความปรารถนา คณุ คา่ และ
ความถูกตอ้ งของสงั คมนน้ั ๆ
คา่ นิยมพน้ื ฐาน 5 ประการ
ประการที่ 1 การพง่ึ พาตนเอง ขยนั หมั่นเพยี ร และมีความรบั ผดิ ชอบ
ประการท่ี 2 การประหยดั และออม
ประการท่ี 3 การมรี ะเบียบวนิ ยั และเคารพกฎหมาย
ประการที่ 4 การปฏิบตั ิตามคณุ ธรรมของศาสนา
ประการที่ 5 การมคี วามรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์

รางวลั สมเด็จเจา้ ฟ้ามหาจกั รี

ดร.กฤษณพงศ์ กีรตกิ ร ประธานมูลนิธริ างวลั สมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจักรี กลา่ ววา่ รางวลั สมเด็จเจา้ ฟา้ มหาจกั รี เปน็ รางวลั เพอื่ เชิด
ชูการทางานของครโู ดยครูผไู้ ด้รบั พระราชทานรางวลั มาจากการคัดเลอื กของกระทรวงศึกษาธกิ ารในอาเซียนและตมิ อร์-เลสเต
ทั้ง 11 ประเทศ
คณุ สมบตั ิ
-เปน็ ครูผ้สู รา้ งการเปลี่ยนแปลงแกช่ วี ิตลูกศิษย์
-มคี ุณูปการตอ่ วงการศกึ ษา

มลู นิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั รี,2562

ประเภทรางวัล
๑. รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจักรี ต้องเปน็ ครผู ูม้ คี ะแนนสงู สดุ จากการตัดสินของคณะกรรมการมลู นิธิรางวลั สมเด็จ

เจ้าฟา้ มหาจกั รี
๒. รางวลั คณุ ากร ตอ้ งเป็นครผู ้มู คี ะแนนลาดบั ที่สองและลาดบั ท่ีสามจากการตัดสนิ ของคณะกรรมการมลู นธิ ริ างวัล

สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจักรี
๓. รางวัลครูยิง่ คณุ เป็นครผู มู้ คี ะแนนลาดับที่ ๔ ถงึ ลาดับท่ี ๑๗ จากการตดั สินของคณะกรรมการสว่ นกลาง
๔. รางวัลครูขวญั ศิษย์ เป็นครผู ู้ไดร้ บั การคดั เลือกจากคณะกรรมการระดบั จงั หวดั และไดร้ ับความเหน็ ชอบจาก

คณะกรรมการวิชาการ

มลู นิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั รี,2562

รายชอ่ื สุดยอดครรู างวลั สมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี รางวลั คุณากร ครูย่ิงคุณ ครขู วญั ศิษย์ ครั้งท่ี 3
พ.ศ 2562
๑. ประเทศบรไู นดารสุ ซาลาม นางฮาจะฮ์ บินติ ฮาจี อัสปาร์
๒. ประเทศกัมพูชา นายวิรกั ลอย
๓. ประเทศอนิ โดนเี ชยี นายรดู ี ฮารย์ าดี
๔. ประเทศลาว นายไพสะนิด ปนั ยาสะหวัด
๕. ประเทศมาเลเซยี นางเค เอ ราซยี ะฮ์
๖. ประเทศเมียนมา นายหม่อง จ๋าย
๗. ประเทศฟิลิปปินส์ นายสาดทั บี มนิ นั ดงั
๘. ประเทศสงิ คโปร์ นางแองจิลิน ชาน สิว่ เว่นิ
๙. ประเทศติมอร์-เลสเต น.ส.ลูรเ์ ดส รนั เจล กอนชัลเวช
๑๐. ประเทศเวยี ดนาม นายเล ทนั เลยี ม
๑๑. ประเทศไทย นายสเุ ทพ เท่งประกิจ

