The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มที่6รวมpowerpoint

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pawanrat.kii, 2021-03-21 09:01:20

กลุ่มที่6รวมpowerpoint

กลุ่มที่6รวมpowerpoint

Keywords: กลุ่มที่6รวมpowerpoint

กฏหมายสาหรับครู

Presented by Group 5

คณะผจู้ ดั ทา กฏหมายสาหรับครู
นางสาวบุศรา วเิ ศษการ นางสาวพาตเี มาะ นินาแว นางสาวนา้ ฝน พงั แสงสุ นางสาวสาธิตา ศิริกระจาย
รหัสนักศึกษา 63121860050 รหัสนักศึกษา 63121860046 รหัสนักศึกษา 63121860053 รหัสนักศึกษา 63121860042

4. ใบประกอบ 1. ความเป็นมา 2. กฏหมาย
วชิ าชพี ครู ของกฏหมาย การศกึ ษาที่
และการศกึ ษา เกี่ยวขอ้ ง

ไทย

3. การปฏิรปู
การศกึ ษา

1. ความเป็นมาของกฏหมาย
และการศกึ ษาไทย

1.1ความหมาย

พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน, (2542, น.4) กฎหมาย คอื กฎท่สี ถาบนั หรือผมู้ ีอานาจสงู สดุ ในรฐั ตรา
ข้ึน หรือท่ีเกิดข้ึนจากจารีตประเพณอี นั เปน็ ทยี่ อมรับนับถือ เพอ่ื ใช้ในการบรหิ ารประเทศ เพ่อื ใชบ้ งั คบั บุคคล
ให้ปฏิบตั ิตาม หรอื เพอื่ กาหนดระเบียบแหง่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลหรือระหวา่ งบุคคลกับรัฐ

มานิตย์ จุมปา, ( 2555, ความรู้พน้ื ฐานเกย่ี วกับกฎหมาย, น.30 ) อธิบายไวว้ ่า กฎหมาย หมายถงึ กฎเกณฑ์
ทก่ี าหนดความประพฤติของบคุ คลในสงั คมซง่ึ บุคคลจะต้องปฏิบตั ติ ามหรือควรจะปฏิบัตติ าม มฉิ ะนัน้ จะได้รบั
ผลร้ายหรือไมไ่ ดร้ ับผลดีที่เปน็ สภาพบังคับโดยเจา้ หน้าท่ีในระบบกฎหมาย

สมยศ เชอื้ ไทย, (2553, คาอธบิ ายวชิ ากฎหมายแพ่ง, น. 64) อธบิ ายไว้ว่า กฎหมาย คอื กฎเกณฑท์ ีเ่ ปน็ แบบ
แผนความประพฤตขิ องมนษุ ยใ์ นสงั คมซ่ึงมีกระบวนการบังคับท่เี ป็นกจิ จะลักษณะ

อา้ งอิง : รองเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร จเร พนั ธุ์เปรื่องเวบ็ ไซต์ http://wiki.kpi.ac.th สถาบนั พระปกเกลา้

สมยั อยุธยา

- คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ เปน็ คัมภีรแ์ หง่ ความยตุ ิธรรม เป็นตวั บทกฎหมายท่มี าจากอินเดียท่กี าหนด
หลกั เกณฑ์ ความประพฤตปิ ฏบิ ตั สิ าหรับประชาชนทัว่ ไป

- พระเจา้ แผน่ ดินอาศัยหลกั เกณฑใ์ นคัมภีรพ์ ระธรรมศาสตร์ตราเป็นกฎหมายขึ้นมา เรยี กว่า พระราชศาสตร์
- พระราชศาสตร์ เปน็ กฎหมายย่อยทีพ่ ระมหากษตั รยิ ์ตราขนึ้ ใช้ในรูปพระราชกาหนด บทพระอัยการ

และพระราชบญั ญตั ิโดยคานึงถงึ ความเหมาะสมกับเหตกุ ารณ์บ้านเมอื งและวัฒนธรรมประเพณใี นสมัย
นน้ั
- กรงุ ศรีอยธุ ยานไ้ี ดม้ ีการบัญญัตกิ ฎหมายลายลักษณอ์ ักษรขึ้นมาใชบ้ ้างแล้วก็ตาม แตย่ ังไมม่ รี ะเบียบแบบ

แผน ในการบญั ญตั กิ ฎหมายเชน่ ในลักษณะของระบบกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร
- ยคุ นค้ี งใช้กฎหมายตามแบบระบบกฎหมายจารตี ประเพณี
- มีการปกครองตามแบบระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์

สมยั กรุงธนบุรี ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นกฏหมาย เนอ่ื งจากมศี กึ สงคราม

อา้ งอิง :อวิการัตน์ นิยมไทยนิติกร สานกั กฏหมาย จากเวบ็ ไซต์ https://www.senate.go.th

สมยั กรุงรัตนโกสินทร์

- สมัย ร.1 กฏหมายตราสามดวง
สมยั ร.2-ร.3 ได้นากฎหมายทใี่ ช้อยู่ในสมัยรชั กาลท่ี 1 มาใชบ้ งั คับตอ่ ไปเชน่ เดมิ
- สมัยร.1 ถึง ร. 4 ไทยยังคงใช้การปกครองตามระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์มีการพัฒนากฎหมายเป็นลกั ษณะ
การวางหลกั กฎหมายดังเช่นกฎหมายลายลกั ษณอ์ กั ษรข้นึ บ้าง แต่ยังไมเ่ ปน็ ระบบแบบแผนดังเชน่ ในระบบกฎหมาย
ลายลกั ษณ์อักษร จงึ ถือว่าในชว่ งนไี้ ทยยงั ใช้กฎหมายตามระบบกฎหมายจารีตประเพณี
- สมยั ร.5 “กฎหมายลกั ษณะอาญา ร.ศ. 127” ถอื เปน็ ประมวลกฏหมายไทยฉบับแรก ไทยได้เปลี่ยนระบบการ

