The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนวัดอมรินทราราม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by p.amarin, 2022-04-07 01:04:56

คู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนวัดอมรินทราราม

โรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม
สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔

คำนำ

โรงเรียนวัดอมรินทราราม เป็นโรงเรียนที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ระดับประถมศึกษา
ในปีการศึกษา ๒๕๓๔ และได้ผ่านการติดตามประเมินการดำรงรักษาสภาพสถานศึกษา ที่ได้รับ
รางวัลพระราชทาน ในปีการศึกษา ๒๕๕๓ เปน็ โรงเรยี นตน้ แบบการใช้หลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และโรงเรยี นไดร้ บั การคัดเลอื กจากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน ให้เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ซ่งึ มผี บู้ รหิ ารคณะครู
และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ได้ร่วมมือในการบริหารจัดการ และพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา
คณุ ภาพมาตรฐานของโรงเรียนให้ดำรงอยู่มชี ่ือเสียงเป็นที่ยอมรับของผ้ปู กครอง ชุมชนและประชาชน
ท่ัวไปมีลูกศิษย์ที่ประสบความสำเร็จทางการศึกษาและประกอบอาชีพที่มีชื่อเสียงมากมาย นับเป็น
ความภาคภูมิใจของครู และบุคลากรในโรงเรียน ท้ังน้ีเกิดจากการท่ีโรงเรียนได้รับความร่วมมือ
ร่วมแรง ร่วมใจ จากผู้ปกครอง ในทกุ ๆ ด้าน ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา การให้ข้อเสนอ
แนะข้อคิดเห็น และให้ความร่วมมือ ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่โี รงเรียนจดั ขนึ้ รวมทง้ั การดแู ล เอาใจใส่บุตร
หลานอย่างดยี ่งิ

คมู่ ือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรยี นวัดอมรินทรารามฉบับนี้ ได้รวบรวมข้อมูลเรื่องราว และ
ระเบียบข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่นักเรียนและผู้ปกครองควรทราบ เพื่อยึดถือการปฏิบัติให้เป็นไปใน
แนวทาง เดยี วกันใชใ้ นการตดิ ตอ่ ประสานงานและอื่น ๆ ซึ่งทางโรงเรียนหวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ นกั เรียน
และผปู้ กครอง จะได้นำแนวทางไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ อยา่ งคมุ้ ค่า

ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกฝ่ายท่ีได้รายงานข้อมูล และจัดทำคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง
ฉบับนี้ สำเรจ็ ลลุ ่วงด้วยดี

(นางภารดี ผางสงา่ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม

สารบัญ หนา้

คำนำ ข
ส.อ.ร. ค-จ
แผนท่ีตง้ั โรงเรียนวดั อมรนิ ทราราม ฉ
แผนผังอาคารเรยี นโรงเรียนวดั อมรินทราราม ๑–๔
Smartcard One Stop Service ๕
ประวัติโรงเรยี นวดั อมรินทราราม ๖
รายช่อื ผบู้ ริหารโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม ๗
สญั ลักษณข์ องโรงเรียน ๘
วิสัยทัศน์ หลกั การ ๙
กลยุทธก์ ารจัดการศึกษา ๑๐
โครงสรา้ งการบริหารงานและการแบ่งสว่ นราชการ ๑๑
คณะผบู้ รหิ ารโรงเรียนวดั อมรินทราราม ๑๒
คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานโรงเรยี นวดั อมรินทราราม ๑๓
คณะกรรมการสมาคมครูและผ้ปู กครองโรงเรียน ๑๔
ผปู้ กครองกับโรงเรียน ๑๕ - ๒๖
กำหนดการเปดิ รบั สมคั รนักเรยี น , เปิด - ปดิ ภาคเรียน , การมาโรงเรยี นและกลบั บา้ น ๒๗
ระเบยี บว่าด้วยการแตง่ กายของนกั เรียน ๒๘
ระเบียบการปฏบิ ัติตนของนกั เรียนโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม ๒๙
การปฏบิ ัติกจิ กรรมประจำวนั ของนกั เรียน ๒๙
การปฏิบตั ติ นในหอ้ งเรียน การใชอ้ าคารเรยี น ๓๐
การรักษาความสะอาดในหอ้ งเรยี นและบรเิ วณโรงเรียน ๓๐
การใช้โทรศพั ทข์ องนักเรยี น ๓๑
ระเบยี บปฏิบัติท่ัวไป , การรบั ประทานอาหารของนกั เรยี น ๓๒
ระเบียบการรบั – ส่ง นักเรียนของผ้ปู กครอง ๓๒
ระเบียบว่าด้วยการลา ๓๓
ระเบียบวา่ ดว้ ยการทำความเคารพของนกั เรียน ๓๓ - ๓๔
ความประพฤตทิ ี่ไม่สมควรแกก่ ารเปน็ นกั เรยี น ๓๕
ภาระหน้าที่ของผ้ปู กครองและขอความรว่ มมือ
ห้องปฏิบตั กิ ารเรยี น
ภาคผนวก
เพลงมารช์อมรนิ ทร์
ระเบียบสวดมนต์ไหว้พระ
คำแนะนำในการดูแลรักษาหนงั สอื
คณะผู้จดั ทำคมู่ ือนักเรยี นและผู้ปกครอง



ส.อ.ร.

ครู ส.อ.ร. 1. รกั โรงเรียนเหมอื นบ้าน
2. รักเพื่อนรว่ มงานเหมือนพ่ีน้อง
3. รกั ผ้ปู กครองเหมอื นญาติสนทิ
4. รักลูกศิษย์เหมือนลกู ตนเอง

จุดเนน้ ส.อ.ร.

ส. อ. ร.
เนน้ คณุ ภาพ เนน้ คนดี เนน้ คนเก่ง

สุขภาพกาย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ริเริ่ม รู้รอบ
สขุ ภาพจิต โอบอ้อมอารี ร้ลู กึ รู้คิด
อ่อนนอ้ ม รู้ทัน

แผนท่ีตง้ั โรงเรียนวัดอมรนิ ทราราม

ตงั้ อยเู่ ลขท่ี ๕๖๖/๑ ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงศริ ริ าช เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพมหานคร
E – mail [email protected] Website = http://www.amarin.ac.th

โทรศพั ท์ / โทรสาร ๐ ๒๔๑๘ ๐๙๒๗, ๐๒๔๑๑ ๓๐๑๗

๑.วัดอมรินทราราม

.


.


.

โรงเรยี นวัดอมรินทราราม ๑. วัดอมรินทราราม
เน้อื ท่ีจำนวน ๔ ไร่ ๓ งาน ๒. โรงเรียนวัดอมรนิ ทราราม
อาคารเรยี น ๓ หลงั ๓. กองกำกับการสืบสวนธนบรุ ี
๔. โรงพยาบาลศิริราช





















Smartcard One Stop Service

ระบบ Myhost 3 ระบบ ไดแ้ ก่
1.โปรแกรม Amarin Food Court ผ่านบตั รนักเรยี นแทนเงินสด คูปองชิพ
2.โปรแกรม Amarin Mini Mart ซื้อขายผา่ นบตั ร
3.โปรแกรมตรวจการเข้าออกของนกั เรยี นและบคุ ลากรในโรงเรียน

1

ประวัตโิ รงเรยี นวัดอมรนิ ทราราม

โรงเรียนวัดอมริน ทราราม ปัจจุบันสังกัดสำนักงานเขตพื้น ที่การศึกษา ประถมศึกษา
กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เปดิ ทำการสอน ตง้ั แต่
ชน้ั อนบุ าล ๓ ขวบ ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ และหอ้ งเรยี น MEP (Mini English Program) ต้ังอยู่ เลขท่ี
๕๖๖/๑ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิรริ าช เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพมหานคร รหสั ไปรษณีย์ ๑๐๗๐๐
โทรศัพท,์ โทรสาร ๐-๒๔๑๘-๐๙๒๗, ๐-๒๔๑๑-๓๐๑๗ มปี ระวัติความเป็นมาพอสงั เขปดงั นี้

โรงเรียนวัดอมรินทราราม สังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมวิสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ก่อตงั้ มาก่อนสงครามโลกครั้งท่ี ๒ แตไ่ ม่มีหลกั ฐานยืนยนั ว่า ก่อตั้งมาแต่เมอ่ื ใด เปิดทำการสอนต้ังแต่ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ (ม.๑) - มัธยมศกึ ษาปีที่ ๘ (ม.๘) มีชื่อเสยี งท้ังด้านวิชาการและด้านการกีฬาใน ยุค
สมัยน้ัน ต่อมา ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ โรงเรียนวัดระฆังโฆสิตาราม เป็นโรงเรียนสังกัดเดียวกัน ซ่ึงต้ังอยู่ที่
วดั ระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร ได้เปล่ียนจากโรงเรียนชายไปเป็นโรงเรยี นหญิงช่ือ “โรงเรียนสตรีวัดระฆัง”
จึงโอนนักเรยี นชายท้ังหมดมาเรียนท่ีโรงเรียนวัดอมรินทรารามและได้ช่ือใหม่ว่า “โรงเรียนอมรินทร์โฆสิต”
และเปิดการสอนต่อมาจนถงึ พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้เกิดสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ขึ้น สถานท่ีตั้งโรงเรียนอยใู่ กล้ สถานี
รถไฟธนบุรี อันเป็นจุดยุทธศาสตร์ อาคารเรียนถูกลูกระเบิดทำลายและไฟไหม้หมด เมื่อสงครามโลก
คร้งั ที่ ๒ สงบลงนักเรยี นโรงเรยี นอมรนิ ทร์โฆสิตต้องไปอาศยั เรียนทโี่ รงเรียนทวธี าภเิ ศก ซ่ึงภายหลงั ไดม้ กี าร
รวมตัวกันก่อตั้ง “สมาคมศิษย์เก่าทวีธาภิเศกอมรินทรโฆสิต” ขึ้น เพราะสงครามโลกคร้ังที่ ๒
โรงเรียนวัดอมรนิ ทรารามยคุ เร่มิ ตน้ จงึ ถกู ยบุ เลกิ ไปโดยปริยาย