มลู นิธิรางวลั เจา้ ฟา้ มหาจกั รี,2562

สรปุ การเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี
ครอบครัว คอื อาชีพสุจรติ สอนบุตรให้เปน็ คนดปี ลูกฝงั เจตคตทิ ่ดี ีเออ้ื เฟ้อื เผอื่ แผ่
ผบู้ ริหาร คือ ตอ้ งสนใจและพยายามเขา้ ใจพฤตกิ รรมมนุษย์ปรบั ปรงุ พฒั นาการจัดการ
บุคลากรให้มีประสทิ ธิภาพสร้างบรรยากาศการบรหิ ารใหเ้ กิดแรงจงู ใจต่อบุคลากรตอ้ ง
มบี ทบาทสาคญั คือกระตุ้น ควบคมุ อานวยความสะดวกใหค้ าปรึกษาสนับสนนุ ครใู ห้
เปน็ ไปตามทสี่ งั คมตอ้ งการ
เพอื่ นครูช่วย คอื เหลือเกอ้ื กลู ครูดว้ ยกันในทางสร้างสรรค์ รกั ษาความสามคั คีระหว่าง
ครู ไม่แอบอ้างหรือนาผลงานทางวชิ าการของเพอ่ื นครมู าเปน็ ของคนตน ประพฤติตน
ด้วยความสุภาพให้เกียรตกิ นั

คา่ นยิ มของครู

คณะผู้จดั ทา ค่านิยมของครู

นางสาววาสนา บญุ โพธิ์ yu นางสาวนันทพร วงศแ์ ก้ว
รหสั นักศึกษา 63121860038 รหัสนักศึกษา 63121860044
นางสาวปวีร์กร จวนสนั เทยี ะ
รหัสนกั ศึกษา 63121860049

01 02 03 04 05

ความสาคญั ค่านิยมของครู ประเภทของค่านิยม การพฒั นาค่านิยมของครู งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อค่านิยม

01

ความหมายของคา่ นิยม
แนวความคดิ ความประพฤตหิ รือการกระทาใด ๆ ทีค่ นหรอื สังคมเหน็ ชอบวา่ เป็นส่งิ ทค่ี วรแกก่ ารประพฤติปฏิบตั ติ ามจงึ
ยอมรบั นับถือเปน็ แนวปฏิบัติ อาจจะเปน็ ระยะเวลาหน่งึ หรือตลอดไป ค่านิยมของคนน้นั อาจจะเปล่ยี นแปลงไปตามสมยั น้นั
กอ่ สวัสด์ิพานิช (2535) ได้กลา่ วว่า ค่านยิ ม เปน็ ความคดิ พฤติกรรมและสิ่งอ่ืนที่คนในสงั คมหน่ึงเห็นวา่ มีคุณค่า จึงยอม
รับมาปฏิบตั แิ ละหวงแหนไวร้ ะยะหนึง่ ค่านยิ มมกั เปล่ียนแปลงไปตามกาลสมยั และความคิดเห็นของคนในสังคม
พนัส หันนาคินทร์(2537) กลา่ วถงึ ความหมายของค่านยิ มไวว้ ่า เป็นการยอมรบั นับถอื และพร้อมทจี่ ะปฏิบตั ิตามคณุ คา่ ที่
คนหรอื กลุม่ คนในสงั คม มีต่อสิง่ ต่าง ๆ อาจเปน็ วตั ถุ ความคดิ หรอื การกระทาในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ เศรษฐกิจ สังคม ท้งั นี้ ไดม้ ีการ
ประเมนิ คา่ จากทศั นะต่าง ๆ โดยรอบคอบแล้ว
Phenix (1992) ให้นยิ ามวา่ ค่านิยมคอื ความชอบ ความสามารถจาแนกใหค้ วามเหน็ ความแตกตา่ งของความชอบกบั กับ
ความไม่ชอบได้โดยการประเมินผล

อา้ งองิ : ก่อ สวสั ด์ิพานิช (2535)

ลกั ษณะของค่านิยม

ส่ิงทถี่ กู จัดเปน็ คา่ นยิ มของคนเราน้นั มนิ ตนั โรคชี (1973 อา้ งอิงใน วาทติ อตุ อามาตย์,2524) กลา่ วว่าต้องมีคุณลกั ษณะ
ตา่ งๆ ดังตอ่ ไปน้ี
คุณลักษณะพนื้ ฐานของคา่ นิยมมี 5 ประการดงั น้ี

1. เปน็ สิ่งทีส่ ามารถนับไดแ้ มเ้ ราจะทราบว่าพฤติกรรมของคนเรามีมากมาย
2. เปน็ สิง่ ที่สามารถแสดงความแตกตา่ งออกมาเป็นระดบั ได้
3. เป็นสงิ่ ท่ีสามารถนามาจดั เปน็ ระบบค่านยิ มไดค้ า่ นยิ มเกิดจากความเชือ่ หรอื ความรสู้ กึ เกย่ี วกับวถิ ชี วี ติ หรอื เปา้ หมายชวี ิต
4. เป็นสง่ิ หรอื ตวั การทบี่ ง่ ถงึ วัฒนธรรมสงั คมและสถาบันตา่ งๆของสงั คมตลอดถงึ บุคลิกภาพของสมาชิกในแต่ละสงั คม
5. ทางเจตคตแิ ละพฤติกรรมท้งั นี้เนื่องจากค่านิยมเป็นเรอ่ื งของความนิยมชมชอบความต้องการหรอื ความฝังใจทมี่ ี