ใช้กฎหมายจาก จารตี ประเพณี มาเปน็ ระบบกฎหมายลายลักษณอ์ ักษรต้ังแตส่ มัยรชั กาลท่ี 5 เป็นต้นมาจนถึง
ปัจจุบัน
- ร.6 “ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ”
- ร.7 พระราชทาน “รัฐธรรมนูญ ” ฉบับแรก พ.ศ.2475 ระบอบการปกครอง มาเปน็ ระบอบประชาธิปไตย
จนถึงปัจจบุ นั

อา้ งอิง :อวิการัตน์ นิยมไทยนิติกร สานกั กฏหมาย จากเวบ็ ไซต์ https://www.senate.go.th

1.3 ลาดบั ศักด์ขิ องกฏหมาย

๑. รัฐธรรมนูญ
๒. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
๓. พระราชบัญญัติ
๔. พระราชกาหนด
๕. พระราชกฤษฎีกา
๖. กฎกระทรวง
๗. บัญญัติท้องถ่ิน

อา้ งอิง : รองเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร จเร พนั ธุ์เปรื่อง จากเวบ็ ไซตh์ ttp://wiki.kpi.ac.th สถาบนั พระปกเกลา้

1.4 ความเป็ นมาของการศึกษาไทย

สมยั สโุ ขทยั 1. สานักเรียน - วัดเป็นสานักเรียนของบรรดาบตุ รหลานขุนนางและราษฎรท่ัวไป
- สานักราชบณั ฑติ ซึง่ สอนแต่เฉพาะเจา้ นายและบุตรหลานข้าราชการ
2. ผู้สอน
3. วิชา - พระ
-ธรรมะ ศาสตรด์ ้านอาวธุ เวชกรรม วิชาชา่ ง การเรือน
สอน - ไม่มกี ารจัดห้องเรียน ใครใครเ่ รียนเรียน ใครใคร่ สอนสอน ไม่มีสือ่ การ

ไม่มแี บบเรียน สอนแบบสะกดคา อ่าน ทอ่ งจาเลา่

สมยั อยุธยา 1. สานักเรียน -วัดและสานักราชบณั ฑติ

2. ผู้สอน - พระ

3. วิชา - ภาษาไทย ภาษาเขมร และบาลี *เกดิ แบบเรียนภาษาไทยชอ่ื

จินดามณี

- ตามแตส่ มัครใจเรยี น สอนแบบอา่ นเขยี น ท่องจาการสอนเชิง

ปฏบิ ตั ิ เชน่ การหลอ่ ปนื ใหญ่ การใชป้ นื ไฟ การสรา้ งปอ้ มคา่ ย การทาขนมฝรง่ั

อา้ งอิง : กระทรวงศึกษาธิการ จากเวบ็ ไซต์ https://www.moe.go.th

สมยั กรุงธนบุรี 1. สานกั เรยี น -วดั กบั ราชสานัก
รัตนโกสินทร์
2. ผสู้ อน - พระ
3. วิชา - ธรรมะ การแต่งโคลงกลอน นาฏศิลป์ การพลศึกษา การฝกึ อาวุธ

- พอ่ แม่ไมน่ ยิ มให้ผหู้ ญงิ เรยี นหนงั สอื

ร.5 1.สานักเรียน -จัดตั้งโรงเรียนชาย โรงเรยี นสตรี โรงเรียนราษฎร์ โรงเรียนสอนภาษา โรงเรยี น
แพทย์ โรงเรยี นปรยิ ัติธรรม มีการแบง่ ระดบั ชั้นเรียน

2. ผู้สอน - ครไู ทย ครตู า่ งประเทศ
3. วชิ า - ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การคดั ลายมอื การแต่งจดหมาย เลข บัญชี และ วชิ าช่างต่าง ๆ

ร.6 จัดตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

ร.7 แบง่ หลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลายออกเปน็ แผนกกลาง แผนกภาษา และแผนกวทิ ยาศาสตร์
ร.8-ปัจจุบัน ประกาศใช้แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2503

ประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษา และ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน้
ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535

อา้ งอิง : กระทรวงศึกษาธิการ จากเวบ็ ไซต์ https://www.moe.go.th

2. กฎหมายการศึกษาที่
เกยี่ วข้อง

ผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้บรหิ ารสถานศึกษา คือ บคุ คลที่ปฏิบตั งิ านในตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษาภายในเขต
พ้ืนทก่ี ารศกึ ษา และสถานศึกษาอน่ื ท่จี ัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน และอดุ มศึกษาทงั้ ของรฐั และเอกชน

กฎหมายท่ีเก่ียวข้องผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่
- พระราชบญั ญัตคิ วามรบั ผดิ ชอบทางละเมิดของเจา้ หนา้ ที่ พ. .ศ. ๒๕๓๙
- พระราชบัญญตั ิวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
- พระราชบญั ญัตขิ อ้ มูลขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
- พระราชบญั ญตั จิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดี ปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒
- พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไข

เพ่มิ เตมิ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๓
- พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ.๒๕๔๖