ต่อมาถึงปี พ .ศ. ๒๕ ๐๓ กระทรวงศึกษ าธิการใน ขณ ะน้ัน ได้ขยายการศึกษาระดับ
ชัน้ ประถมศึกษาเป็นประถมศกึ ษาตอนต้น ๔ ปี และประถมศึกษาตอนปลาย ๓ ปี ฯพณฯ ม.ล.ป่ิน มาลากุล
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในขณะน้ัน ไดต้ ิดตอ่ กับพระธรรมรตั นากร (ต่อมาคือสมเด็จพระวันรัต)
เจ้าอาวาสวัดสังเวชวิทยาราม ซ่ึงรักษาการตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอมรินทราราม และพระครูปลัดรัตนวัตร
ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลวัดอมรินทราราม (ต่อมา คือพระสุนทรวิหารกิจ เจ้าอาวาสวัดอมรินทราราม)
เพื่อขอจัดตั้งโรงเรียนขึ้นใหม่ พระคุณเจ้าทั้งสองรูปได้เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ของการศึกษา
ของชาติ จึงได้มอบท่ีดินว่างเปล่าของวัดเนื้อที่จำนวน ๔ ไร่ ๓ งาน ให้กรมสามัญศึกษาก่อต้ังโรงเรียนข้ึน
เพ่อื รับสถานการณก์ ารขาดแคลนสถานทเ่ี รียนของนกั เรยี นในสมยั นัน้

อาคารเรียนหลังแรกเป็นตึก ๓ ช้ัน ๑๒ ห้องเรียน การก่อสร้างอาคารเรียนแล้วเสร็จเม่ือเดือน
มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๔ ตงั้ ชอ่ื วา่ “โรงเรียนวัดอมรินทราราม” รบั นักเรียนเข้าเรียนในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕
จำนวน ๕๗๓ คน เปิดเรยี นเมื่อวันพฤหสั บดที ่ี ๒๙ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๐๔ มคี รูทำการสอนจำนวน ๒๘
คน และได้ทำพิธีเปิดป้ายโรงเรียนเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ โดยมี ฯพณฯ ม.ล.ปิ่น มาลากุล
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานในพธิ ี

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ กอ่ สร้างอาคารเรียนหลงั ที่ ๒ เป็นตึก ๓ ชน้ั ๙ ห้องเรียน ช้ันล่างเป็นโรงอาหาร
เปดิ เรยี นถึงชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ มีนกั เรยี น ๑,๐๒๔ คน ครู ๔๕ คน

ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ กอ่ สรา้ งอาคารเรียนอีกหลังหนึ่งเปน็ หลงั ท่ี ๓ เป็นตกึ ๓ ช้นั ๑๖ ห้องเรยี นต่อ
จากอาคารเรียนหลงั ที่ ๒ เปิดเรียนถงึ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๗ มนี ักเรยี น ๑,๓๘๓ คน ครู ๖๖ คน และ
มีนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๗ จบหลักสตู รประถมศกึ ษารนุ่ แรกจำนวน ๕๑๘ คน

2

ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ไดก้ ่อสร้างอาคารเรยี นหลงั ท่ี ๔ เปน็ ตึก ๓ ช้ัน ๑๑ ห้องเรียน
ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้งบประมาณก่อสร้างร้ัวคอนกรีตด้านทิศใต้ สนามคอนกรีตทางระบายน้ำ
และครัวถาวร ในปีน้ีมีนกั เรียนท้งั หมดตัง้ แต่ ป.๕ - ป.๗ รวม ๑,๔๔๘ คน ครู ๗๔ คน
ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มีการโอนโรงเรียนไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดธนบุรี กระทรวงมหาดไทย
มีโรงเรียนฝ่ังธนบุรีหลายโรงเรียนที่กรมสามัญศึกษา ขอสงวนไว้เพื่อเป็นโรงเรียนสำหรับทดลองวิจัยด้าน
การเรียนการสอน นอกจากโรงเรียนวัดอมรินทรารามแล้วยังมีโรงเรียนอื่นๆ เช่น โรงเรียนโฆสิตสโมสร
โรงเรียนประถมทวีธาภิเศก โรงเรียนวัดหงส์รัตนาราม เป็นตน้ และมีโรงเรียนอื่น ๆ ในต่างจังหวัดอีกรวม
เรียกว่า โรงเรียน “สามัญ” มีอักษร “ส” ปักนำช่อื โรงเรียน เช่น ส.อ.ร. , ส.ฆ.ส. ส.ช.ก. เป็นต้น
ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ก่อสร้างอาคารเรียนหลังที่ ๕ เป็นตึก ๓ ช้ัน ๖ หอ้ งเรียน เช่ือมอาคารเรียน
หลังเก่าทางดา้ นทศิ เหนือ ชนั้ ลา่ งเป็นห้องประชมุ
ตลอดระยะเวลาตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๐๔ เป็นต้นมาโรงเรียนวัดอมรินทรารามได้พัฒนาโรงเรียน
ทกุ ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนเป็นทไี่ วว้ างใจและมีชื่อเสยี งเป็นท่ีรูจ้ กั กันทว่ั ไป
ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับเปล่ียนการจัดการศึกษาภาคบังคับเป็นจาก ๔ ปี
เป็น ๖ ปี ดังน้ันในปีการศกึ ษา ๒๕๑๘ โรงเรียนวัดอมรินทรารามจึงเปิดรบั นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบหมายให้โรงเรยี นวัดอมรินทรารามเป็น
โรงเรียนทดลองหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๒
ห้องเรยี น และไดท้ ำการทดลองตอ่ เนอ่ื งจนถงึ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔
ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ โรงเรียนได้เปิดเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๔ ห้องเรียน ตามคำสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ศธ ๐๘๐๖/๑๑๖๗๒ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๒๐ ท่ีจะปรับโรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดส่วนกลางเป็นโรงเรียนมัธยมแต่ได้ยุบเลิกในปีการศึกษา ๒๕๒๑ ตามคำสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการ เชน่ กนั
ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารงานมีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการ
การประถมศึกษาแห่งชาติซึ่งเท่ากบั เป็นกรมหนึ่งในกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนประถมศึกษา ส่วนกลาง
ทั้งหมด ซ่ึงมีโรงเรียนวัดอมรินทรารามด้วย จึงย้ายมาสังกัด สำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ มีการแบ่งโรงเรียนประถมศึกษา
ส่วนกลางเป็น ๕ กลุ่มโรงเรียน คือ กลุ่มโรงเรียนทวาราวดี กลุ่มโรงเรียนอโยธยา กลุ่มโรงเรียนสุโขทัย
กลมุ่ โรงเรียนกรงุ ธน และกล่มุ โรงเรียนรัตนโกสนิ ทร์
สำหรับโรงเรียนวัดอมรินทรารามสังกัดกลุ่มโรงเรียนทวาราวดี ซึ่งมีโรงเรียนในกลุ่ม ๗ โรงเรียน
ได้แก่ โรงเรียนพญาไท โรงเรียนราชวินิต โรงเรียนวัดโบสถ์ โรงเรียนวัดโสมนัส โรงเรียนอนุบาล
วัดปรินายก โรงเรยี นโฆสิตสโมสร และโรงเรยี นวัดอมรินทราราม
ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ โรงเรียนวัดอมรินทรารามได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนพระราชทานขนาดใหญ่
ในระดับประถมศึกษา จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยผู้อำนวยการโรงเรียน นายชลติ พุทธรักษา
ได้เข้ารับพระราชทานรางวัลโล่และเกียรติบัตร พร้อมท้ังรับพระบรมราโชวาทจากสมเด็จพระเทพรัตน-
ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี มี ดร.ก่อ สวัสดิพานชิ กราบทูลถวายรายงาน เมอ่ื วนั อังคารที่ ๑๓ กรกฎาคม
๒๕๓๕ ณ ศาลาดสุ ิดาลัย สวนจติ รลดา

3

ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เปิดรับนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาช้ันอนุบาลปีท่ี ๑ จำนวน ๑ ห้องเรียน
นักเรียน ๓๕ คน และไดข้ ยายเป็นอนุบาลปที ่ี ๒ ในปีต่อมา

ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงเรียนได้ลดจำนวนห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ จากฐานเดิม ๖ ห้องมา
เปน็ ๕ ห้องเรยี น เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายลดจำนวนข้าราชการ ข้าราชการครูทีเ่ กษยี ณอายุราชการและ
ทีข่ อเกษยี ณอายุราชการก่อนกำหนด จะถูกตัดอัตราทำให้จำนวนข้าราชการครูลดลงไม่สามารถจัดการเรียน
การสอนตามฐานเดิมได้ เม่อื ถงึ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๙ ป. ๑ – ๖ จะมีสายชน้ั ละ ๕ หอ้ งเรยี น

ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เม่ือวันท่ี ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติ
ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับ
ใชใ้ น วันท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นผลให้โรงเรียนวัดอมรินทราราม โอนมาสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ซ่ึงเปน็ การรวมการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษามาอยใู่ นสงั กัดเดียวกนั อีกครัง้ หนึง่

ปกี ารศึกษา ๒๕๔๘ โรงเรียนวัดอมรนิ ทรารามเปิดทำการสอน ระดบั ชั้นอนุบาลปที ่ี ๑ – ๒ ชน้ั ละ ๒
ห้องเรียน รวม ๔ ห้องเรยี น ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ มี ๖ ห้องเรียน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ – ๖
ชน้ั ละ ๕ ห้องเรียน รวม ๓๑ ห้องเรียน รวมห้องเรียนท้ังสิ้น ๓๕ ห้องเรียน จำนวนนักเรียน ๑,๔๐๖ คน
ข้าราชการครู จำนวน ๕๗ คน ลูกจ้างประจำ จำนวน ๗ คน ครูอัตราจ้าง (งบประมาณ) จำนวน ๑ คน
ครูจ้างสอน (งบสมาคมฯ) จำนวน ๖ คน ลกู จ้างช่วั คราว จำนวน ๑๒ คน

โรงเรียนไดพ้ ฒั นาการเรียนการสอน ปรับปรุงอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องพิเศษต่าง ๆ ให้ทนั สมัย
เช่นห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องเรียนอนุบาล ได้ปรับเป็นห้องปรับอากาศ
เพื่อเอ้ือต่อการเรียนการสอนและป้องกันมลพิษ และในปีนี้โรงเรียนได้รับการคัดเลือกจากกรมการค้า
ภายในกระทรวงพ าณิ ชย์ ให้เป็นโรงเรียนสีฟ้าต้นแบบยอดเยี่ยมท่ีจัดการเรียนการสอนเรื่อง
“การรกั ษาสิทธิประโยชนข์ องผู้บริโภคในการซอ้ื สินคา้ และบรกิ าร ”

ปีการศึกษา ๒๕๔๙ โรงเรียนวัดอมรินทรารามเปิดทำการสอน ระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๑ มีจำนวน
๒ หอ้ งเรียน ระดับชั้นอนบุ าลปีที่ ๒ มีจำนวน ๒ หอ้ งเรียน รวม ๔ ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ ๑ มี ๖ ห้องเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ – ๖ ชั้นละ ๕ ห้องเรียน รวม ๓๑ ห้องเรียน รวม
ห้องเรียนทั้งส้ิน ๓๕ ห้องเรียน จำนวนนักเรียน ๑,๓๓๑ คน ข้าราชการครู จำนวน ๕๕ คน
ลูกจ้างประจำ จำนวน ๗ คน ครูอัตราจ้าง (งบประมาณ) จำนวน ๒ คน ครูจ้างสอน (งบสมาคมฯ)
จำนวน ๗ คน ลูกจา้ งช่ัวคราว จำนวน ๑๑ คน

ปกี ารศึกษา ๒๕๕๐ โรงเรียนวัดอมรนิ ทราราม เปิดชั้นอนุบาลปีท่ี ๑ จำนวน ๒ ห้อง อนุบาล
ปีที่ ๒ จำนวน ๓ ห้องเรียน ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ จำนวน ๓๑ ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น ๓๖
ห้องเรียน เพ่ิมช้ันจากเดิม ๑ ห้องเรียน จำนวนนักเรียน ๑,๓๓๘ คน ข้าราชการครูจำนวน ๕๓ คน
ลูกจ้างประจำ ๗ คน ครอู ตั ราจ้าง ๒ คน ครจู ้างสอน ๑๐ คน ลกู จ้างชั่วคราว ๑๒ คน

โรงเรยี นได้พฒั นาการเรียนการสอน ปรบั ปรุงดแู ลอาคารเรียน สรา้ งส้วมนักเรียน ๓ ช้ัน ในอาคาร
ด้านทิศเหนือ ทาสีอาคารเรียนส่วนที่ยังไม่เรียบร้อยจนเสร็จสมบูรณ์ ปรับปรุงปลูกต้นไม้ รอบโรงเรียน
สวนหย่อมหนา้ โรงเรียน จัดหาเครอื่ งเล่นของนักเรยี นช้ันอนุบาล จดั ทำห้องศูนย์เดก็ เล็กบริเวณตดิ ห้องสมุด
ปรับปรงุ สนามเด็กเล่น เปลี่ยนเคร่ืองเล่นใหมใ่ หเ้ หมาะสมกบั วยั ของนักเรียนและไม่กอ่ ใหเ้ กิดอันตราย

4

ปีการศึกษา ๒๕๕๑ โรงเรียนได้ปรับปรุงห้องประชุมใหญ่โดยกรุผนังห้องท้ังหมด และขยาย
ด้านหลังจัดทำเป็นห้องควบคุมเครอ่ื งเสียงและเก็บโต๊ะ เก้าอ้ี เปล่ียนฝ้าเพดาน เดินสายไฟ ติดตงั้ แอร์ใหม่
ปรบั ปรุงเวทีหน้าห้องประชุมทะลุประตูเช่อื มต่อหอ้ งประชุมเล็ก ด้านหลังเวที ให้ผ่านเข้าออกได้และปรบั ปรุง
ห้องประชมุ เล็กขา้ งหอ้ งสมดุ เปน็ แบบเดียวกัน

ปีการศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรียนได้ปรับปรุงอาคารเรียน ทาสีอาคารเรียน ภายในห้องเรียน ขัดพ้ืน
ห้องเรียน ปรับสภาพภูมิทัศน์รอบๆ บริเวณโรงเรียน จัดสวนหย่อมตามจุดต่างๆ รอบๆ บริเวณภายใน
โรงเรียน ปรับปรุงพ้ืนห้องประชุมใหญ่ ปรับปรุงห้องพิเศษต่าง ๆ เช่น ห้องนาฏศิลป์, ห้องคอมพิวเตอร์,
ห้องซาวด์แลป็ , หอ้ งแนะแนว

ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนวัดอมรินทราราม ผ่านการติดตามประเมินการดำรงรักษาสภาพ
สถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน จากกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี ๒๕๕๓ และโรงเรียน
วัดอมรินทรารามมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารงาน เป็นสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
กรุงเทพมหานคร มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ซึ่งย้ายมาจากสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓ (เดิม) โรงเรียนวัดอมรินทรารามก่อต้ังครบ ๕๐ ปี ในวันท่ี ๒๗
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ เปน็ โรงเรียนทม่ี ีบคุ ลากรและนกั เรยี นทม่ี ีคุณภาพ

ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เปิดทำการเรียนการสอนหลักสูตร Mini English Program (MEP) เริ่มชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ จำนวน ๑ ห้องเรียน และในปีการศึกษา ๒๕๕๗ เปิดชั้นอนุบาล ๑ จำนวน ๑
หอ้ งเรียน

ปีการศึกษา ๒๕๕๗ เปิดรับนักเรียนระดับชั้นอนุบาล ๓ ขวบ จำนวน ๒ ห้องเรียน และอนุบาล
ชั้นปที ี่ ๑ หลกั สตู ร Mini English Program (MEP) จำนวน ๑ ห้องเรียน

โดยเปิดสอนชั้นอนุบาล ๓ ขวบ จำนวน ๓ ห้องเรียน ช้ันอนุบาลปีที่ ๑ จำนวน ๓ ห้องเรียน
หลักสูตร MEP ช้ันอนุบาลที่ ๑ จำนวน ๑ ห้องเรียน อนุบาลปีที่ ๒ จำนวน ๔ ห้องเรียน ระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ จำนวน ๓๐ ห้องเรียน หลักสูตร MEP ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๔ อย่างละ ๑
ห้องเรียน รวมท้ังส้ิน ๔๑ ห้องเรียน จำนวนนักเรียน ๑,๔๐๐ คน ข้าราชการครู จำนวน ๕๘ คน
ลกู จ้างประจำ ๔ คน ครอู ตั ราจา้ ง ๓๑ คน ลกู จ้างชัว่ คราว ๒๖ คน

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ได้มีการประกาศใหร้ ับนักเรยี น
ตั้งแต่อายุ ๓ ปี และให้ปรับเรียกอนุบาล ๓ ขวบ เป็นชั้นอนุบาล ๑ และอายุ ๔ ปี เป็นอนุบาล ๒
อายุ ๕ ปี เปน็ อนุบาล ๓

