The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by littlevoice434, 2021-07-17 23:18:37

สุรีย์พร

สุรีย์พร

สมุดบนั ทึกชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 47

ช้ัน ๖ กระบวนการพัฒนานกั เรยี น / สงั เกตการสอน (วงรอบที่ ๘)
เรอ่ื งท่ีจะทำการพฒั นา/สอน เร่ือง ขั้นตอนการเล้ียงสตั วเ์ พื่อจำหนา่ ย

บทท่ี ๔ งานเกษตร รายวิชาการงานอาชีพ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง

ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ งานเกษตร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒
รหัสวิชา ง ๒๑๑๐๑ รายวชิ าพนื้ ฐานการงานอาชพี เวลา ๒ ช่ัวโมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี
เร่ือง ขัน้ ตอนการเลย้ี งสตั วเ์ พอ่ื จำหน่าย

๑. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการ
จัดการทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้
พลงั งาน ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ ม เพอื่ การดำรงชีวติ และครอบครัว

ตัวช้วี ัด
ง ๑.๑ ม.๒/๑ ใชท้ ักษะการแสวงหาความร้เู พอ่ื พัฒนาการทำงาน
ง ๑.๑ ม.๒/๒ ใชท้ กั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน
ง ๑.๑ ม.๒/๓ มจี ิตสำนกึ ในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบตั ิงานอย่างประหยัดและคุ้มคา่
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. อธิบายความสำคัญของคุณสมบัติของสตั วเ์ ลย้ี ง (K)
๒. วิเคราะห์ขนั้ ตอนการเล้ียงสตั ว์เพ่ือจำหนา่ ยได้อย่างถูกตอ้ ง (P)
๓.เห็นความสำคัญของการเลยี้ งสตั ว์เพอื่ จำหน่ายเพ่ือสรา้ งอาชีพและรายไดใ้ ห้กบั ตนเองและครอบครัว (A)
๓. สาระสำคญั
การเลยี้ งสตั ว์แตล่ ะชนดิ ผเู้ ล้ียงสตั วจ์ ะต้องศึกษาข้นั ตอนในการเล้ยี งสตั ว์อย่างรอบคอบ เพือ่ ใหส้ ตั ว์
เจริญเติบโตได้ดีไมเ่ ปน็ โรค และใหผ้ ลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพ คมุ้ ค่ากับการลงทนุ
๔. สาระการเรียนรู้
ขนั้ ตอนการเลี้ยงสตั วเ์ พอ่ื จำหนา่ ย
๕. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา

สมดุ บันทึกชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศึกษา หนา้ 48

๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
๖. สอื่ และอปุ กรณ์
๑. หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2
๒. แหลง่ การเรียนรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น

ข้ันตอน / การจดั กิจกรรม/
“การพฒั นาทกั ษะการทำงานรว่ มกนั โดยใชก้ ระบวนการ UPTAFP”

๗. ขน้ั ตอนการดำเนนิ กิจกรรม

ขัน้ ศกึ ษาเขา้ ใจในส่งิ ท่ีพบเห็น (Understand)
๑. นกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาเกย่ี วกบั ความสำคญั ของคณุ สมบัตขิ องผเู้ ลย้ี งสตั ว์ โดยตอบคำถาม ดงั นี้