อ้างองิ : สานักงานเลขาธกิ ารสถาการศกึ ษา

ครู

ครู คือ ผทู้ ่มี ีความสามารถให้คาแนะนา เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการเรียน สาหรับนกั เรยี น หรือ นักศกึ ษาในสถาบนั การศึกษาต่าง
ๆ ท้งั ของรัฐและเอกชน มีหนา้ ที่ หรอื มีอาชพี ในการสอนกบั วิชาความรู้ หลักการคิดการอา่ น รวมถึงการปฏบิ ัตแิ ละแนวทางในการทางาน โดย
วธิ ีในการสอนจะแตกต่างกนั ออกไปโดยคานึงถงึ พ้ืนฐานความรู้ ความสามารถ และเปา้ หมายของนกั เรยี นแต่ละคน และนอกจากการสอนแลว้
ครูยงั เปน็ ผ้ยู กระดับวญิ ญาณมนษุ ย์ ใหร้ ู้จกั ผิดชอบชว่ั ดี สอนในคณุ งามความดีเพอ่ื เปน็ แมแ่ บบใหเ้ ดก็ ไดป้ ฏบิ ัตติ ามทง้ั ต่อหนา้ และลับหลัง
กฎหมายการศกึ ษาทเี่ กย่ี วข้องกบั ครู ได้แก่

- พระราชบัญญตั ิ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
- พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗
- ข้อบงั คบั ครุ สุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘
- พระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗( ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ )
- พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗( ฉบบั ที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ )
-พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗( ฉบับท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ )

อ้างองิ :สานักงานคณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จากเวบ็ ไซต์:https://otepc.go.th/th/otepc09/km-otepc09/item/3003-2547.html

ผู้ปกครอง

ผู้ปกครอง คือ พอ่ แม่ หรอื บุคคลทีศ่ าลแต่งตัง้ ขึน้ ใหป้ กครองดูแลผู้เยาว์ ในกรณีที่ผเู้ ยาวน์ ัน้ ไมม่ ีบิดามารดา หรอื บดิ า
มารดาถูกถอนอานาจปกครอง
กฎหมายการศึกษาท่เี กี่ยวข้องกับผู้ปกครอง ไดแ้ ก่

- มาตรา ๑๑ บดิ า มารดา หรอื ผปู้ กครองมหี น้าท่จี ดั ให้บตุ รหรือบคุ คลซ่ึงอยใู่ นความดูแล ได้รับการศึกษาภาคบงั คบั ตาม
มาตรา ๑๗ และตามกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนใหไ้ ดร้ ับการศึกษา

- มคี วามผดิ ตามมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ คอื ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ
1000 บาท

- มาตรา ๑๕ แหง่ พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบงั คับ พ.ศ. ๒๕๔๕ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ 10,000 บาท

อา้ งอิง:สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาจากเวบ็ ไซต:์ file:///C:/Users/Admin/Downloads/Documents/%C2%A1113-2e-2547-a0005.pdf

นกั เรียน
นักเรยี น คอื ผเู้ รยี นในโรงเรียนระดับอนบุ าล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

กฎหมายการศึกษาท่เี กยี่ วขอ้ งกับนกั เรยี น ได้แก่

- พระราชบัญญตั ิการศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. ๒๕๔๕
- พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาภาคบังคับ (ฉบับท่ี ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๕
- พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาภาคบงั คบั (ฉบบั ที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๕๓
- พระราชบญั ญตั ิการศึกษาภาคบังคบั ( ฉบบั ที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๖๒
- พระราชบญั ญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖

อา้ งองิ :สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาจากเว็บไซต:์ file:///C:/Users/Admin/Downloads/Documents/01010001_1.pdf

พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖

ตวั อยา่ ง ขาย แลกเปลย่ี นหรอื ให้สรุ าหรือบุหร่แี กเ่ ดก็ อายตุ ่ากวา่ 18 ปี เว้นแตก่ ารปฏิบตั ทิ างการแพทย์
จะมคี วามผดิ จาคกุ ไม่เกิน 3 เดอื นหรอื ปรบั ไม่เกนิ 30,000
ตามพ.ร.บ.คุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 มาตราท่ี26
เด็กขับรถออกไปแวน้ ก่อใหเ้ กิดความวุน่ วายบนท้องถนน
ผูป้ กครองมีส่วนทจี่ ะตอ้ งรบั ผดิ ชอบและตอ้ งได้รับโทษมาตรา 26 ตาม พรบ.คุ้มครองเดก็ ฯ ฐาน“ปล่อยปะ
ละเลย” ซ่ึงมโี ทษทาทณั ฑบ์ น หรือใหว้ างเงนิ ประกนั หากกระทาผดิ ซา้ รบิ เงนิ ประกนั ผูป้ กครองจาคกุ ไมเ่ กนิ 3
เดอื น ปรับสงู สุด 30,000 บาท และยดึ รถ

กองกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม.พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖. จาก https://www.moj.go.th/view/48431

สิทธิขัน้ พืน้ ฐานตามอนสุ ัญญาวา่ ดว้ ยสทิ ธิเด็กมี

1. สทิ ธกิ ารมีชวี ติ อยรู่ อด คอื สิทธิของเด็กที่คลอดออก มาแลว้ จะต้องมชี ีวติ อยู่รอดอย่างปลอดภยั
2. สทิ ธใิ นการพัฒนา คอื การได้รบั โอกาสในการพฒั นา อยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ
3. สิทธิในการได้รบั การค้มุ ครอง คอื การได้รับการ คุม้ ครองจากการเลือกปฏบิ ัติการลว่ งละเมิด

