The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนวัดอมรินทราราม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by p.amarin, 2022-04-07 01:04:56

คู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนวัดอมรินทราราม

34

๑. ต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ้ บังคบั ใหอ้ ยู่ในระเบียบวนิ ัย ของโรงเรียน
๒. ดูแลนักเรยี นใหม้ เี คร่ืองแตง่ กายครบและถูกต้องตามระเบียบของโรงเรยี น
๓. ดูแลนักเรียนให้ไปโรงเรียนทุกวัน และให้ทนั เวลาเขา้ แถวเคารพธงชาติ ถา้ มีความจำเป็น จะตอ้ ง
ไปโรงเรยี นสายใหแ้ จ้งรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารบคุ คล หรือครูเวรประจำวัน
๔. กวดขันตกั เตือนนักเรียนให้เอาใจใส่ต่อการเรียน เปน็ กำลังใจดูแล ทำการบา้ นตรวจ และเซน็ ชื่อ
ในสมดุ การบา้ น ดูแลงานทน่ี กั เรียนได้รบั มอบหมายส่งครตู ามท่ีกำหนด
๕. ดูแลและจัดหาอุปกรณ์การเรียน ของใช้ประจำตัวนักเรียนให้ครบถ้วน เช่น สมุด หนังสือ
ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด ฯลฯ อุปกรณ์การรับประทาน เช่น กระบอกน้ำ ช้อนส้อม และหลัง
รบั ประทานอาหาร เชน่ แปรงสีฟนั และยาสฟี ัน
๖. เงนิ ใชจ้ า่ ยประจำวันควรใหพ้ อดใี ช้ อยา่ ให้มากเกนิ ความจำเปน็
๗. โรงเรียนไมอ่ นุญาตให้นกั เรยี นนำของมคี ่ามาโรงเรียน
๘. กรณีเด็กจะต้องไปทำกิจกรรมนอกโรงเรียนในเวลาเรียนหรือวนั หยุดทางโรงเรยี น จะมีจดหมาย
แจ้งผ้ปู กครองขออนุญาตลว่ งหน้าก่อนทุกครัง้
๙. เด็กทก่ี ลับบา้ นเอง ผู้ปกครองตอ้ งตักเตือนอยา่ ซ้ืออาหารตามร้านริมทางเพราะไม่สะอาดพอ
๑๐. ดูแลการกลับบ้านของนักเรียนให้ตรงเวลา นกั เรียนที่ผปู้ กครองมารับตอ้ งมารบั ในระหว่างเวลา
๑๕.๑๕ – ๑๖.๓๐ น.
๑๑. ไม่สนับสนุนใหน้ ักเรียนซ้ืออาหารและส่ิงของที่ไม่จำเป็นหน้าโรงเรียน เชน่ อาหารที่ไม่สะอาด
ของเล่นฟุ่มเฟือย ซึง่ อาจทำให้นกั เรยี นไดร้ ับอนั ตราย
๑๒. ช่วยกำกับดแู ลความประพฤตินักเรียน ให้ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บของโรงเรยี นอย่างเคร่งครัด
๑๓. ถา้ พบความผดิ ปกตเิ กยี่ วกบั การเรียน และความประพฤตคิ วรติดต่อกับโรงเรยี น
๑๔. ดา้ นสุขภาพอนามยั ถ้าเดก็ มีโรคประจำตัวควรแจ้งให้โรงเรียนทราบ เพอื่ ช่วยเหลอื และปอ้ งกัน
๑๕. การตดิ ตามผลการเรียนของนักเรยี นใหต้ ดิ ตามได้จากสมดุ รายงานของนกั เรียน ถ้ามขี อ้ สงสัยให้
ติดตอ่ ครูประจำชั้น
๑๖. เมื่อได้รับจดหมายเชิญพบจากทางโรงเรียน โปรดให้ความสำคัญไปพบตาม วัน เวลา และ
สถานทีก่ ำหนดทุกคร้ัง ถ้าตอ้ งการเลื่อนการนดั หมายโปรดแจง้ ลว่ งหนา้
๑๗. การประชุมผู้ปกครองเพ่ือสร้างความสัมพันธ์อันดีและทำความเข้าใจระหว่างผู้ปกครองกับครู
โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองนักเรียนทุกคนมาประชุมภาคเรียนละ ๑ คร้ัง หรือตามโอกาสอันควร ดังน้ัน
โรงเรยี นจึงขอความรว่ มมือจากท่านผู้ปกครองทุกท่านมาประชุมตามกำหนดนัดหมายทุกคร้งั เพื่อประโยชน์
ต่อการจดั การทางการศกึ ษาของบตุ รหลานของทา่ น