• เพราะเหตใุ ดมนุษย์จงึ ตอ้ งมกี ารเล้ยี งสตั ว์
(ตวั อยา่ งคำตอบ การเลย้ี งสัตว์ทำให้มนษุ ยม์ ีแหล่งอาหาร มีอาชีพ และมรี ายได้รวมไปถงึ
การสรา้ งความเพลดิ เพลนิ ใหก้ ับมนษุ ย์ได)้
• ผเู้ ล้ียงสัตว์ควรมคี ุณสมบัติอยา่ งไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ ต้องดูแลเอาใจใส่ ให้อาหาร ทำความสะอาดทอี่ ยู่อาศัย ปอ้ งกันและรกั ษาโรค
ทเ่ี กดิ ข้นึ กับสตั ว์ท่ีเลีย้ ง และพฒั นาวธิ ีการเล้ียงอยเู่ สมอ)
• การมคี ณุ สมบตั ดิ ังกลา่ วส่งผลตอ่ สตั ว์ทีเ่ ลี้ยงอย่างไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ สัตว์เจริญเติบโตได้ดี ไมม่ โี รค และใหผ้ ลผลิตที่มีคณุ ภาพควรคา่ แก่การลงทุน)
๒. นกั เรยี นรว่ มกนั ศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกับขั้นตอนการเลีย้ งสตั ว์เพ่อื จำหน่าย
จากแหล่งการเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย เช่น หนงั สอื เรยี น อนิ เทอรเ์ นต็

ขน้ั แบ่งกลมุ่ และกำหนดบทบาทสมาชกิ ในกลุ่ม (Team)
๓. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ร่วมกันแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบในการทำชิ้นงาน ตามความสามารถและ

ความถนดั ของแตล่ ะคน

ขั้นวางแผนการปฏบิ ัติ (Plan)
๔. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั วางแผนการทำงาน จากน้นั รว่ มกนั วเิ คราะห์เกยี่ วกับขั้นตอนการเลย้ี งสัตว์
โดยตอบคำถาม ดังน้ี

• การเลย้ี งสัตวใ์ หเ้ จรญิ เตบิ โตไดด้ ี ไมม่ ีโรค และให้ผลผลติ ทม่ี ีคุณภาพ คมุ้ ค่าแก่การลงทนุ
มีข้ันตอนอะไรบ้าง และขน้ั ตอนดังกล่าวเปน็ การปฏบิ ตั ิอยา่ งไร

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หนา้ 49

ขน้ั ลงมือปฏบิ ตั ิ (Action)
๕. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ วางแผนเล้ียงสตั วท์ ่ตี นสนใจมา 1 ชนิด แล้วสรปุ ขน้ั ตอนในการเลยี้ งสตั วใ์ ห้
เจรญิ เตบิ โตได้ดี ไม่มโี รค และใหผ้ ลิตผลทม่ี คี ุณภาพ แล้วนำเสนอ

ขั้นติดตามการปฏบิ ัติและปรับปรุง (Follow up )
๖. นกั เรยี นตรวจสอบความถูกต้องและความเรยี บร้อยของผลงาน หากพบขอ้ ผิดพลาดควรปรับปรุง
แกไ้ ขใหถ้ กู ต้องและสรปุ ส่งิ ทเี่ ข้าใจเป็นความรรู้ ่วมกัน ดังน้ี

การเลยี้ งสตั ว์แตล่ ะชนิดผเู้ ลย้ี งสัตวจ์ ะต้องศึกษาขั้นตอนในการเลยี้ งสัตวอ์ ย่างรอบคอบ
เพือ่ ให้สัตว์เจรญิ เตบิ โตไดด้ ีไม่เปน็ โรค และให้ผลผลติ ทม่ี ีคณุ ภาพ คุ้มคา่ กับการลงทนุ

ขัน้ นำเสนอและประเมนิ ผล นำไปใช้ (Present and Evaluate)
๗. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอผลงาน
๘. เพอ่ื นแตล่ ะกลมุ่ และ ครูชว่ ยกนั ประเมนิ ผลพรอ้ มบอกขอ้ เสนอแนะ

ชอ่ื คพู่ ัฒนา (buddy) นางศศพิ ัชร์ ชงโคสนั ตสิ ขุ ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ
ข้อแลกเปล่ยี นของคู่พัฒนา (buddy)

ควรใช้ส่ือการสอนเพือ่ เพิ่มความเขา้ ใจของผู้เรยี น

กิจกรรมท่ี ๒ ปรบั ปรงุ แผน ฯ ใหม่ / กระบวนการสอนใหม่ (Do) จำนวน ๑ ชวั่ โมง

กระบวนการ / แนวทาง ขน้ั ตอน

ได้ปรับปรุง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใช้สื่อประกอบเพ่ือเพิ่มความเข้าใจให้แก่นักเรียน เช่นส่ือ