การถูกกล่นั แกล้งการถูกทอดทงิ้ การกระทาทารณุ หรอื การใชแ้ รงงานเดก็
4. สทิ ธิในการมีส่วนร่วม คอื การใหเ้ ดก็ ไดร้ ับบทบาทท่ี สาคญั ในชุมชน เดก็ มสี ทิ ธิทีจ่ ะมสี ่วนรว่ ม

ในกจิ กรรมในสังคม มอี ิสระใน การแสดงความคิดเห็นในเร่อื งทีม่ ผี ลกระทบตอ่ ชีวติ ของตนเอง
และได้รับ โอกาสในการเข้ารว่ มกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมเม่อื เตบิ โตขน้ึ

สทิ ธิขน้ั พ้ืนฐานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเดก็ จากเวบ็ ไซต์
https://www.unicef.org/thailand/th/what-is-crc

3.การปฏริ ูปการศึกษา

ปฏิรูปการศึกษา

คอื
การปฏิรปู การศึกษาเป็นเร่อื งทสี่ าคญั ย่งิ ต่ออนาคตของประเทศไทยเพราะ

การปฏิรปู การศกึ ษาคอื การปรับท้งั ระบบกระบวนการของระบบการเรยี นรู้การคิดของ
บุคคลและสังคมเกย่ี วกบั ตนเองสิง่ ทีม่ นุษย์สรา้ งสรรค์ขน้ึ สง่ิ แวดลอ้ มและธรรมชาติ

อ้างองิ : ศาสตราจารย์ สปิ ปนนท์ เกตทุ ัต

การปฏิรปู การศกึ ษาของไทยมีมาถงึ 4 ครั้งแลว้

การปฏิรูปการศกึ ษาไทย พ.ศ.2517

การปฏิรูปการศึกษาครัง้ นี้ เกดิ ขึ้นหลังจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
เมอื่ วนั ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยกระทรวงศกึ ษาธิการได้เสนอในท่ีประชุม
คณะรัฐมนตรี เมอ่ื วันท่ี 25 มถิ ุนายน พ.ศ. 2517ใหแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการข้นึ มาชุด
หนง่ึ เรยี กว่า "คณะกรรมการวางพื้นฐานเพ่อื การปฏริ ูปการศกึ ษา“
อ้างอิง : รศ.ดร.ไพศาล ไกรสทิ ธิ์
https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/2517.html

สาเหตทุ ต่ี อ้ งปฏิรูปการศึกษาในครัง้ นค้ี ือ

1.ปญั หาอันเกดิ จากการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและ
ส่งิ แวดลอ้ มตา่ งๆ

2.ปญั หาอันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงความคิดของคนไทย
3.ปัญหาอันเกดิ จากระบบการศึกษาเอง

อ้างองิ : รศ.ดร.ไพศาล ไกรสิทธ์ิ
https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/2517.htm

การปฏิรูปการศกึ ษา พ.ศ.2537

- เม่ือวนั ท่ี 7 กนั ยายน พ.ศ. 2537 ผมู้ ีประสบการณภ์ าคเอกชนและภาครัฐ 4 คน
- นายบัณฑูร ลา่ ซา กรรมการผู้จดั การใหญธ่ นาคารกสกิ รไทย
- นายวิจติ ร ศรีสอ้าน ปลดั ทบวงมหาวิทยาลยั ในขณะนั้น
- นายโกวิท วรพพิ ฒั น์ ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ในขณะน้นั
- นายสปิ ปนนท์ เกตุทตั ประธานกรรมการปโิ ตรเลียมแห่งประเทศไทยในขณะนั้น

อา้ งอิง : ศาสตราจารย์ สปิ ปนนท์ เกตุทัต

(ต่อ)

- ไดห้ ารอื รว่ มกนั และเห็นวา่ ต้องปฏิรปู การศกึ ษา
- โดยเร่มิ จากระดับพน้ื ฐานเพราะเป็นหัวใจสาคญั ของการพัฒนาและเตรียมตวั ส่โู ลก
ยุคสารสนเทศ
- ได้รว่ มกนั จัดต้ัง คณะศกึ ษาการศึกษาไทย ในยุคโลกาภิวัตน์
- เพอ่ื ศึกษาและเสนอแนะการปฏริ ูปการศกึ ษา

อ้างอิง : ศาสตราจารย์ สปิ ปนนท์ เกตุทตั

ไดว้ างยุทธศาสตร์ ไว้ 4 ขัน้ ตอน คือ

1.จุดประกาย
2.ขยายความคิด
3.พชิ ติ ความเปลย่ี นแปลง
4.ออกแรงผลักดนั สู่ความสาํ เร็จ

อา้ งอิง : ศาสตราจารย์ สปิ ปนนท์ เกตทุ ตั

โลกาภิวตั น์

คือ ผลจากการพฒั นาการตดิ ตอ่ ส่ือสาร การคมนาคมขนสง่ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
อนั แสดงใหเ้ ห็นถึงการเจรญิ เตบิ โตของความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ การเมือง เทคโนโลยี และ
วฒั นธรรมท่ีเช่อื มโยงระหว่างปจั เจกบุคคล ชุมชน หน่วยธรุ กจิ และรฐั บาล ท่วั ทัง้ โลก

ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่ว
โลก การทป่ี ระชาคมโลกไมว่ ่าจะอยู่ ณ จดุ ใด สามารถรบั รู้ สัมพนั ธ์ หรือรบั ผลกระทบจากส่งิ ที่
เกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างรวดเรว็ กวา้ งขวาง ซงึ่ เน่อื งมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเปน็ ตน้ " โลกาภวิ ตั น์
เป็นคาศัพท์เฉพาะทีบ่ ัญญัตขิ ้ึนเพอ่ื ตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกทเ่ี หตุการณ์ทาง
เศรษฐกจิ การเมือง สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมทเ่ี กดิ ข้ึนในสว่ นหน่ึงของโลก ส่งผลกระทบ
อนั รวดเร็วและสาคัญต่อส่วนอนื่ ๆของโลก
https://th.wikipedia.org/wikiโลกาภิวตั น์

การปฏิรูปการศกึ ษา พ.ศ.2542

ปัญหาของการปฏิรปู
1. ปัญหาครู - ปัญหาการผลิตครู

- ปญั หาคณุ ภาพครู
- ปญั หาหนีส้ นิ ของครู
1.ปฏริ ปู ครู
- การสรรหาและคดั เลอื กใหไ้ ดค้ นดคี นเก่ง และมีความเหมาะสมเพื่อบรรจเุ ป็นครู
- จดั การและพฒั นาครูให้เกดิ ทกั ษะในการจัดการเรียนการสอนมากข้ึน
- จดั การและพฒั นาครใู หเ้ กิดทกั ษะในการจดั การเรยี นการสอนมากขึน้

อา้ งอิง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วชิระ วิชชุวรนนั ท์
อา้ งอิง : pornchai phokanyo
อ้างอิง : รายงานของคณะกรรมการอสิ ระเพอื่ การปฏิรปู การศกึ ษา

2.ปัญหาการเรียน - ปัญหาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพของผู้เรียนตกตา่
- ปัญหาหลกั สูตรการเรียนการสอน

2.ปฏิรูปการเรียนรู้
- ในกรณเี ดก็ อ่านไม่ออกเขยี นไม่ได้ปรับเปลย่ี นโครงสร้างหลกั สูตรการเรียนการสอนของการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ให้มี
การเรียนภาษาไทยมากขึน้
- ปรับปรุงหลกั สูตรให้เน้นการเรียนการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตร์และหน้าทค่ี วามเป็ นพลเมือง โดยเฉพาะขนึ้ รวมท้งั
เร่งเพม่ิ ทกั ษะ/อาชีพในศตวรรษท่ี 21 และทกั ษะการเรียนการสอนด้านภาษาองั กฤษ ให้มากขนึ้

อา้ งอิง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วชริ ะ วชิ ชวุ รนันท์
อ้างองิ : pornchai phokanyo
อ้างอิง : รายงานของคณะกรรมการอสิ ระเพอื่ การปฏริ ูปการศกึ ษา

3.ปัญหาการบริหารจดั การ
- ปัญหาในเร่ืองโครงสร้างการบริหารจดั การการศึกษา
- ปัญหาการกระจายอานาจการบริหารและจดั การศึกษาจากส่วนกลางสู่เขตพืน้ ท่ี
การศึกษาและสถานศึกษา

3.ปฏริ ูปการบริหารจัดการ
- แก้ไขกฎหมายและระเบยี บทเี่ ป็ นอุปสรรคต่อการบริหารจดั การการศึกษา
- กระจายอานาจ การบริหารจดั การจากส่วนกลางสู่เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาและ
สถานศึกษาททีส่ ามารถนาไปปฏิบตั อิ ย่างความเป็ น อสิ ระและคล่องตัวเพื่อเพม่ิ ความ
เป็ นอสิ ระในการบริหารแก่เขตพืน้ ท่ีการศึกษาและสถานศึกษา

อ้างองิ : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชริ ะ วิชชุวรนันท์
อา้ งองิ : pornchai phokanyo
อา้ งอิง : รายงานของคณะกรรมการอิสระเพอื่ การปฏริ ปู การศึกษา

4.ปัญหาการกระจายโอกาสและคุณภาพการศึกษา
- ปัญหาการจดั การศึกษา โดยภาครัฐของไทยมกี ารรวมศูนย์โดยส่วนกลาง
- ปัญหาความไม่เท่าเทยี มกนั ในคุณภาพของการศึกษา
4.ปฏริ ูปการกระจาย-เพม่ิ โอกาสและคุณภาพการศึกษาอย่างทวั่ ถงึ เท่าเทยี ม
- โดยจดั ให้มี การพฒั นาระบบการศึกษาทางไกลเพื่อเพม่ิ คุณภาพและโอกาส กาหนดช่วงเวลาทเ่ี หมาะสม
สาหรับทุกส่ือ
- ทุนการศึกษาแก่เดก็ ยากจนและเดก็ ด้อยโอกาส รวมท้งั พฒั นาการศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

อ้างองิ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วชิระ วชิ ชวุ รนันท์
อา้ งองิ : pornchai phokanyo
อ้างอิง : รายงานของคณะกรรมการอิสระเพอ่ื การปฏริ ูปการศึกษา

5.ปัญหาการผลติ และพฒั นากาลงั คนเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพ
การอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาปัจจุบนั ไม่สามารถตอบสนองความต้องการเพื่อผลติ และ
พฒั นากาลงั คนให้มีประสิทธิภาพและศักยภาพในการแข่งขันกบั นานาประเทศได้

5.ปฏิรูประบบการผลติ และพฒั นากาลงั คนเพื่อเพม่ิ ศักยภาพการแข่งขนั
- ในระดบั อาชีวศึกษาควรเน้นภาคปฏิบัติ ในสถานประกอบการและให้ความสาคญั กบั ด้าน
คุณภาพมากกว่าปริมาณ