35

“ความเข้าใจ และความรว่ มมืออนั ดีระหว่างบ้านกบั โรงเรยี นเป็นพลังให้การศกึ ษาของบตุ รหลาน
ของท่าน บรรลุเปา้ หมายโดยสมบูรณ์”

ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เรม่ิ ใชพ้ น้ื ทอี่ าคารเรยี นห้าชั้นสร้างเสร็จในปลายปี ๒๕๖๓ และอาคารเรียน
หลงั เดิมที่สร้างเม่ือ พ.ศ.๒๕๐๔ และ พ.ศ.๒๕๑๓ รวม ๓ หลังโดยมีทางเดินเชอื่ มตอ่ กัน จัดการเรยี นการ
สอน ๔๑ หอ้ งเรยี น ห้องพิเศษ ๘ หอ้ ง หอ้ งพกั ครู ๕ หอ้ ง ห้องประชมุ ๓ ห้อง หอ้ งธรุ การ ๑ ห้อง
ห้องพยาบาล ๑ หอ้ ง โดยมชี ่ือเรยี กอาคารดงั นี้

๑. อาคารอมรนิ ทรามาตย์ เปน็ อาคารเรยี น ๕ ชั้น ประกอบด้วย
- ห้องเรยี น ๓๐ ห้องเรียน
- ห้องคอมพิวเตอร์ ๒ ห้อง
- ห้องพกั ครู ๓ หอ้ ง
- หอ้ งธุรการ ๑ หอ้ ง
- ห้องพยาบาล ๑ หอ้ ง
- หอ้ งประชุมตากสิน ๑ หอ้ ง
- Amarin Minimart ๑ ห้อง
- พนื้ ทชี่ นั้ ล่างสำหรับรบั ประทานอาหาร ๓๘๐ ตร.ม.

๒. อาคารศรีสดุ ารกั ษ์
- ห้องเรยี น ๘ หอ้ งเรียน
- ห้องเรยี นศิลปะ ๑ ห้องเรียน
- หอ้ งพกั ครูดนตรี นาฏศิลป์ ๑ ห้อง
- ห้องพักครูพเิ ศษ ๑ หอ้ ง

๓. อาคารเทพสดุ าวดี
- หอ้ งเรยี นอนุบาล ๓ ห้องเรียน
- หอ้ งวิชาการ ๑ หอ้ ง
- ห้องวิทยาศาสตร์ ๑ ห้องเรียน
- ห้องเรยี นอัจฉรยิ ะ ๑ ห้องเรียน
- หอ้ งประชุมกรงุ ธนบุรี

๔. เรอื นอมรินทร์ (ศาลาไทย) ห้องประชุมและรับรองผูม้ าเยอื นโรงเรยี น

ภาคผนวก

เพลงมาร์ชอมรินทร์

(สรอ้ ย) อมรนิ ทร์ อมรนิ ทราราม สมญั ญาสมนามอรา่ มเหลือ สญั ลกั ษณแ์ ห่งนี้

คือเลอื ดเน้ือ เขยี วเหลอื งประเทืองเจอื สถาบนั

1. เปน็ แหลง่ รวมผลติ ศิษย์สยาม ให้งอกงามความรู้คกู่ ายมน่ั

ฝกึ ปัญหาเชาวไ์ วฉลาดครัน สมานฉันทก์ ตัญญรู ู้คุณ

(สรอ้ ย)

2. หลงั่ เมตตาการุณย์บุญกุศล ดวงกมลอ่อนนอ้ มประนอมจิต

เอ้อื อารียไ์ ม่ตรีแด่มวลมิตร สามัคคีดีสนทิ นิจนริ ันดร์

(สรอ้ ย)