ปัจจุบันเปิดสอนในชั้นอนุบาล ๑ จำนวน ๓ ห้องเรียน ช้ันอนุบาล ๒ จำนวน ๓ ห้องเรียน
หลักสูตร MEP จำนวน ๑ ห้องเรียน ช้ันอนุบาล ๓ จำนวน ๓ ห้องเรียน หลักสูตร MEP จำนวน ๑
ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ จำนวน ๓๐ ห้องเรียน ห้องเรียนหลักสูตร MEP
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๖ อยา่ งละ ๑ หอ้ งเรียน รวมทัง้ สิ้น ๔๑ ห้องเรียน จำนวนนกั เรียน ๑,๓๙๙ คน
ข้าราชการครู ๖๐ คน พนักงานราชการ ๒ คน ครูอัตราจ้าง ๑๕ คน ครูชาวต่างชาติ ๖ คน
ลูกจ้างประจำ ๓ คน ลูกจา้ งชัว่ คราว ๒๓ คน

5

รายช่อื ผบู้ ริหารโรงเรยี นวัดอมรินทราราม

๑. นางสาวพัฒน ภาสบตุ ร อบ.คบ.,M.S. in ED.
(๑ มนี าคม ๒๕๐๔ – ๑๙ มีนาคม ๒๕๑๙)

๒. นางสาวทองคำ ผดุงสุข กศ.บ., MA.Adult Ed.
(๒๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๑๙ – ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๓๐)

๓. นายธงชยั คงธนะ กส.บ.
(๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๓๒)

๔. นายชลิต พุทธรักษา กศ.บ. ประกาศนียบัตรวิชาการประถมศกึ ษา คม.โสตทัศนศกึ ษา
(๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ – ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๓๗)

๕. นายชลอ มงคลการุณย์ กศ.บ.,คม. (บริหารการศกึ ษา)
(๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๗ – ๑๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๐)

๖. นายคธาธร งามมุข กศ.บ. ศษ.ม (การศึกษาผ้ใู หญ่)
(๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๕)

๗. นายบุญธรรม แกว้ สาร พ.ม., กศ.บ , กศ.ม. (บรหิ ารการศึกษา)
(๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๕ – ๕ มกราคม ๒๕๔๙)

๘. นายปรชี า คกมิ พ.ม. , คม. (บริหารการศึกษา)
(๖ มกราคม ๒๕๔๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑)

๙. ดร.ลมยั พร แหล่งหลา้ ปร.ด. (Ph.D.) (บรหิ ารการศกึ ษา)
(๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑)

๑๐. ดร.ภารดี ผางสงา่ ปร.ด. (Ph.D.) (บริหารการศึกษา)
(๑๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ปจั จุบนั )

6

สญั ลกั ษณ์ของโรงเรียน

มอี กั ษร ส.อ.ร. อยภู่ ายใตม้ งกุฎ และมรี ศั มีอยู่เบ้ืองบน ส่วนล่าง
ของมงกฎุ มชี ่ือเต็มของโรงเรียนปรากฏอยู่

๑. อกั ษรย่อ “ส.อ.ร.”
๒. ตราประจำโรงเรยี น
๓. สีประจำโรงเรยี น “เขียว - เหลือง”
๔. คำขวัญของโรงเรยี น “เรยี นดี ประพฤตดิ ี สขุ ภาพดี”
๕. ปรชั ญาของโรงเรยี น “คดิ ดี พูดดี ทำด”ี
๖. อตั ลักษณ์โรงเรียน “กายอ่อนน้อม วาจาอ่อนหวาน จิตใจออ่ นโยน”
6. พระพทุ ธรูปประจำโรงเรยี น “พระพุทธอมรนิ ทร์วจิ ติ รร์ ตั นาคำ”

7

วสิ ยั ทศั น์

โรงเรยี นวดั อมรินทรารามจัดการศกึ ษาพัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมรี ะเบยี บวินยั มคี วามเปน็ เลิศทางวิชาการ
ตามมาตรฐานสากล รู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี บนพน้ื ฐานคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและความเป็นไทย

หลกั การ

หลกั สูตรโรงเรยี นวัดอมรนิ ทรารามมหี ลกั การทส่ี ำคญั ดังน้ี
๑. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั
๒. เป็นหลักสูตรที่มีเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ว่าด้วยการ

เปน็ ผู้มคี วามรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตาม
หลักการจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรขู้ องหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๓. เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนตามเป้าหมาย/จุดเน้นคุณภาพของผู้เรียนตามกรอบ
หลักสูตรระดับท้องถิ่นของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียนให้
เป็นคนดี มีทักษะการคิด เพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน อ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และใช้
เทคโนโลยีเป็น

๔. เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของโรงเรียน ชุมชน สังคมและท้องถ่ิน ซ่ึงเน้นการมี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมการสืบสานประเพณี มีจิตสำนึกในความเป็นไทย มีใจรักษ์
สง่ิ แวดล้อม นอ้ มตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๕. เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุวิสัยทัศน์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑

8

กลยทุ ธก์ ารจัดการศึกษา

กลยุทธ์ระดับสถานศึกษา
๑. พัฒนาหลกั สูตรใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและอาเซยี น
๒. พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และความเป็นไทย
๓. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพยดึ หลักการมีสว่ นร่วม
๔. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีคุณภาพตามสมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวัฒนธรรมการทำงาน

ท่ีมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ
๕. พฒั นาโรงเรยี นใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้

กลยทุ ธร์ ะดบั แผนงาน
๑. พัฒนาหลักสูตรตามแนวปฏิรูปการศึกษา มีคณุ ภาพตามาตรฐานสากลและอาเซยี น
๒. สนบั สนนุ กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ตามหลกั องค์ ๔ แหง่ การเรียนรู้
๓. ปลูกฝังใหน้ กั เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามเปน็ ไทย มอี ตั ลกั ษณ์ และคุณลักษณะอังพงึ ประสงค์
๔. ปลกู ฝงั คา่ นยิ มหลัก ๑๒ ประการ
๕. ส่งเสริมให้นกั เรียนน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ แนวทางในการดำรงชีวิต
๖. ส่งเสริมและสนบั สนนุ การเรยี นรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน โดยใช้ส่ือเทคโนโลยี นวัตกรรมทท่ี นั สมยั
๗. พัฒนาระบบบริหารดว้ ยระบบคุณภาพโดยยึดหลักการมสี ว่ นรว่ ม
๘. พัฒนาระบบสารสนเทศของโรงเรียนให้สอดคล้องกับทิศทางการปฏิรูปการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ

และย่งั ยืน
๙. พฒั นาแหล่งเรยี นรภู้ ายในสถานศกึ ษา เพือ่ สร้างบรรยากาศการเรยี นรู้
๑๐. สนบั สนนุ ให้บุคลากรพัฒนาตนเองดา้ นวชิ าชีพ เทคโนโลยี และการใช้ภาษาอังกฤษ เพอ่ื การสอ่ื สาร
๑๑. สรา้ งขวญั กำลังใจกบั ครแู ละบุคลากรภายในสถานศึกษา
๑๒. สง่ เสริมและสนับสนุนนักเรียนในดา้ นทกั ษะทางวิชาการ
๑๓. ส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษในการเรียนรู้ เพ่ือนำไปใช้ ใน

ชวี ิตประจำวัน

โครงสร้างการบรหิ ารงานและการแบ

คณะกรรมการสมาคมผปู้ กครองและครู ผอู้ ำนวยการโ
โรงเรยี นวัดอมรินทราราม

รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น รองผู้อำนวยการโรงเรยี น
กล่มุ บริหารวชิ าการ กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ

1. การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา 1. การจัดทำและเสนอของบประมาณ
2. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ 2. การจัดสรรงบประมาณ
3. การวดั ผล ประเมินผล และการเทยี บโอน 3. การตรวจสอบตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานผล

ผลการเรียน การใชเ้ งินและผลการดำเนนิ การ
4. การวิจัยเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 4. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพ่ือการศึกษา
5. การพฒั นาสือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี 5. การบริหารการเงิน
6. การบรหิ ารบัญชี
ทางการศึกษา 7. การบริหารพัสดุและสินทรพั ย์
6. การพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้ 8. งานสวสั ดกิ ารร้านคา้ / สมาคม ฯ
7. การนิเทศการศึกษา 9. งานจดั ทำขอ้ ตกลงการปฏิบัตริ าชการ
8. การแนะแนวการศกึ ษา 10. งานอน่ื ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
9. การพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายใน

สถานศึกษา
10. การสง่ เสรมิ ความรูด้ ้านวชิ าการแก่ชุมชน
11. การประสานความร่วมมอื ในการพฒั นาวชิ าการ
12. การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ งานวชิ าการแกบ่ ุคคล

ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงาน
13. งานอ่ืนๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

นกั เ

9
บง่ ส่วนราชการโรงเรยี นวัดอมรนิ ทราราม

โรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
โรงเรยี นวดั อมรินทราราม

รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน
กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป

1. การวางแผนอตั รากำลงั และการกำหนดตำแหนง่ 1. การดำเนินงานธุรการ
2. การสรรหาและการบรรจแุ ต่งตงั้ 2. งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
3. การเสริมสรา้ งประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ 3. งานพฒั นาระบบและเครือขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศ
4. การประเมินผลการปฏิบัตงิ าน 4. การประสานและพฒั นาเครือขา่ ยการศกึ ษา
5. วินยั และการรักษาวนิ ัย ครู – นักเรียน และบคุ ลากร 5. การจัดระบบการบริหารและพฒั นาองคก์ ร
6. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การศึกษา 7. การส่งเสริม สนับสนุนดา้ นวิชาการ งบประมาณ บุคลากร
6. การออกจากราชการ
7. การจัดระบบและการจดั ทำทะเบียนประวัติ และบริหารทว่ั ไป
8. การดแู ลอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม
และการขอพระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ 9. การจัดทำสำมะโนผู้เรยี น
8. การสง่ เสริมมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณวิชาชพี 10. การรับนกั เรยี น
11. การสง่ เสรมิ และประสานงานการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ
และใบอนุญาตประกอบวิชาชพี
9. การพฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา และตามอธั ยาศยั
10. งานอนามยั ครู - นักเรยี น 12. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
11. งานอ่นื ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 13. งานสง่ เสรมิ งานกิจการนกั เรยี น
14. งานประชาสัมพนั ธ์งานการศึกษา
15. การส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการศึกษา

ของบุคคล ชมุ ชน องคก์ ร
16. งานประสานราชการกบั เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและหนว่ ยงานอ่นื
17. การจดั ระบบการควบคุมในหน่วยงาน
18. งานบรกิ ารสาธารณะ

เรียน

10

คณะผู้บริหารโรงเรยี นวัดอมรินทราราม

ดร.ภารดี ผางสงา่
Dr.Pharadee Phangsanga
ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม

นางสาวจฑุ ามาศ ธุวังควฒั น์ นางสาวชนนิกานต์ สงวนไพบลู ย์ นายทวี เน่ืองอาชา
Miss.Jutamas Thuvungkawath Miss.Chonnikan Sanguanpaiboo Mr.Tawee Naungarcha

รองผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั อมรินทราราม รองผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม รองผู้อำนวยการโรงเรียนวดั อมรนิ ทราราม

ดร.ลมัยพร แหลง่ หล้า นางนทิ รา ฉนิ่ ไพศาล
Dr.Lamaiporn Langla Mrs.Nittra Chinpaisan

ท่ปี รกึ ษา ทป่ี รึกษา

นายถาวร พบพืช นางพรใจ ดว้ ยตงั้ ใจ นางสาวชัญญณสั อธิศกั ดโิ์ สภา
Mr.Taworn Phobphurt Mrs.Pornjai Duaytangjai Miss Chanyanat Aitsaksopa
ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ชว่ ยผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการโรงเรียน

11

คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐานโรงเรียนวดั อมรนิ ทราราม
ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. นางวันกมล ศริ ะยานนท์ ประธานกรรมการ
ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
๒. นายสถาพร รตั นสกล ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
ผู้ทรงคณุ วุฒิ
๓. นางสาวชมกมล หาพนั นา ผทู้ รงคณุ วุฒิ
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
๔. นางสาวรสั รนิ ทร์ รวงผึ้งวรี ะโชติ ผทู้ รงคุณวุฒิ
ผู้แทนครู
๕. นางศภุ กร อว่ มอมุ่ ผแู้ ทนศษิ ยเ์ ก่า
ผู้แทนผู้ปกครอง
๖. นายพิรัชย์ชัย รชั ตะวรรณ ผแู้ ทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ
๗. นายจมุ พล เอี่ยมขันทอง ผแู้ ทนองค์กรศาสนา
ผแู้ ทนองคก์ รศาสนา
๘. นางสาวชัญญณสั อธิศักดิ์โสภา กรรมการและเลขานกุ าร

๙. นายสองนคร เพชรเยน็

๑๐. นางสาวอชิรภรณ์ พัชนะพานชิ

๑๑. นายปริญญา รุ่งเรอื ง

๑๒. นายอนุชติ เพลนิ พนา

๑๓. พระสุนทรกิจจาภวิ ัฒน์

๑๔. พระพิศาลพัฒนกิจ

๑๕. นางภารดี ผางสงา่

12

คณะกรรมการสมาคมผูป้ กครองและครโู รงเรยี นวัดอมรินทราราม

๑. นายสุธน ศรยี ะพนั ธ์ุ นายกสมาคมฯ

๒. เรือตรที รงชยั เกตบุ าง อุปนายก คนท่ี ๑

๓. นางจิตรดา นพคุณ อุปนายก คนท่ี ๒

๔. นายเอกชัย พงษพ์ ิทักษว์ ิเศษ อปุ นายก คนที่ ๓

๕. นางอัจฉรา เอ่ียมบำรงุ กรรมการและนายทะเบียน

๖. นางพรใจ ดว้ ยตง้ั ใจ กรรมการและบรรณารักษ์

๗. นางรัตนาพร เทียมปาน กรรมการและปฏิคม

๘. นางดารารตั น์ ศรลมั พ์ กรรมการและประชาสัมพนั ธ์

๙. นางสาวชัญญณัส อธศิ กั ด์ิโสภา กรรมการและเหรัญญิก

๑๐. นางภารดี ผางสง่า กรรมการและเลขานุการ

๑๑. นางสาวกานต์รวี ไชยชมภู กรรมการ

๑๒. นางพลมิ า บญุ พรหม กรรมการ

๑๓. นางลมยั พร แหล่งหลา้ กรรมการ

๑๔. นางฐติ มิ า ประณิธพิ งศ์ กรรมการ

๑๕. นางนิทรา ฉิน่ ไพศาล กรรมการ

๑๖. นางรำไพ คุ้มแกว้ กรรมการ

๑๗. นายใจศรี ชำนาญคง กรรมการ

๑๘. นางจรัญญา สวุ รรณเตมยี ์ กรรมการ

๑๙. จ่าโทณรงค์ ตะแกว้ กรรมการ

๒๐. นางสาวฐติ มิ า โทนมณี กรรมการ

๒๑. นางอารยา เวสารชั กร กรรมการ

๒๒. นางเยาวลกั ษณ์ ชีวจิตต์วรกุล กรรมการ

๒๓. นายปรีดา สทุ ธวิ วิ ฒั น์ กรรมการ

13

ผู้ปกครองกบั โรงเรียน

ในกรณีท่ีผปู้ กครองมีความประสงค์ตดิ ต่อกับโรงเรยี นในเรือ่ งต่าง ๆ สามารถตดิ ต่อไดด้ งั น้ี

เรือ่ งท่ตี อ้ งการติดตอ่ เจา้ หน้าท่ี สถานทต่ี ดิ ต่อ

๑. การชำระค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ครูประจำช้นั / หอ้ งเรียน/หอ้ ง
การเงิน บริหารงบประมาณ
๒. การชำระคา่ ใชจ้ ่ายของสมาคมผปู้ กครอง
และครูโรงเรยี นวดั อมรินทราราม ครูประจำช้นั / หอ้ งเรยี น/
เหรญั ญิก ห้องบรหิ ารวิชาการ
๓. ขอรบั เอกสารแสดงผลการเรียน หอ้ งบริหารวิชาการ
๔. ขอรบั เอกสารหนงั สอื รบั รอง งานทะเบยี นนกั เรียน ห้องสำนักงาน ธรุ การ
๕. การขอยา้ ยออกจากโรงเรยี น งานทะเบียนนักเรียน ห้องสำนกั งาน ธุรการ
๖. เปล่ียนชื่อ – สกลุ ทงั้ ของนักเรียนและบิดามารดา งานทะเบียนนักเรียน ห้องสำนักงาน ธุรการ
๗. เปลีย่ นยศบิดา มารดา งานทะเบยี นนักเรียน หอ้ งสำนักงาน ธุรการ
งานทะเบยี นนกั เรยี น
(ในกรณีท่ี บิดา มารดาเปน็ ทหารตำรวจ)
๘. การแจ้ง – ขอรบั ของหาย งานบุคคล ห้องพยาบาล
๙. ปัญหาการขาดเรียน ความประพฤตินกั เรยี น งานบุคคล หอ้ งสำนกั งาน ธุรการ
๑๐. ขออนุญาตออกนอกสถานท่ี (ครู – นกั เรยี น) งานบคุ คล หอ้ งสำนักงาน ธุรการ
๑๑. ขอรบั ทุนการศึกษา งานบุคคล หอ้ งสำนกั งาน ธุรการ
๑๒. การประกันอบุ ตั เิ หตุ พยาบาล (งานบุคคล)
๑๓. ปญั หาเกย่ี วกับการเรียน - การสอน งานวิชาการ ห้องพยาบาล
๑๔. เรอื่ งอืน่ ๆ งานบริหารทวั่ ไป หอ้ งบริหารวชิ าการ
หอ้ งสำนักงาน ธุรการ

14

กำหนดการเปดิ รับสมัครนักเรียน

ชั้นอนุบาล และ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑

เปดิ รบั สมัครตัง้ แต่
วนั ที่ ๑๕ มกราคม – ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ของทกุ ปี หรอื ตามประกาศของ