อา้ งองิ : วาทิตอุตอามาตย์ (2524)

ความสาคัญของค่านยิ ม

คา่ นิยมความสาคัญต่อชวี ิตมนุษย์ในสังคมทกุ สังคม ท้งั นเ้ี พราะคา่ นิยมสามารถเปน็ ตัว
บง่ ชีใ้ หเ้ ห็นถึงสภาพความแตกตา่ งทางสังคมนั้น ๆ ได้ ความสาคัญของค่านิยมมีดังนี้
1.เป็นแนวทางในการดาเนินชวี ิตของมนษุ ย์
2.เปน็ หลักในการประเมินผลคา่ ของความประพฤติ
3.ช่วยรกั ษาเอกราชของชาติไวใ้ ห้ย่ังยืนม่นั คง

อา้ งอิง : วาทิตอตุ อามาตย์ (2524)

ค่านิยมที่ควรยดึ มน่ั

ค่านิยมที่ไม่ควรยดึ มั่น คา่ นยิ มทคี่ รอู าจารยท์ กุ คนควรยึดถือปฏบิ ัตคิ วรเป็นคา่ นยิ มสูง ซึง่ มีมากมาย
ต่อไปนคี้ อื ตวั อยา่ งของคา่ นยิ มทีค่ รูอาจารย์ควรยดึ ถอื ปฏบิ ัติ เชน่

1. การพ่ึงตนเอง ขยันหมน่ั เพียร และมีความรบั ผิดชอบ
2. การประหยดั อดออม
3. การมีระเบยี บวินัยและเคารพกฎหมาย
4. การปฏิบัตติ ามศีล 5 (หรอื ข้อกาหนดในศาสนาของตน)
5. ความซือ่ สัตยส์ จุ รติ

คา่ นยิ มทคี่ รูไมค่ วรนิยม คอื ส่งิ ทเ่ี ม่อื นามายึดถือปฏิบัตแิ ล้วกอ่ ใหเ้ กิดผลเสีย อา้ งอิง : พรพรรณ กรังพาณิช
ตอ่ ตนเอง ตอ่ ครอบครวั ต่อสถาบันวชิ าชพี และอาจเสอื่ มเสียถึงความเจริญมนั่ คงของ
สังคมและประเทศชาติด้วย ตอ่ ไปนี้คือตัวอยา่ งคา่ นิยมทคี่ รูไมค่ วรนยิ ม เช่น

1. การถอื ฤกษ์ถอื ยาม
2. ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ
3. ความฟ่มุ เฟอื ย
4. ความนยิ มในศิลปะและวัฒนธรรมตา่ งชาติ
5. ความนยิ มของนอก

02 ประเภทของค่านิยม

ประเภทของคา่ นยิ ม
คา่ นิยมน้ันกล่าวกนั โดยทว่ั ไปว่ามี 2 ประเภท คือ ค่านยิ มสว่ นบุคคลและคา่ นิยมของสังคม

คา่ นิยมสว่ นบคุ คล หมายถงึ ส่ิงทตี่ นสนใจ สิ่งท่ีตนปรารถนาจะได้ ปรารถนาจะเหน็ หรอื กลบั
กลายมาเปน็ ส่งิ ทีค่ นถือวา่ เป็นสงิ่ บังคบั ต้องทาตอ้ งปฏบิ ัติ เป็นสิง่ ทีค่ นบชู ายกย่อง และมีความสขุ จะ
ได้เหน็ ไดฟ้ ัง ได้เปน็ เจา้ ของได้ เชน่ ครแู ดง อยากเปน็ คนขยันขันแขง็ ในการทางาน ครูแดงกจ็ ะ
ปฏิบตั ิตามพืน้ ฐานของความคดิ ของตนเอง เพราะฉะนนั้ ครแู ดงจะมคี า่ นยิ มของความขยันขนั แข็ง
และแสดงความเป็นคนขยนั ออกมา