อ้างองิ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วชริ ะ วิชชวุ รนันท์
อา้ งอิง : pornchai phokanyo
อา้ งอิง : รายงานของคณะกรรมการอิสระเพือ่ การปฏริ ูปการศึกษา

การปฏิรปู การศกึ ษา พ.ศ.2562

ตามท่รี ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย มาตรา 258 จ. บญั ญตั ใิ ห้มกี าร
ดาเนนิ การปฏริ ูปประเทศด้านการศกึ ษา และมาตรา 261 บัญญตั ิให้การปฏิรูป
ดังกล่าวมีคณะกรรมการท่ีมคี วามเปน็ อิสระคณะหนึ่งทค่ี ณะรัฐมนตรีแต่งตงั้
ดาเนนิ การศึกษาและจดั ทาขอ้ เสนอแนะและร่างกฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งในการ
ดาเนนิ การให้บรรลเุ ป้าหมายเพอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรีดาเนินการตอ่ ไป

https://www.kroobannok.com/86656

ซึ่งประเด็นปฏริ ปู ที่มีลาดบั สาคญั สูงสุดและตอ้ งดาเนินการใหบ้ รรลผุ ลใหไ้ ดใ้ นระยะ
เร่งด่วนมี 6 ประเดน็ คอื

1.ยกเคร่ืองระบบการศกึ ษา โดยการบังคบั ใช้รา่ งพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติฉบับ
ใหม่รวมถึงกฎหมายสาคญั อน่ื ได้แก่ รา่ งพระราชบญั ญตั ิการพฒั นาเด็กปฐมวยั พ.ศ. .... ร่าง
พระราชบญั ญัติพ้ืนทน่ี วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญตั ิการอดุ มศึกษา พ.ศ. .... และ
การจดั ต้งั สถาบนั หลกั สตู รและการเรียนรแู้ ห่งชาติ

2.บกุ เบิกนวตั กรรมของการจดั การศึกษาระดับโรงเรียน กลมุ่ โรงเรยี น หรือการจดั การระดับ
พน้ื ที่ โดยใหโ้ รงเรยี นเป็นศูนย์กลางของการยกระดับคณุ ภาพของการศกึ ษา ผ่านการขับเคล่ือนเร่ือง
สถานศกึ ษาท่ีมีความเป็นอสิ ระในการบริหารจัดการและระบบนิเวศที่สนบั สนนุ การดาเนินการของ
การศึกษา

https://www.kroobannok.com/86656

3.นาเสนอแนวทางการปรับหลักสูตรการจดั การศกึ ษาในระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานไปสหู่ ลกั สูตร
ฐานสมรรถนะ และรูปแบบการปรบั หลกั สตู รในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-3 จัดตง้ั สถาบันหลักสตู รและการ
เรียนรูแ้ ห่งชาติเพอื่ เป็นเสมือนศูนยค์ วามเปน็ เลิศในการวิจยั พฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตรและการเรยี นรู้
แหง่ ชาตเิ พ่อื เปน็ เสมอื นศูนยค์ วามเป็นเลิศในการวจิ ัย พฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สูตร การจัดการเรยี นการสอน
และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ สาหรบั การจดั การศกึ ษาในระดับตา่ ง ๆ

4.สร้าง “ดจิ ิทลั แพลตฟอร์มเพอ่ื การเรียนรูแ้ ห่งชาติ” ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ิทัล นาความรู้
และวธิ ีการเรียนรไู้ ปสโู่ รงเรียน นกั เรียน และครทู ั่วประเทศ โดยเฉพาะในท้องถิน่ หา่ งไกล
https://www.kroobannok.com/86656

5.จดั ระบบการผลติ ครใู หม้ ีคณุ ภาพและสมรรถนะความเป็นครู ผา่ นการจดั ตงั้ กองทุนหรอื
แผนงานเพอ่ื การผลิตและพฒั นาครูสาหรับครูรุ่นใหม่ และพฒั นาบัณฑิตครูทม่ี อี ยใู่ หต้ รงตามความ
จาเปน็ ของประเทศ ในระยะแรกเน้นครูปฐมวยั และครปู ระถมศกึ ษาสาหรับท้องถ่นิ ขาดแคลน

6.ให้มกี ารแต่งต้ังคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติ ตามท่ีกาหนดไว้ในร่าง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหมเ่ พื่อเปน็ กลไกหลกั ในการขบั เคลื่อนแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
และการปฏริ ูปการศึกษาให้เร่ิมดาเนนิ การได้และมีความตอ่ เน่ืองในระยะยาว

https://www.kroobannok.com/86656

4. ใบประกอบวชิ าชีพครู

ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครู หมายถงึ หลกั ฐานซง่ึ ออกใหผ้ มู้ ีคณุ สมบตั ิตามมาตรฐานความรูแ้ ละมาตรฐาน
ประสบการณว์ ชิ าชีพท่ีครุ ุสภารบั รองมีสทิ ธิประกอบวิชาชีพครู ซง่ึ เป็นวชิ าชีพควบคมุ ตามกฎหมาย

อ้างองิ จาก : เพจคุรุสภา จากเวบ็ ไซต์ https://www.ksp.or.th/

คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนญุ าตประกอวิชาชีพทางการศึกษา