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

หลกั ฐานการรับสมัคร

๑. สตู บิ ตั ร
๒. สำเนาทะเบยี นบ้านนกั เรียน บดิ า มารดา
๓. หลกั ฐานการเปล่ียนชื่อ – สกลุ (ถ้าม)ี
๔. รปู ถา่ ย ๒ ใบ ขนาด ๑ นิ้วคร่ึง
๕. เด็กท่เี คยเรยี น หรอื กำลงั เรียนชัน้ อนุบาล (ให้นำใบรับรองการเรยี นมาดว้ ย)

การคดั เลอื ก

- การรบั นักเรียนตรงตามเกณฑ์ และเปา้ หมายของโรงเรยี น
- การจบั ฉลาก สำหรับนกั เรยี นเขา้ ใหม่ ในกรณสี มคั รเกินกวา่ เปา้ หมายท่ีกำหนด
- การทดสอบ สำหรับนกั เรียนท่ีต้องการย้ายเข้ามาเรยี นในแตล่ ะระดับช้ัน

กำหนดการเปิด – ปิดภาคเรยี น

โรงเรียนวดั อมรนิ ทราราม เปดิ เรียน ๒ ภาคเรียน ในแตล่ ะปกี ารศึกษา มกี ำหนดการเปดิ – ปิด
แต่ละภาคดังน้ี

ภาคเรยี นท่ี ๑ เปดิ ๑๖ พฤษภาคม - ๕ ตุลาคม
ปิด ๖ ตุลาคม - ๓๑ ตลุ าคม

ภาคเรียนท่ี ๒ เปดิ ๑ พฤศจิกายน - ๓๑ มนี าคม
ปิด ๑ เมษายน - ๑๕ พฤษภาคม

การมาโรงเรียนและกลับบา้ น

ในแต่ละสัปดาห์ โรงเรียนเปิดทำการสอน ต้ังแต่วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลามาโรงเรียนควรมาถึง

โรงเรยี นอยา่ งชา้ ก่อนเวลา ๐๗.๓๐ น.

สัญญาณเข้าเรยี น เวลา ๐๗.๔๕ น.

เข้าหอ้ งเรยี น เวลา ๐๘.๑๕ น.

เวลากลับบ้าน
อนุบาล ๓ ขวบ, อนบุ าลปีที่ ๑ - ๒ เลิกเรียนเวลา ๑๔.๓๐ น.
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖ เลิกเรยี นเวลา ๑๕.๑๕ น.

15

ระเบยี บวา่ ด้วยการแต่งกายของนกั เรียน

เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนวัดอมรินทราราม แต่งกายถูกต้อง เป็นระเบียบ จึงกำหนดให้นักเรียน
แต่งเครอื่ งแบบดงั น้ี

๑. การแตง่ กายนกั เรียนชัน้ อนบุ าล
๑.๑ สญั ลักษณป์ ระจำโรงเรยี น
ปักเคร่ืองหมายสัญลักษณ์ดอกบวั และชอื่ โรงเรียนที่กระเป๋าเสอ้ื ตามแบบที่กำหนด

และปักชื่อ – นามสกลุ นักเรยี น ดา้ นขวามอื ดว้ ยไหมสนี ้ำเงนิ ขนาดอกั ษร ๐.๕ เซนติเมตร
๑.๒ นักเรียนชาย
หมวก สวมหมวกสีประจำโรงเรยี น
เสื้อ สีขาวปกบัวมนผ่าด้านหน้าตลอด ติดกระดุม ๓ – ๕ เม็ด ปักเครื่องหมาย

ตามที่โรงเรียนกำหนด ชายเสือ้ ตดิ กระดุมขาว ด้านหน้า - ด้านหลัง ดา้ นละ ๒ เม็ด สำหรับยึดกบั ขอบ
กางเกง

กางเกง สีกรมท่าไม่มีจีบ ต่อเอว ติดซิบ ข้างขอบกางเกงถักรังดุม ด้านหน้า –
ด้านหลัง ดา้ นละ ๒ เม็ด

ถุงเทา้ สีขาวไมม่ ลี วดลาย
รองเท้า หนงั สีดำติดกระดมุ แปะดา้ นหน้า

16

๑.๓ นกั เรียนหญิง
ทรงผม ผมทรงนักเรยี น และอนุญาตให้ไว้ผมยาวได้แต่จะต้องดำเนนิ การ ดังนี้
๑. ผู้ท่ีไว้ผมยาวถึงบา่ ใหร้ วบให้เรยี บรอ้ ย
๒. ผทู้ ี่ไว้ผมยาวเลยบา่ ใหถ้ ักเปียคู่ โบว์ผูกผมใหใ้ ชส้ ีขาวทั้งสองข้าง
๓. ห้ามทำสีผม
๔. สวมหมวกประจำสโี รงเรยี น
เส้ือ สีขาวปกบัวมน ผ่าด้านหน้าตลอด ติดกระดุม ๓ – ๕ เม็ด ปักเครื่องหมาย

ตามที่โรงเรียนกำหนด ชายเส้ือติดกระดุมขาว ด้านหน้า – ด้านหลัง ด้านละ ๒ เม็ด สำหรับยึดกับขอบ
กระโปรง

กระโปรง สกี รมท่า จบี รอบตวั จีบกว้างประมาณ ๑ น้วิ
ถุงเทา้ สีขาวไมม่ ีลวดลาย
รองเท้า รองเทา้ หนงั สีดำมีสายคาด ตดิ กระดมุ แปะ

17

๑.๔ การแตง่ กายชดุ นักเรียนช้ันอนุบาลห้องเรยี น Mini English Program (MEP)
แต่งกายในวนั จนั ทร์ และศุกรข์ องทุกสัปดาห์
๑.๔.๑ นักเรยี นชาย
ทรงผม ผมทรงนักเรียน หา้ มไว้ผมยาวคลมุ ถงึ หู ไม่ใส่น้ำมันหรือเจล ไม่ย้อมผม

หรอื ทำสผี ม และต้องตัดผมให้ถกู ระเบียบ สวมหมวกประจำสโี รงเรยี น
เสื้อ สีขาวปกบัวมนผ่าด้านหน้าตลอด ติดกระดุม ๓ – ๕ เม็ด ปักเครื่องหมาย

ตามที่โรงเรียนกำหนด ปักช่ือ – นามสกุลภาษาองั กฤษ และภาษาไทย ด้านขวามือ สวมเนคไทผ้าลายสก๊อต
สเี ขยี ว – ขาว

กางเกง ผ้าลายสก๊อตสีเขียว – ขาว ไม่มีจีบ ต่อเอว ติดซิปข้างขอบกางเกง
ถักรงั ดมุ ดา้ นหน้า – ดา้ นหลัง ดา้ นละ ๒ เม็ด มีสายสะพายพาดบ่าทั้งสองข้าง

ถงุ เท้า สีขาวไมม่ ีลวดลาย
รองเท้า หนงั สีดำติดกระดมุ แปะดา้ นหนา้

18

๑.๔.๒ นักเรยี นหญงิ
ทรงผม ผมทรงนกั เรยี น และอนญุ าตให้ไวผ้ มยาวไดแ้ ต่จะต้องดำเนนิ การ ดงั น้ี

๑. ผ้ทู ี่ไว้ผมยาวถึงบ่าใหร้ วบใหเ้ รยี บร้อย
๒. ผู้ทไ่ี ว้ผมยาวเลยบ่าใหถ้ ักเปียคู่ โบว์ผูกผมใหใ้ ชส้ ีขาวทัง้ สองขา้ ง
๓. ห้ามทำสผี ม
๔. สวมหมวกสปี ระจำโรงเรยี น
เสื้อ สีขาวปกบัวมนผ่าด้านหน้าตลอด ติดกระดุม ๓ – ๕ เม็ด ปักเคร่ืองหมาย
ตามที่โรงเรยี นกำหนด ปักช่ือ – นามสกลุ ภาษาองั กฤษ และภาษาไทย ดา้ นขวามือ สวมโบผ้าลายสก๊อต สี
เขยี ว – ขาว
กระโปรง ใช้ผ้าลายสก๊อตสีเขียว – ขาว แบบจีบรอบเอวจีบกว้าง ๓
เซนติเมตร วนจากขวาไปซ้าย ข้างลำตวั ด้านซา้ ยติดซิป ที่ขอบเอว ติดตะขอ มีกระเป๋าด้านขวา ขอบ
กระโปรงกวา้ ง ๓ เซนติเมตร กระโปรงยาวคลุมเขา่ ชายกระโปรงพบั ริมกวา้ ง ๓ เซนติเมตร ขา้ งขอบ
กระโปรงถกั รังดุม ด้านหนา้ – ด้านหลัง ด้านละ ๒ เม็ด มีสายสะพายพาดบา่ ทงั้ สองขา้ ง
ถงุ เท้า สีขาวไม่มีลวดลาย
รองเทา้ หนงั สดี ำตดิ กระดมุ แปะดา้ นหนา้