3. ลกู อมรนิ ทราสงา่ ศรี ร่วมใจรกั ภกั ดีพลคี ำมน่ั

สร้างชอื่ เสียงตนเองเผ่าพงศ์พันธุ์ สถาบนั เรืองร่งุ จรุงไกล

(สรอ้ ย)

4. อย่าลมื ว่าเลอื ดและเนื้อเราค่าล้ำ เหลอื งคอื ธรรมนำชพี ย่ิงใหญ่

เขียวโซ่คลอ้ งปองจิตปวงศิษยไ์ ซร้ รกั ร่วมใจสถาบนั ฉนั และเธอ

(สร้อย)

ผู้แตง่ : ผู้อำนวยการทองคำ ผดุงศขุ

ระเบียบสวดมนตไ์ หวพ้ ระ
ใหน้ ง่ั คุกเขา่ หรือยนื พร้อมกัน ประนมมือแคอ่ ก
ใหห้ ัวหนา้ วา่ นำ และคนอ่นื ๆ ว่าตาม ดังนีต้ อ่ ไปน้ี
อรหํ สมฺมาสมฺพุทโธ ภควา พุทธํ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ
(กราบ) (ถา้ ยนื ให้น้อมศีรษะมนสั การ)
สวากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม ธมฺมํ นมสสฺ ามิ (กราบ)
สปุ ฏปิ นโฺ น ภควโต สาวกกงฺโฆ สงฆฺ ํนมามิ (กราบ)

บทแผ่เมตตา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทง้ั หลาย ทเ่ี ปน็ เพื่อนทกุ ข์ เกดิ แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันหมดทัง้ ส้ิน
อะเวรา จงเปน็ สขุ ๆ เถิด อย่าไดม้ ีเวรแก่กนั และกันเลย
อพั ยาปัชฌา จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้เบยี ดเบยี นซึ่งกันและกนั เลย
อะนีฆา จงเปน็ สุขๆ เถิด อยา่ ได้มีความทุกข์กาย ทกุ ข์ใจเลย
สขุ ี อตั ตานัง ปะรหิ ะรนั ตุ จงมคี วามสขุ กายสุขใจ รกั ษาตนให้พน้ จากทุกขภ์ ยั ท้ังสิ้นเถิด

คำแนะนำในการดูแลรกั ษาหนังสอื

เพ่ือใหห้ นังสือมีอายุการใช้งานทีย่ าวนาน และคงทน ควรดแู ลรกั ษาหนงั สือ ดงั นี้
๑. เมือ่ ได้รบั หนังสือใหม่ ควรห่อปกหนงั สือเพ่อื กันไมใ่ หห้ นังสือชำรุด และควรเปิดหนงั สอื ให้ถกู ตอ้ ง
เพือ่ ให้หนงั สอื มอี ายกุ ารใชง้ านที่ยาวนานและคงทน
๒. หยิบ จับ หรอื เปิดหนงั สืออย่างเบามอื
๓. ไมข่ ีดเขยี นขอ้ ความหรือทำความเคร่อื งหมายใด ๆ ลงในหนงั สือ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นรุ่นตอ่ ไปได้ใช้ด้วย
๔. ไม่ควรรับประทานอาหาร ดม่ื นำ้ หรอื ทำกิจกรรมอ่ืน ๆ ขณะอา่ นหนังสือเพราะอาจทำใหห้ นงั สอื
เสียหายหรือเลอะเทอะได้
๕. ไมฉ่ ีก หรือตัดหนังสอื เพราะจะทำใหข้ ้อความบางตอนขาดหายไปไมส่ มบูรณ์
๖. เม่ืออา่ นหนังสือยงั ไม่จบ หรอื จำเป็นต้องหยดุ พกั การอ่าน ควรคัน่ หน้าด้วยวัสดุท่ีมีความบาง
๗. ไม่ควรใหห้ นงั สือเปียกน้ำ เพราะจะทำให้หนงั สือชืน้ ขึน้ ราได้ และเม่อื กระดาษแหง้ กระดาษจะ
พองตัว ทำใหร้ ูปทรงของหนงั สือเปลยี่ นไป
๘. ไม่ควรโยนหนงั สือ เพราะอาจทำใหห้ นังสอื เสียหาย ชำรุด
๙. ไมใ่ ช้หนังสือผิดวตั ถุประสงค์ เชน่ บงั แดด บังฝน หนุนศรี ษะ หรอื ใชเ้ ปน็ ท่ีรองเขยี นหนงั สอื
จะทำให้หนงั สือเป็นรอย และชำรดุ เสียหายได้