อา้ งอิง :สมพงษ์ พยงุ กิจ

คา่ นยิ มของสังคม หมายถึงคา่ นยิ มของคนสว่ นใหญใ่ นสงั คมกล่าวคอื สมาชิกของสงั คมสว่ นใหญย่ อมรบั
วา่ เป็นสงิ่ ท่ดี งี าม หรอื ควรแกก่ ารปฏบิ ัติสงิ่ หรือสถานการณน์ น้ั ๆ กจ็ ะกลายเปน็ คา่ นยิ มของสังคมนนั้ ๆ เชน่
คา่ นยิ มของไทย นยิ มให้บตุ รหลานของตนไดร้ บั ราชการหรอื ขา้ ราชการครู เพราะเช่ือกันวา่ อาชีพครเู ป็นอาชีพท่ี
ดี มันคงมเี กียรตมิ ีคนเคารพนับถอื และ ครู ยงั เปน็ บุคคลสาคญั อาชพี ครูเปน็ อาชพี ท่สี รา้ งคนและสรา้ งชาติ

ค่านิยมสังคม แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดงั นี้
3.2.1 ค่านยิ มในทางปฏิบตั ิ เปน็ หลักของศลี ธรรมที่ต้ังอยู่บนรากฐานทวี่ า่ ตนในสงั คมต้องพงึ่ พาอาศยั กนั
ดังน้นั คา่ นยิ มจงึ ประณามส่ิงท่ที าใหเ้ กิดความแตกแยกในสังคม เชน่ การคดโกงและทาร้ายกนั

3.2.2 คา่ นิยมในอุดมคติ ซึ่งคา่ นยิ มระดบั น้จี ะมีความลึกซ้ึงกว่าคา่ นิยมในทางปฏบิ ตั ิ เช่น ศาสนาครสิ ต์
สอนวา่ ใหค้ นรักเพอื่ นบา้ นเหมือนกับรกั ตนเอง ซ่งึ น้อยคนทจี่ ะปฏบิ ตั ิตามได้ แต่ค่านิยมระดับน้ีกม็ คี วามสาคัญ
ในการทาใหค้ นเห็นแกต่ ัวนอ้ ยลง

อา้ งอิง : สมพงษ์ พยงุ กิจ 2538

03 การพฒั นาค่านิยมของครู

การพัฒนาค่านิยม หมายถึง การเสริมสรา้ งคา่ นิยมที่พึงประสงคใ์ หเ้ กดิ แกบ่ ุคคลจากภายใน จิตใจของบคุ คลนั้น ๆ โดยไมใ่ ช่

การบังคับหรือการวางเงอื่ นไขจากภายนอก

การพัฒนาค่านยิ มครู คือ การพัฒนาความเชอื่ ม่นั ในความเปน็ ครูได้ดีขึน้ ครูจึงเปน็ บคุ คลสาคัญของเดก็ และเยาวชนในการ

เป็นบุคคลตวั อย่างในสงั คมในการเปน็ ผนู้ าและการเป็นตน้ แบบทด่ี ขี องนกั เรยี น ครจู งึ ต้องเสริมสร้างบุคลิกภาพของตนใหเ้ ด็กนักเรยี น

เกิดความศรทั ธาทั้งบคุ ลกิ ภาพภายนอกและภายใน รวมท้ังตอ้ งจัดสภาพแวดลอ้ มในสถานศกึ ษาเพอ่ื สง่ เสรมิ การพฒั นาคา่ นิยมให้

เกดิ ข้นึ ด้วย

คา่ นิยมของครทู ีส่ นบั สนุนการบรหิ ารงานในโรงเรยี นทค่ี รทู กุ คนพึงจะตอ้ งปฏิบัติ คือ

1) ดว้ ยวิธีจงู ใจ

2) ใช้ระเบยี บข้อบังคับวินัย

3) การใช้มนุษย์สัมพนั ธ์ที่ดี

4) หาโอกาสใหป้ ฏิบตั ิตามคา่ นิยมโดยสมา่ เสมอ

5) การปฏิบัติตวั เปน็ ผ้นู า อา้ งอิง :ปราณี โพธิสุข และคณะ, 2541

ความสาคญั ของการพฒั นาครู

ครู เป็นผทู้ าหน้าทห่ี ลักทางดา้ นการเรยี นการสอน และสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนด้วย
วธิ ีการตา่ งๆ เพื่อให้เกดิ ความเจริญงอกงามในดา้ นความรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์