อินเตอรเ์ น็ต และรปู ภาพ

กจิ กรรมท่ี ๓ เยีย่ มชั้นเรียน / เชียรใ์ หก้ ำลงั ใจ (See) จำนวน ๑ ชว่ั โมง

ผู้ร่วมสนทนา (คู่ Buddy) นางศศิพัชร์ ชงโคสนั ตสิ ุข ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ

เมื่อวนั ที่ ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ณ หอ้ งเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา ๑๐.๒๐ น.

สงิ่ ทพี่ บเหน็ ขณะการสังเกตการสอน/เยี่ยมชนั้ เรียน
พฤติกรรมการเรียน / ส่ิงทพี่ บจากผลงานนกั เรยี น
นกั เรยี นบางคนยงั ไม่ใหค้ วามรว่ มมือในการทำงานกลมุ่ ครง้ั นี้เท่าทคี่ วร
พฤตกิ รรมการสอน
ผสู้ อนจัดกจิ กรรมตามกระบวนการ “การพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกัน โดยใช้กระบวนการ
UPTAFP” ไดค้ รบทุกข้นั ตอน

สมุดบนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 50

การพดู คุยหลงั การสังเกตการสอน
การจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ การทำกจิ กรรมกลมุ่ นบั วา่ เป็นกระบวนการเรียนท่ีดี ฝกึ นักเรยี นเรยี นรู้
จกั การคดิ การวิเคราะห์ การแบ่งหนา้ ท่ีในการทำงาน ร้จู กั การเปน็ ผนู้ ำและผูต้ ามทีด่ ี

กิจกรรมท่ี ๔ การสะท้อนผลการปฏิบัติ (Reflection) จำนวน ๑ ชว่ั โมง

ผู้รว่ มสนทนา (คู่ Buddy) นางศศพิ ัชร์ ชงโคสนั ตสิ ุข ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ

เมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ณ ห้องพกั ครู เวลา ๑๕.๑๐ น.

อะไรทำได้ดคี วรคงอยู่
การกระตุน้ ให้ผู้เรยี นช่วยกนั ระดมความคดิ การทำงานร่วมกนั เป็นทีม

ปัญหาทีเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การเรียนรู้
-

ควรแก้ไขอะไรบ้าง
-

สรปุ เวลาข้ัน ๖ วงรอบที่ ...๘.. จำนวน ....๕..... ชวั่ โมง ลงชื่อ ...................................................................

(นางสุรยี ์พร หม่นื ใจ)
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ

สมดุ บันทึกชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศึกษา หนา้ 51

ขัน้ ๗ ถอดบทเรียนหลังปฏบิ ตั กิ าร (AAR-After Action Review)

เมอ่ื วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องประชุมขนุ สนั ทรายทรงศกั ด์ิ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.

สมาชิกกลุ่มทรี่ ว่ มวงสุนทรยี สนทนา (Dialogue)

1) นางยพุ ิน พิลาแดง ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

2) นางสุรียพ์ ร หม่ืนใจ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ

3) นางศศพิ ชั ร์ ชงโคสันติสขุ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ

4) นางมาลัย ทพั หมี ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ

5) นางสาวชนกานต์ ทพิ ย์อุน่ ตำแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ

6) ดร.ชนนั ทธ์ ิดา ประพณิ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ

7) ดร.ปรียาดา ทะพิงค์แก ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

8) นายพิสิฐศักดิ์ ดวงพรม ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

9) นางปนางฐติ ิยา จองหม่งุ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

10) นายสุดสาคร จนั ทะลา่ มตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น วิทยฐานะ ผอู้ ำนวยการชำนาญการพิเศษ

11) นางฉนั ทนา ศรีศลิ ป์ ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรยี น วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการเชยี่ วชาญ

12) นายนราธิป โทบุราณ ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน วทิ ยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการ

กิจกรรม ๗.๑ กจิ กรรม (AAR-After Action Review) ภายในกลมุ่

๑) ส่งิ ทท่ี ำได้ดี และควรรกั ษาไว้ ให้มีต่อไป

- รูปแบบการจดั การเรียนรู้ “การพฒั นาทักษะการทำงานเปน็ กลุ่ม ดว้ ยกระบวนการ UTPAFP”

1. ข้นั ศึกษาเขา้ ใจในสงิ่ ที่พบเหน็ (Understand)
2. ขัน้ แบ่งกลุม่ และกำหนดบทบาทสมาชิกในกลมุ่ (Team)
3. ขั้นวางแผนการปฏบิ ัติ (Plan)
4. ขั้นลงมือปฏิบตั ิ (Action)
5. ขนั้ ติดตามการปฏิบัตแิ ละปรับปรงุ (Follow up )
6. ขน้ั นำเสนอและประเมนิ ผล นำไปใช้ (Present and Evaluate)

- มีการใช้กระบวนการแบง่ กล่มุ ทชี่ ัดเจน เหมาะสมกับแต่ละช่วงภาระงานท่ีมอบหมายใหผ้ เู้ รยี น

๒) ถึงเป้าหมายตามที่กำหนดไวต้ ามแผนหรือไม่
- เปน็ ไปตามเปา้ หมาย นกั เรียนมที ักษะการทำงานร่วมกนั โดยใชก้ ระบวนการ UPTAFP” อย่าง
ตอ่ เนอื่ ง

๓) ปญั หา อปุ สรรค ระหวา่ งการทำงาน
- การเลอื กกจิ กรรม ใหเ้ หมาะสมกบั ระยะเวลาการเรียนรทู้ ม่ี ีจำกัด

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หนา้ 52

๔) ไดเ้ รียนร้อู ะไรจากการกจิ กรรมนี้

- ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา เร่ือง “การพัฒนาทักษะการทำงานเป็น
กลุม่ ดว้ ยกระบวนการ UTPAFP”

- สามารถพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียนได้ โดยครูเป็นผู้คอยสังเกตพฤติกรรม ช้ีแนะ
ส่งเสริม กระบวนการท่ีเหมาะสมกับบริบทของภาระงาน สามารถนำไปใช้ให้เข้ากับเนื้อหาวิชาการงานอาชีพ
ในระดบั ชนั้ ท่ีสอนได้

- การทำกจิ กรรมกลุม่ โดยใหเ้ พื่อนชว่ ยเพื่อน ซึ่งสามารถชว่ ยพฒั นาทักษะการแกป้ ัญหาได้
- การเสริมแรงบวกให้กบั ผู้เรยี นชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความมน่ั ใจ

๕) แนวทางการนำไปปรบั ปรุงคร้งั ต่อไป
- กระตุ้นการมีสว่ นรว่ มในการรวมกลุ่ม ให้ทำกจิ กรรมท่ีหลากหลาย เพอื่ เป็นตัวเลือกทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะ
สถานการณ์
- เพิ่มการกระตุ้นใหน้ ักเรียนมสี ว่ นรว่ ม และตระหนกั ถงึ บทบาทหนา้ ท่ขี องตนเองใหม้ ากข้ึน
- การสอนทักษะการแก้ปัญหาดว้ ยรปู แบบอ่ืน ๆ เพอื่ ตอ่ ยอดในการสรา้ งนวตั กรรม

๖) ข้อพงึ ระวงั ทค่ี วรใหค้ วามสำคัญ
- การสรา้ งภาระงาน ต้องเปน็ ช้ินงานทีท่ ำเสรจ็ ภายในวเลาเรยี นไม่ยืดเย้ือ หรือใชร้ ะยะเวลานานหลาย
สปั ดาห์

สรุปเวลาขนั้ ๗ จำนวน ๓ ชว่ั โมง ลงชือ่ ...................................................................
(นางสุรยี ์พร หมน่ื ใจ)

ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาณการพิเศษ

สมุดบันทึกชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 53

แบบติดตาม (Monitoring) การดำเนนิ งานของกลุ่ม PLC

รายการที่สะทอ้ น เปน็ แบบ ยอมรบั ควร
อยา่ งได้ ได้ พัฒนา
ข้อ ๑ ตัง้ กลุ่มร่วมปณธิ าน
๑) กจิ กรรมการสรา้ งความคนุ้ เคยรอู้ ะไรไม่สูร้ ้จู ักกัน 
๒) การแสดงบทบาทของแตล่ ะบทบาทของสมาชิกชมุ ชน

ขอ้ ๒ ค้นหาปญั หา/ความต้องการ
๓) สุนทรียสนทนาปญั หาการเรียนรู้ของนกั เรยี น 
๔) เลอื กปญั หาความตอ้ งการที่มรี ว่ มกนั สว่ นใหญ่

ขั้น ๓ ร่วมกนั หาแนวทางออก
๕) ถอดบทเรียนวธิ กี ารแก้ปญั หาจากประสบการณ์เร่อื งเลา่ เลา้ พลงั 
๖) เลอื กหลักวชิ าการทีส่ อดคล้องกบั ประเด็นปญั หาท่จี ะแก้ 

ชั้น ๔ ออกแบบกิจกรรมวธิ กี าร กระบวนการ นวตั กรรม
๗) ออกแบบกระบวนการแกป้ ญั หาท่ีผสมระหวา่ งประสบการณแ์ ละ

หลกั วชิ าการ
๘) แลกแลกเปล่ียนเรียนรู้เติมเต็ม แนวทางการแกป้ ัญหาทก่ี ลมุ่

ออกแบบ
ขั้น ๕ การแลกเปล่ียนแบง่ ปันปรับแต่ง ความคิดเชงิ นวัตกรรม

๙) หาขอ้ มลู ความรู้เพ่มิ เตมิ รับขอ้ เสนอแนะจากผู้เชย่ี วชาญ
๑๐) สรุปขนั้ ตอนการแกป้ ัญหาทำเป็นกรอบแนวคดิ เชงิ นวัตกรรม
ขั้น ๖ การนำสกู่ ารปฏบิ ตั ิสงั เกตการสอนเยย่ี มชัน้ เรียน
๑๑) วางแผนปฏิบัติในชน้ั เรียน
๑๒) สงั เกตการสอนเย่ียมช้ันเรียนและเกบ็ ข้อมูล
ขน้ั ๗ สะท้อนผลการเรยี นรู้ (AAR)
๑๔) อภิปรายผลการสังเกตการสอนและปรบั ปรงุ แกไ้ ข
๑๕) สรุปผลวธิ กี ารแกป้ ญั หาที่ไดผ้ ลดตี อ่ การเรียนรู้ของนกั เรยี น

(ลงชอ่ื ) .............................. ....................... ผู้อำนวยการโรงเรียน
(นายสดุ สาคร จนั ทะลา่ ม)

ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ

สมุดบันทึกชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศึกษา หน้า 54

(ลงชอื่ ) หัวหนา้ / ครทู เี่ ปน็ ต้นแบบท่ีดี
( นางยุพิน พลิ าแดง )
วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ
ตำแหน่ง ครู สาขา สังคมศกึ ษา
วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ครุศาสตรบ์ ัณฑติ
ครทู ี่เปน็ ต้นแบบท่ดี ี / คพู่ ัฒนา
สถาบนั มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
(ลงช่ือ)

(นางสรุ ยี พ์ ร หมน่ื ใจ )

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบรหิ ารการศึกษา

สถาบัน มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบุรี

(ลงช่ือ) ผู้สะท้อน
(นายสุดสาคร จนั ทะลา่ ม )
วทิ ยฐานะ ผ้อู ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา
วุฒิการศึกษาสูงสุด ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ
ผ้สู ะท้อน
สถาบนั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
วทิ ยฐานะ รองผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ
(ลงชอ่ื ) สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา
(นางฉนั ทนา ศรศี ิลป์ )