1.มอี ายไุ ม่ตา่ กว่ายสี่ ิบปี บริบูรณ์
2.ผู้มคี ุณวุฒทิ สี่ าเร็จการศึกษาในประเทศไทย หรือต่างประเทศ
3.ผ่านการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาตามหลกั สูตรปริญญาทางการศึกษาเป็ นเวลา
ไม่น้อยกว่า 1ปี

อ้างองิ จาก : จากข้อบังคบั คุรุสภาว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
โดย ณฏั ฐพล ทปี สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประธานกรรมการคุรุสภา
จากเวบ็ ไซต์ http://www.ratchakitcha.soc.go.th

โทษทางวนิ ัยมี 5 สถาน คือ ไม่ร้ายแรง
1.ภาคทณั ฑ์
อ้างองิ จาก : โดย ผศ.ดร. กลั ยาณี พรมทอง 2.ตดั เงนิ เดือน
จากเวบ็ ไซต์ http://www.ipebk.ac.th/ 3.ลดเงนิ เดือน

ร้ายแรง
4.ปลดออก
5.ไล่ออก

ความผดิ ไม่ร้ายแรง ภาคทณั ฑ์

อ้างองิ จาก : โดย ผศ.ดร. กลั ยาณี พรมทอง ทาผดิ เลก็ น้อย และมเี หตุอนั ควรงดโทษ
จากเวบ็ ไซต์ http://www.ipebk.ac.th โดยทาเป็นคาสงั่ และใหท้ าทนั ฑบ์ นเป็น
หนงั สือ หรือทาเป็นหนงั สือวา่ กล่าวตกั เตือน
กไ็ ด้ เช่น พดู มึงกกู บั นกั เรียน เรียกช่ือพอ่ แม่
เป็นช่ือนกั เรียน

ตัดเงนิ เดือน

ตดั เงินเดือนคร้ังหน่ึงในอตั ราร้อยละ 2 หรือ
ร้อยละ 4 ของเงินเดือนท่ีผนู้ ้นั ไดร้ ับในวนั ท่ีมี
คาสง่ั ลงโทษ เป็ นเวลา 1 เดือน 2 เดือน หรือ 3
เดือน เช่น มาสายบ่อยคร้ัง โดยไม่มีเหตุผลอนั
สมควร

อ้างองิ จาก : โดย ผศ.ดร. กลั ยาณี พรมทอง ลดข้นั เงินเดือน ไดค้ ร้ังหน่ึงในอตั ราร้อย
จากเว็บไซต์ http://www.ipebk.ac.th ละสองหรือร้อยละส่ีของเงินเดือนที่ผนู้ ้นั
ไดร้ ับในวนั ที่มีคาสง่ั ลงโทษ

เช่น เป็นกรรมการตรวจรับพสั ดุ ลงชื่อ
ในใบตรวจรับวา่ ของถูกตอ้ งครบถว้ น
ภายหลงั ปรากฏวา่ ไม่มีของท่ีตรวจรับ

ความผดิ ไม่ร้ายแรง สามารถยนื่ อุทธรณ์ต่อ กศจ. ภายใน30วนั นบั แต่รับคาสงั่

เป็นการลงโทษใหพ้ น้ จากราชการ

ความผดิ ร้ายแรง ปลดออก

อา้ งอิงจาก : โดย ผศ.ดร. กลั ยาณี พรมทอง โดยรับบาเหน็จ บานาญเสมือนผนู้ ้นั ลาออกจากราชการ
จากเวบ็ ไซต์ http://www.ipebk.ac.th เช่น ครูดนตรีแอบเอาเครื่องดนตรีซ่ึงอยใู่ นความดูแล
รักษาไปจานา

ไล่ออก

โดยไม่ได้รับบาเหน็จ บานาญ เช่น ไม่ไปสอน
หนงั สือติดต่อกนั เกินกวา่ 15 วนั โดยไม่มีเหตผุ ล
อนั สมควร

ความผดิ ร้ายแรง สามารถยนื่ อุทธรณ์ต่อ กคศ. ภายใน30วนั นบั แต่รับคาสง่ั

ไม่ร้ายแรง

ผบู้ งั คบั บญั ชาผมู้ ีอานาจสงั่ ลงโทษ ตามกฎ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยอานาจการลงโทษภาคทณั ฑ์
ตดั เงินเดือน หรือลดเงินเดือน ผอู้ านวยการสถานศึกษา ลงโทษภาคทณั ฑ์ หรือ

ตดั เงินเดือนคร้ังหน่ึงในอตั ราร้อยละ 2 หรือร้อย
ละ 4 ของเงินเดือนท่ีผนู้ ้นั ไดร้ ับในวนั ท่ีมีคาสง่ั
ลงโทษ เป็นเวลา 1 เดือน 2 เดือน หรือ 3 เดือน

ผู้มอี านาจส่ังลงโทษ นายกรัฐมนตรีในฐานะหวั หนา้ รัฐบาล รัฐมนตรีเจา้
สงั กดั ปลดั กระทรวง เลขาธิการ อธิบดีอธิการบดี
อา้ งอิงจาก : สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการ
ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ศึกษาธิการภาค ศึกษาธิการจงั หวดั ผอู้ านวยการ
จากเวบ็ ไซต์ : 0303nitikon(1).pdf
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา อานาจลงโทษภาคทณั ฑ์
ตดั เงินเดือน หรือลดเงินเดือนไดค้ ร้ังหน่ึงในอตั ราร้อย
ละ 2หรือร้อยละ 4 ของเงินเดือนท่ีผนู้ ้นั ไดร้ ับ