19
๑.๕ การแต่งกายชุดพลศึกษา
สวมหมวกสีประจำโรงเรยี น ใช้ชดุ พลศึกษาตามแบบทโ่ี รงเรียนกำหนด ไม่ต้องปักอักษรยอ่ ส.อ.ร.
เนื่ อ งจ าก มี ต ร าสั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ งโรงเรียน แ ส ด งอ ยู่ท่ี ก ร ะ เป๋ า เสื้ อ แ ต่ ให้ ปั ก ช่ือ – น าม สกุ ล
ของนักเรียนด้านซ้ายเหนือกระเป๋า ขนาดของตัวอักษร ๐.๕ เซนติเมตร ไม่ต้องมีคำนำหน้าช่ือ
(เดก็ ชาย , เด็กหญิง) ปักด้วยไหมสีนำ้ เงนิ

นักเรียนชาย

นกั เรยี นหญิง

20

๒. การแตง่ กายนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษา
๒.๑ นักเรียนชาย
ทรงผม ผมทรงนักเรียน ห้ามไวผ้ มยาวคลุมถึงหู ไมใ่ สน่ ้ำมันหรือเจล ไม่ย้อมผม

หรือทำสีผม และตอ้ งตดั ผมใหถ้ ูกระเบยี บ สวมหมวกประจำสีโรงเรียน
เสื้อ ใช้ผ้าสีขาวเกลี้ยงปกเช้ิตผ่าตลอด ติดกระดุม ๓ – ๕ เม็ด ลักษณะ

กระดมุ ขาวกลมแบนตดิ กระเปา๋ ดา้ นซา้ ยบน ปักสญั ลกั ษณท์ เี่ ส้ือตามแบบทโี่ รงเรียนกำหนด ไมค่ ับหรอื หลวม
เกินไป

กางเกง ใช้ผ้าเกล้ียงสีกรมท่า ขนาดได้สัดส่วนกับร่างกายมีจีบด้านข้าง ๒ จีบ
มีห่วงตรงขอบเอว ๕ – ๗ ห่วง ขนาดไม่เกิน ๑ เซนติเมตร ขาสั้นเหนือเข่าวัดกลางสะบ้าเข่า ถึงขอบ
กางเกงไม่เกิน ๕ เซนติเมตร ความกว้างของกางเกงเม่ือยืนตรงขอบกางเกงห่างจากขา ๘ – ๑๒
เซนติเมตร ตามขนาดของขา ปลายขาพับชายเขา้ ๓ – ๕ เซนติเมตร มีกระเปา๋ ตามแนวขอบตะเขบ็ ขา้ ง
ละ ๑ กระเปา๋

เข็มขัด ทำด้วยหนังสีดำ ขนาดกว้าง ๒.๕ – ๔ เซนติเมตร ความยาวตาม
ขนาดเอว หัวเข็มขัดเป็นโลหะรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้ามุมมน ชนิดหัวขัดเกล้ียง ปลอกสีเดียวกันสำหรับสอด
ปลายเข็มขดั คาดพอดเี อว มองเห็นหัวเข็มขัดตดิ ขอบกางเกง

ถงุ เทา้ ถุงเท้าสขี าวสั้นแบบธรรมดาไม่มีลวดลาย ความยาวไม่เกนิ ครงึ่ นอ่ ง
รองเท้า รองเท้าผ้าใบหรือหนังสีดำ หุ้มส้น มีเชือกผกู สีดำไม่มลี วดลายใดๆ ส้น
สงู ไมเ่ กิน ๓ เซนติเมตร

21

๒.๒ นักเรยี นหญงิ
ทรงผม ผมทรงนกั เรยี น และอนุญาตใหไ้ วผ้ มยาวไดแ้ ต่จะต้องดำเนินการ ดังนี้
๑. ผู้ทไี่ ว้ผมยาวถงึ บา่ ให้รวบใหเ้ รียบรอ้ ย
๒. ผู้ทไ่ี ว้ผมยาวเลยบ่าใหถ้ กั เปียคู่ โบว์ผูกผมใหใ้ ช้สีขาวท้ังสองขา้ ง
๓. หา้ มทำสีผม
๔. สวมหมวกสปี ระจำโรงเรยี น
เสื้อ ผ้าสขี าวเกล้ียงไม่บางเกินไปคอโปโล ผ้าขาวเน้ือเกลี้ยงไม่บาง ปกบัวมนใช้ ผ้า ๒ ช้ิน

ส่วนกว้างประมาณ ๕ – ๗ เซนติเมตร สว่ นคอผ่าพอสวมศรี ษะได้สะดวก ตดิ กระดุมสีขาว กลมแบน ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน ๑ เซนติเมตร จำนวน ๒ เม็ด แขนเส้ือส้ันเพียงข้อศอก แขนปล่อย พับปลาย
แขนยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร ตวั เสื้อยาวเลยเอวประมาณ ๘ – ๑๐ เซนติเมตร พับชายเสื้อประมาณ
๔ – ๕ เซนติเมตร ด้านขวาตอนล่างติดกระเป๋าพับริมประมาณ ๒ เซนติเมตร ปักสัญลักษณ์ที่เสื้อตาม
แบบทโี่ รงเรยี นกำหนด ปักจดุ แสดงระดับชัน้ ปักชื่อ – นามสกุล

กระโปรง ใช้ผ้าเน้ือเกล้ียงสีกรมท่า แบบจีบรอบตัว จีบกว้าง ๓ เซนติเมตร วนจากขวาไปซ้าย
ขา้ งลำตัวด้านซ้ายตดิ ซิปทข่ี อบเอว ติดตะขอ กระเป๋าด้านขวา ขอบกระโปรงกว้าง ๓ เซนติเมตร กระโปรง
ยาวคลมุ เขา่ ชายกระโปรงพบั รมิ กว้าง ๓ เซนติเมตร

ถุงเท้า ถงุ เท้าแบบสน้ั ธรรมดาสขี าว ไม่มลี วดลาย
รองเท้า รองเทา้ หนังสีดำ ห้มุ ส้น มสี ายรัด

22

๒.๓. การแต่งกายชุดนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาห้องเรยี น Mini English Program (MEP)
แตง่ กายในวนั พุธ และศกุ ร์ของทุกสปั ดาห์
๒.๓.๑ นักเรียนชาย
ทรงผม ผมทรงนักเรียนห้ามไว้ผมยาวคลุมถงึ หู ไม่ใส่น้ำมันหรือเจล ไม่ย้อมผมหรอื ทำสีผม

และตอ้ งตัดผมใหถ้ ูกระเบียบ สวมหมวกสปี ระจำโรงเรยี น
เส้ือ ใช้สีขาวเกล้ียงปกเชิ้ตผ่าตลอด ติดกระดุม ๓ – ๕ เม็ด ลักษณะกระดุมขาวกลม

แบนติดกระเป๋าด้านซ้ายบน ปักสัญลักษณ์ที่เส้ือตามแบบท่ีโรงเรียนกำหนด ปักจุดแสดงระดับชั้น
ปกั ชื่อ–นามสกุลภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ของนกั เรยี นด้านซ้ายเหนอื กระเปา๋ สวมเนคไทผา้ ลายสก๊อต

กางเกง ใช้ผ้าลายสก๊อต ขนาดได้สัดส่วนกับร่างกายมีจีบด้านข้าง ๒ จีบ มีห่วง ตร งขอบ
เอว ๕-๗ ขนาดไม่เกิน ๑ เซนตเิ มตร ขาส้ันเหนือเขา่ วดั กลางสะบ้าเขา่ ถึงขอบกางเกงไม่เกิน ๕ เซนติเมตร
ความกว้างของกางเกงเมื่อยนื ตรงขอบกางเกงห่างจากขา ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ตามขนาด ของขา ปลาย
ขาพับ ชายเข้า ๓ – ๕ เซนติเมตร มีกระเปา๋ ตามแนวขอบตะเขบ็ ข้างละ ๑ กระเป๋า

เข็มขัด ทำด้วยหนังสีดำ ขนาดกว้าง ๒.๕ – ๔ เซนติเมตร ความยาวตามขนาดเอว
หัวเข็มขัดเป็นโลหะรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้ามุมมน ชนิดหัวขัดเกล้ียง ปลอกสีเดียวกันสำหรับสอดปลายเข็มขัด
คาดพอดีเอว มองเหน็ หัวเข็มขัดตดิ ขอบกางเกง

ถุงเท้า ถงุ เท้าสขี าวส้ันแบบธรรมดาไม่มีลวดลาย ความยาวไม่เกนิ ครงึ่ น่อง
รองเท้า รองเท้าผ้าใบหรอื หนงั สดี ำ หุ้มส้น มีเชอื กผกู สีดำไมม่ ีลวดลายใด ๆ ส้นสูงไม่เกิน
๓ เซนตเิ มตร

23

๒.๓.๒ นกั เรียนหญิง
ทรงผม ผมทรงนักเรยี น และอนุญาตใหไ้ วผ้ มยาวไดแ้ ต่จะตอ้ งดำเนินการ ดังน้ี