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน
วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ

สถาบัน มหาวทิ ยาลัยพษิ ณโุ ลก

(ลงช่อื ) ผสู้ ะท้อน
(นายนราธิป โทบรุ าณ)
วทิ ยฐานะ รองผูอ้ ำนวยการชำนาญการ
ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา
วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สถาบนั มหาวทิ ยาลัยนอรท์ เชียงใหม่

(ลงชื่อ) เลขานุการ / คูพ่ ฒั นา
(นางศศิพัชร์ ชงโคสนั ติสขุ )
วิทยฐานะ ชำนาญการ
ตำแหน่ง ครู สาขา การบรหิ ารการศึกษา
วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ

สมุดบันทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 55

สถาบัน มหาวทิ ยาลยั ฟาร์อีสเทริน

สมดุ บันทึกชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 56

การพิจารณารบั รองชัว่ โมงกจิ กรรม PLC

ชือ่ ผู้ทำกิจกรรม นางสรุ ยี ์พร หม่นื ใจ
บทบาท ครผู สู้ อน (Model Teacher) / คูพ่ ัฒนา (Buddy)

ความเห็น
พิจารณารบั รองชั่วโมงกจิ กรรมการสร้างชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ตามเกณฑต์ ัวชี้วดั ท่ี ๑๓

เร่ือง “การพฒั นาทกั ษะการทำงานรว่ มกัน โดยใช้กระบวนการ UPTAFP”

(  ) จำนวนชวั่ โมงทร่ี บั รอง ๕๐ ชว่ั โมง
( ) อนื่ ๆ

(ลงชือ่ ) ผู้รบั รอง
(นายสุดสาคร จันทะล่าม)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านสนั ปา่ สกั

สมดุ บันทึกชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 57

ภาคผนวก

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 58

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 59

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 60

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 61

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 62

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 63

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 64

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 65

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 66

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 67

สมดุ บันทึกชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC) ระดับสถานศึกษา หน้า 68

หลกั ฐานแสดงการการรวมกลมุ่ Professional Learning Community : PLC

ระดับสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นสนั ป่าสัก
ขน้ั ๑ ต้ังชอื่ /สรา้ งชุมชน

ขั้น ๒ ประเดน็ ปญั หา / ความตอ้ งการพัฒนา

สมดุ บันทึกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 69

ข้ัน ๓ รว่ มกันหาแนวทางแกป้ ัญหา

ขั้น ๔ ออกแบบกิจกรรม / วิธีการ / นวตั กรรม

สมุดบันทึกชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 70

ช้ัน ๕ แลกเปลย่ี น/เสนอแนะ/เขียนกรอบแนวคดิ เชงิ นวตั กรรม

สมุดบันทึกชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ระดับสถานศึกษา หน้า 71

****ชั้น ๖ กระบวนการพฒั นาผู้เรียน / สังเกตการสอน

สมดุ บันทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 72

ชน้ั ๖ กระบวนการพฒั นานกั เรยี น / สงั เกตการสอน (วงรอบท่ี ๑)

ชนั้ ๖ กระบวนการพัฒนานกั เรยี น / สงั เกตการสอน (วงรอบท่ี ๒)

สมดุ บนั ทึกชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 73

ชนั้ ๖ กระบวนการพัฒนานกั เรียน / สังเกตการสอน (วงรอบที่ ๓)

ข้นั ๗ ถอดบทเรยี นหลังปฏบิ ตั กิ าร (AAR-After Action Review)

สมุดบนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศึกษา หน้า 74

สรปุ การดำเนนิ งานการการรวมกล่มุ Professional Learning Community : PLC
ระดบั สถานศึกษา โรงเรยี นบ้านสนั ป่าสัก

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 75

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 76

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 77

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 78

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 79

สมดุ บันทึกชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศึกษา หน้า 80

เกียรตบิ ัตร

สมดุ บนั ทึกชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ระดับสถานศกึ ษา หน้า 81


Click to View FlipBook Version