ร้ายแรง

การสงั่ ลงโทษวนิ ยั อยา่ งร้ายแรงหรือการสงั่
ลงโทษตามมติ กศจ.อ.ก.ค.ศ.ที่ ก.ค.ศ.ต้งั หรือ
ก.ค.ศ. ผมู้ ีอานาจสงั่ ลงโทษตามมติคือ ผมู้ ีอานาจ
สง่ั บรรจุตามมาตรา 53 หรือผสู้ ง่ั แต่งต้งั
คณะกรรมการสอบสวน หรือ
ผบู้ งั คบั บญั ชาผไู้ ดร้ ับรายงานแลว้ แต่กรณี

อา้ งอิงจาก : สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

จากเวบ็ ไซต์ : 0303nitikon(1).pdf

การต่ออายุใบประกอบวชิ าชีพครู ก่อนทใ่ี บอนุญาตจะหมดอายุ

อา้ งองิ จาก : เพจครุ สุ ภา ผไู้ ดร้ ับใบอนุญาตที่จะขอต่ออายใุ บอนุญาตต้องยื่นคา
จากเว็บไซต์ : ขอพร้อมเอกสาร 180 วนั ก่อนวนั ทใี่ บอนุญาตจะ
https://www.ksp.or.th/ksp2018/ หมดอายุ

กรณใี บอนุญาตประกอบวชิ าชีพหมดอายุแล้ว

ผยู้ น่ื คาขอต่ออายใุ บอนุญาตหลงั จากวนั ท่ีใบอนุญาต
หมดอายแุ ลว้ ชาระเป็ นเงนิ เดือนละ 200 บาท แต่ไม่เกนิ
2,000 บาท กรณีระยะเวลาที่ล่าชา้ นบั ไดไ้ ม่ถึง 1 เดือน
ใหน้ บั เป็น 1 เดือน และตอ้ งดาเนินการต่ออายจุ นกวา่
ใบอนุญาตจะมีอายใุ ชไ้ ด้

สามารถย่ืนคาขอต่ออายุที่

1.ยน่ื ผา่ นระบบ KSP Self Service และ KSP School
2.สานกั งานเลขาธิการคุรุสภา (ส่วนกลาง)

อนุญาตให้ประกอบวชิ าชีพ สถานศึกษาช้ีแจงเหตุผลความจาเป็น หรือ
โดยไม่มใี บประกอบวชิ าชีพครู ความขาดแคลน ตอ้ งรับบุคคลเขา้ ประกอบ
วชิ าชีพครู
อ้างอิงจาก : เพจคุรสุ ภา
จากเว็บไซต์ : สานักงานเลขาธิการครุ ุสภา วนั ท่ี 8 ระยะเวลาการอนุญาตคร้ังละไม่เกิน ๒ ปี และ
กันยายน 2557 ตอ้ งพฒั นาตนเองใหม้ ีคุณสมบตั ิตามขอ้ บงั คบั
คุรุสภา

สถานศึกษาตอ้ งขออนุญาตเป็นการเฉพาะราย
ผา่ นตน้ สงั กดั

ถา้ หากปฏิบตั ิการสอนผดิ เงื่อนไข หรือไม่
สามารถพฒั นาตนเองตามหลกั เกณฑ์ เง่ือนไข
การอนุญาต การอนุญาต
ดงั กล่าวเป็นอนั สิ้นสุด

สรุป กฏหมายสาหรบั ครู
กฏหมาย คือ กฏที่สถาบันหรอื ผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐตราขน้ึ
หรือที่เกิดขึน้ จากจารีตประเพณอี นั เปน็ ทีย่ อมรับนบั ถือในสมยั
รชั กาลทีห่ นึง่ ถงึ รชั กาลที่สี่ใช้กฎหมายตามระบบกฏหมายจารตี
ประเพณสี มัยรัชกาลท่หี า้ ใช้ระบบกฎหมายลายลกั ษณ์อักษรรัชกาล
ทเี่ จด็ ใชร้ ฐั ธรรมนญู

สภาพการณ์การพฒั นาวชิ าชีพ ความรู้ ทันสมยั
และทนั ต่อการเปล่ียนแปลง

คณะผ้จู ดั ทา สภาการณก์ ารพัฒนาวิชาชีพ ความรู้ ทนั สมัย และทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง

นายธนธรณ์ โตสงค์ นางสาวปัณฑติ า แสงแกว้ นางสาวปวันรัตน์ บุญเรือง
รหสั นกั ศึกษา 63121860051 รหสั นักศึกษา 63121860043 รหสั นกั ศึกษา 63121860040

การยกระดบั และการพัฒนาครปู จั จบุ นั
ในประเทศไทย

1.การผลติ ครู (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2560)
• สถาบนั การผลิตควรเป็นสถาบันเฉพาะทาง เชน่ วทิ ยาลยั ครู

มหาวทิ ยาลยั เพ่อื ผลติ ครูโดยเฉพาะ
• หลักสตู รผลติ ครูของไทยในปัจจุบนั มี 3 ลกั ษณะ
1. หลักสตู รผลิตครกู ารศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานระดับปรญิ ญาตรี (หลกั สตู ร 4

ปี)
2. หลักสูตรผลิตครูการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานระดับปรญิ ญาตรี (หลกั สูตร 2

ปี) สาหรบั ผ้จู บปรญิ ญาตรีสาขาอืน่ และประสงค์ศกึ ษาต่อวชิ าชีพครู
3. หลักสตู รผลิตครูระดบั ปริญญาโททางการสอน (หลักสูตร 3 ป)ี

อา้ งอิงจาก สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2560


Click to View FlipBook Version