คำแนะนำการซอ่ มหนังสอื

การซ่อมหนังสอื เปน็ ลกั ษณะหน่ึงของการอนุรกั ษห์ นังสือด้วยการปรบั แก้ไขสภาพหนังสอื ที่ชำรดุ
เสยี หายให้กลบั คืนสสู่ ภาพดีดังเดมิ จนสามารถนำออกบริการได้อีกครงั้ หนึ่ง

การซ่อมหนงั สือ แบง่ เป็น ๒ ลักษณะ ดงั นี้
๑. การซอ่ มช่วั คราวหรือซ่อมเล็กน้อย เปน็ การซอ่ มทใี่ ช้เวลาไม่มากนัก เนอื่ งจากหนังสือชำรดุ เพยี ง
เล็กนอ้ ย เช่น หนังสือขาดเฉพาะที่ ฉกี ขาดบางหน้า ปกและสันหลุด ฯลฯ ซงึ่ เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
เพื่อไมใ่ ห้หนงั สือเสียหายเพ่ิมมากข้ึนอกี ผใู้ ช้สามารถซ่อมเองได้
๒. การซอ่ มถาวรหรือซ่อมใหญ่ เปน็ การซ่อมหนังสอื ที่ชำรุดคอ่ นข้างมาก ตอ้ งใช้เวลาในการซอ่ มนาน
สถานศกึ ษาอาจจะซอ่ มเอง หรอื ถา้ ชำรุดเสียหายมากจนไม่สามารถซ่อมเองได้ จำเปน็ ต้องสง่ ร้านรบั จ้างซ่อม
สถานศึกษาตอ้ งพจิ ารณาดำเนินการ ซ่งึ ควรทำในชว่ งปดิ ภาคการศึกษา

ทม่ี า

ผศ.เพชรรัตน์ บรสิ ุทธิ์. (๒๕๖๐) การระวังรกั ษาหนังสอื . สบื ค้นเม่อื ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐, จาก
http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo๐๓.html

นรา พิมพ์พันธ.์ (๒๕๖๐). การซ่อมและบำรงุ รกั ษาหนังสือ. สบื ค้นเมื่อ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐, จาก
http://www.ubu.ac.th/web/fils_up/๕๕/f๒๐๑๔๐๘๒๖๑๖๐๔๕๓๓๑.pdf

Library of Congress. (๒๐๑๗). Care, Handling, and Storage of Books. Retrieved February ๑๖,๒๐๑๗
from http://loc.gov./preservation/care/books.html

คณะผจู้ ดั ทำคมู่ อื นักเรยี น

๑. นางภารดี ผางสง่า ผอู้ ำนวยการโรงเรียน
๒. นางสาวจฑุ ามาศ ธวุ ังควฒั น์ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
๓. นายทวี เนื่องอาชา รองผู้อำนวยการโรงเรยี น
๔. นางสาวชนนิกานต์ สงวนไพบูลย์ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
๕. นางนิทรา ฉิ่นไพศาล ที่ปรึกษา
๖. นางสาวชญั ญณสั อธิศักดโ์ิ สภา ครู
๗. นางสาวพิมพ์นภา รอดทอง ครู
๘. นางสาวปรยี าภรณ์ สมบรู ณ์ชยั สกลุ เจา้ หน้าที่ธุรการ
๙. นางสาวสุภาพร จว๋ิ สำอางค์ เจา้ หนา้ ที่ธุรการ
๑๐. นางสายชล บำรุงรมั ย์ เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ
๑๑. นายอโณชา สายศร เจ้าหน้าที่ถา่ ยเอกสาร/จดั ทำรูปเลม่


Click to View FlipBook Version