สวุ รรณ เนนิ ทอง (2558: 16) ได้กล่าวว่า การพัฒนาครมู คี วามสาคัญและจาเป็น อย่างยิ่ง
เพราะการสง่ เสรมิ ให้ครมู กี ารพฒั นา เพ่ิมพนู ความรู้ ความสามารถ ใหม้ ีเจตคติท่ดี ีต่อ การปฏบิ ัตงิ าน
สร้างขวญั กาลงั ใจให้กบั ครู เพื่อความกา้ วหนา้ ในอาชีพการทางาน องคก์ รและประเทศชาติ จาก
ความสาคญั ของการพัฒนาครูทน่ี ักวิชาการได้กลา่ วมา

อา้ งอิง :สุวรรณ เนินทอง (2558: 16)

จุดมุ่งหมายของการพฒั นาครู

สุภาพร พศิ าลบตุ ร และยงยทุ ธ เกษสาคร (2545: 13-15) ได้กลา่ วว่า การพัฒนาครมู จี ุดมุ่งหมายท่ีจะเพมิ่ พนู
ความรู้ทกั ษะเจตคตใิ นการปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื กอ่ ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมในการปฏิบตั งิ านใหส้ อดคล้องกับสภาพการ
ทางานขององค์กรทง้ั ในปจั จบุ ันและอนาคต เพอื่ สรา้ งความสนใจในการทางานของข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าท่ี เพอื่
เสนอแนะการทางานทด่ี ีท่สี ุดเพอื่ พฒั นาการทางานใหไ้ ดผ้ ลสงู เพอ่ื ลดความส้นิ เปลืองและป้องกันอบุ ัตเิ หตใุ นการทางานจดั วาง
มาตรฐานในการทางาน พัฒนาฝีมอื ในการทางานของบคุ คล

อา้ งอิง : สุภาพร พิศาลบุตร และยงยทุ ธ เกษสาคร (2545: 13-15)

04

ปญั หาคา่ นิยมสงั คมไทย

1.ความฟ่มุ เฟือยและไม่มัธยสั ถ์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชญานิศวร์ กลุ รตั นมณีพร 2.การไมจ่ รงิ จังกับความซ่ือสัตยส์ จุ ริต
และคณะ ได้วจิ ัยเร่อื ง การเสริมสรา้ งคา่ นยิ ม พบวา่ ตลอดระยะเวลา 3.การไมเ่ ครง่ ครัดเรื่องวินยั

50 ปี ทีผ่ า่ นมา งานศึกษาและจากเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับคา่ นยิ มไทยท่ี ค่านยิ มพนื้ ฐานของสงั คมไทย
1.การพง่ึ ตนเอง ขยนั มั่นเพียรและมคี วาม
รวบรวมไดม้ ที งั้ ส้นิ 600 เอกสาร โดยเฉลี่ยมีงานศึกษาเกยี่ วกบั เรอ่ื ง
รับผดิ ชอบ
ดังกลา่ วเพยี งปลี ะ ประมาณ 12 เร่ือง
2.การประหยดั และอดออม
เมื่อพิจารณาในแต่ละช่วง 10 ปี พบวา่ เน้ือหาหรอื ประเด็นต่าง ๆ ของ
3.การมรี ะเบยี บวนิ ัยและเคารพกฎหมาย
เอกสารมี ความหลายหลายคอ่ นข้างสูง และมีทิศทางทไี่ ม่ค่อยชดั เจน
4.การปฏบิ ัติตามคุณธรรมของศาสนา
อย่างไรก็ตามเมื่อจาแนกเอกสาร 7 กลมุ่ พบว่า การศึกษาและเอกสาร
5.ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
เกีย่ วกบั คา่ นิยมด้านสุนทรยี ศาสตร์และคา่ นยิ มตามแนวการเมอื ง ใน

ประเทศไทยมีอยจู่ านวนน้อยมาก ขณะทก่ี ารศึกษาและเอกสารเกย่ี วกบั

ค่านยิ มดา้ นสังคม มมี ากถงึ รอ้ ยละ 37 อา้ งองิ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชญานศิ วร์ กลุ รัตนมณีพร 2555

งานวจิ ัยต่างประเทศ

งานวจิ ัยของ ลอรีเบรดี้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ประเทศออสเตรเลีย เร่อื ง คา่ นิยมและควาสัมพันธ์
ของครู

คา่ นยิ มของครใู นอดุ มคติสาหรบั การสอนที่มปี ระสิทธผิ ล ได้แก่ แนวโนม้ ท่จี ะทาให้บุคลิกภาพ
สบั สนกับ "ลกั ษณะนิสยั " (ค่านยิ ม) และค่านิยมส่วนบุคคลกบั คา่ นิยมในวชิ าชีพ ภาพลักษณท์ น่ี ่าดึงดูด
อยา่ งหน่งึ คอื ครูทเี่ ขา้ หาได้ง่ายมเี สนห่ ก์ ระตือรอื ร้นและมีอารมณ์ขัน อยา่ งไรกต็ ามอาจเปน็ ไปไดว้ ่านกั เรียน
บางคนชอบครทู แี่ สดงออกในทางตรงกนั ขา้ มน่นั คอื คนท่หี า่ งเหินวางเฉยและไร้อารมณข์ ันเน่อื งจากครคู นน้ี
อาจให้ผลลพั ธท์ ี่ดกี ว่า Carr (2010, 64-5) ระบวุ ่าในขณะทค่ี ุณสมบตั ทิ ่ีพึงประสงคบ์ างประการ (เช่นความ
กระตือรอื รน้ และความมีเสน่ห์) อาจส่งผลตอ่ ความเชี่ยวชาญในวิชาชพี แต่ลกั ษณะบุคลกิ ภาพดังกล่าวเปน็
เพียง 'การมีส่วนรว่ มโดยบังเอิญ' ในขณะที่การแสดงออกของพฤติกรรมมืออาชีพขนึ้ อยกู่ บั ค่านยิ มสว่ น
บุคคลบางประการ คอื นพิ จน์ท่ีคานึงถงึ บรบิ ทของค่าเหล่านท้ี ี่มคี วามเกย่ี วข้องกบั ห้องเรียน

อา้ งอิง : ลอรีเบรด้ี ค.ศ 2011

05 ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อค่านิยม

ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน

การได้ยนิ การไดเ้ ห็น ไดร้ บั รตู้ ัวอยา่ ง คาชแี้ จง คาแนะนา การได้รปู้ ระจักษแ์ จง้ คุณค่าของสงิ่ นัน้ ดว้ ยตัวเอง จนทา
คาส่งั สอนจากผอู้ น่ื ตวั อย่างของปัจจยั ภายนอกมดี งั น้ี ใหม้ นั่ ใจ จนเกิดค่านยิ มที่พึงปรารถนาขน้ึ เช่น ความศรัทธา
ความเชอ่ื ทางพระพทุ ธศาสนา การเหน็ คุณคา่ ในการดาเนินชวี ิต
- การโฆษณาชวนเช่อื หรือจงู ใจ ที่เรียบงา่ ยและประหยัด
- คาบอกเล่าของผู้คุ้นเคยหรือคนท่บี คุ คลนน้ั ๆ นับถือ
- คาสงั่ สอนทางศาสนา
- คาแนะนาส่ังสอนจากบดิ ามารดา ญาตพิ ี่นอ้ งครบู าอาจารย์
- แบบอยา่ งทดี่ ีของคนในชมุ ชนและสถาบนั อน่ื ๆ

อา้ งอิง : ประพิศ กลุ บุตร 2556

สรุปคา่ นิยมของครู
ลกั ษณะของค่านิยม คือ เป็นส่งิ ท่สี ามารถรบั ได้ แมเ้ ราจะทราบว่า
พฤติกรรมของคนเรามมี ากมาย เป็นสิ่งท่ีสามารถแสดงความแตกตา่ งออกมา
เป็นระดบั ได้ และเป็นส่งิ ทส่ี ามารถนามาจดั เป็นระบบคา่ นิยมได้
ค่านยิ ม เกิดจากความเช่อื หรอื ความรสู้ กึ เกี่ยวกับวิถชี ีวติ หรอื เป้าหมาย
ชีวติ เป็นสิ่งหรอื ตัวท่บี ง่ ถงึ วัฒนธรรมทางสงั คมและสถาบันตา่ ง ๆ ของสงั คม
ตลอดถงึ บคุ ลกิ ภาพของสมาชิกในแตล่ ะสงั คมทางเจตคตแิ ละพฤตกิ รรม
เนือ่ งจากค่านยิ มเปน็ เรอ่ื งราวของความนยิ มชมชอบความต้องหรือความฝังใจ
ทมี่ ี


Click to View FlipBook Version