๑. ผทู้ ีไ่ ว้ผมยาวถงึ บ่าให้รวบให้เรียบรอ้ ย
๒. ผู้ท่ไี วผ้ มยาวเลยบา่ ให้ถักเปียคู่ โบว์ผกู ผมให้ใช้สีขาวท้งั สองขา้ ง
๓. หา้ มทำสผี ม
๔. สวมหมวกประจำสโี รงเรียน
เสือ้ ผ้าสีขาวเกลี้ยงไม่บางเกินไปคอโปโล ผา้ ขาวเนื้อเกลย้ี งไมบ่ าง ปกบัวมนใช้ผ้า
๒ ชนิ้ ส่วนกว้างประมาณ ๕ – ๗ เซนติเมตร สว่ นคอผา่ พอสวมศีรษะได้สะดวก ตดิ กระดมุ สขี าวกลมแบน
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน ๑ เซนติเมตร จำนวน ๒ เม็ด แขนเส้ือสั้นเพียงข้อศอก แขนปล่อย
พบั ปลายแขนยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร ตวั เสื้อยาวเลยเอวประมาณ ๘ – ๑๐ เซนตเิ มตร พับชายเสื้อ
ประมาณ ๔ – ๕ เซนตเิ มตร ด้านขวาตอนล่างติดกระเป๋าพับริมประมาณ ๒ เซนติเมตร ปักสัญลักษณ์ท่ี
เส้ือตามแบบที่ โรงเรียนกำหนด ปักจุดแสดงระดับช้ัน ปักช่ือ – นามสกุลภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
ของนกั เรยี นด้านซ้ายเหนือกระเป๋า สวมโบว์ผ้าลายสกอ๊ ต
กระโปรง ใช้ผ้าลายสก๊อตสีเขียว – ขาว แบบจีบรอบตัว จีบกว้าง ๓ เซนติเมตร
วนจากขวาไปซ้าย ข้างลำตัวด้านซ้ายติดซิปท่ีขอบเอว ติดตะขอ มีกระเป๋าด้านขวา ขอบกระโปรงกว้าง
๓ เซนตเิ มตร กระโปรงยาวคลมุ เข่า ชายกระโปรงพบั ริมกว้าง ๓ เซนติเมตร
ถุงเท้า ถงุ เทา้ แบบส้นั ธรรมดาสีขาว ไมม่ ีลวดลาย
รองเทา้ รองเทา้ หนังสดี ำ หมุ้ ส้น มีสายรดั

24

๒.๔ การแต่งกายชดุ พลศกึ ษา
สวมหมวกประจำสีโรงเรยี น ใช้ชุดพลศึกษาตามแบบทโ่ี รงเรียนกำหนด ไม่ต้องปักอักษรยอ่ ส.อ.ร.
เน่ืองจากมีตราสัญลักษณ์ของโรงเรียนแสดงอยู่ที่กระเป๋าแล้ว แต่ให้ปักช่ือ – นามสกุล และปักจุดแสดง
ระดับช้ันเหมือนกับเส้ือนักเรียน ปักช่ือ – นามสกุล ของนักเรียนด้านซ้ายเหนือกระเป๋า ขนาดของ
ตัวอกั ษร ๐.๕ เซนติเมตร ไมต่ ้องมีคำนำหน้าชอื่ (เด็กชาย , เด็กหญิง) ปกั ดว้ ยไหมสีนำ้ เงนิ

25

๓. การแต่งกายลูกเสอื – เนตรนารี

ลกู เสือสำรอง (ป.๑ – ๓) เนตรนารี (ป.๑ – ๓)

ลูกเสือสามัญ (ป.๔ - ๖) เนตรนารี (ป.๔ - ๖)

26

๔. การปักสญั ลกั ษณ์
๔.๑ การปักชอื่ โรงเรยี น ปักอักษรย่อ ส.อ.ร. ดา้ นขวามือของผู้สวมใสต่ ามแบบตวั อักษรที่โรงเรยี น

กำหนด ด้วยไหมสนี ้ำเงิน
๔.๒ ปกั ชอ่ื – สกุล
๔.๒ .๑ ปักชื่อ – สกุล ของนักเรียน ด้าน ซ้ายมือของผู้ส วมใส่ด้วยไหมสีน้ำเงิน

ขนาดตวั อกั ษร ๐.๕ เซนตเิ มตร ไม่ตอ้ งมีคำนำหน้าชอ่ื (เดก็ ชาย , เด็กหญงิ )
๔.๒.๒ ปักช่ือ – สกุล ของนักเรียนห้องเรียน Mini English Program (MEP) ด้านซ้ายมือ

ของผู้สวมใส่ด้วยไหมสีน้ำเงิน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ขนาดตัวอักษร ๐.๕ เซนติเมตร ไม่ต้องมี
คำนำหน้าชื่อ (เดก็ ชาย , เด็กหญงิ )

๔.๓ การปักจุดแสดงระดับช้ัน ปักเครื่องหมายจุดเรียงกันเหนือชื่อ – นามสกุล ของนักเรียน
ตามจำนวนและสดี งั น้ี

- ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปกั จุด ๑ จุด ไหมสแี ดง
- ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ ปักจุด ๒ จุด ไหมสแี ดง
- ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ปักจดุ ๓ จดุ ไหมสีแดง
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ ปกั จดุ ๑ จุด ไหมสีนำ้ เงนิ
- ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปักจดุ ๒ จดุ ไหมสีนำ้ เงิน
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปักจดุ ๓ จดุ ไหมสีนำ้ เงิน
นักเรียนทุกคนต้องแต่งกายตามระเบียบของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด และสวมหมวก ของโรงเรียน
ทุกวนั โดยใหป้ กั ชื่อ – นามสกุล ท่หี มวกของนักเรยี นด้วย

เครอื่ งใชป้ ระจำตัวนักเรียน
- กระเป๋านักเรียนให้ใช้กระเป๋าสะพายสีดำหรือสีกรมท่า หรือกระเป๋าหูห้ิวสีดำ ไม่ใช้ถุงกระดาษ

หรือยา่ มใสห่ นงั สือมาโรงเรยี น
- กระบอกนำ้ คนละ ๑ ใบ ไม่ควรใช้ปะปนกนั
- ผา้ เชด็ หน้าประจำตวั คนละ ๑ ผนื
- อปุ กรณเ์ ครอ่ื งเขียนท่ีจำเป็นไดแ้ ก่
๑. ดนิ สอดำ ไมบ้ รรทดั ยางลบ และสมุดควรมีครบ สำหรับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖
๒. ปากกาสำหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ – ๖

27

ระเบียบการปฏิบัติตนของนกั เรยี นโรงเรยี นวัดอมรนิ ทราราม

เม่ือเด็กได้ก้าวเข้าเป็นนักเรียนของโรงเรียนวัดอมรินทราราม จะต้องปฏิบัติตนตามระเบียบที่ทาง
โรงเรียนกำหนด ท้ังนี้เพ่ือให้เข้าสู่ระบบของโรงเรียน สร้างความเป็นระเบียบวินัยให้กับนักเรียน โดยอยู่
ภายใตก้ ารดแู ลของครู – อาจารย์ และผู้ปกครองรว่ มกันระเบยี บปฏบิ ัตติ นของนักเรียนในเร่อื งต่าง ๆ มีดังนี้

การมาโรงเรยี น
๑. นักเรียนทุกคนจะตอ้ งมาโรงเรียนให้ทันเข้าแถวเคารพธงชาตเิ วลา ๗.๔๕ น. ถ้าเลยจากนี้ถือวา่ มาสาย

และเมือ่ เขา้ ประตโู รงเรียนมาแล้ว ไมอ่ นุญาตใหอ้ อกนอกบริเวณโรงเรยี น จนกวา่ จะถึงเวลาโรงเรยี นเลิก
๒. ถ้านักเรียนมาสายเดือนหน่ึงเกิน ๕ ครั้งขึ้นไป ทางโรงเรียนจะมีจดหมายแจ้งผู้ปกครองรับทราบและ
ขอความรว่ มมือแก้ไข
๓. ถ้ามเี หตจุ ำเปน็ ต้องมาสาย ผู้ปกครองต้องแจ้งให้ทางโรงเรยี นทราบ
๔. ถ้านักเรียนท่ีมาถึงโรงเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรมกลางสนามให้แยกเข้าแถวต่างหาก ตามที่โรงเรียน
กำหนด และตอ้ งทำกิจกรรมพร้อมนักเรยี นในแถวด้วย

บรกิ ารทโี่ รงเรยี นจดั ใหน้ กั เรยี น
๑. ห้องสมุด มีครบู รรณารักษ์ประจำห้อง บริการตั้งแต่ เวลา ๐๗.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ทุกวัน สามารถใช้
บรกิ ารห้องสมดุ ศึกษาคน้ คว้าและเปดิ บรกิ ารยืม – คนื หนงั สือ หรือใชบ้ รกิ ารสืบค้นข้อมลู ในอินเตอรเ์ นต็ ได้
๒. ห้องพยาบาล บรกิ ารสำหรบั นักเรียนเจ็บปว่ ย มีครู และเจา้ หนา้ ทีฝ่ ่ายพยาบาลดูแลประจำตลอดเวลา
๓. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถเข้าศึกษาเรยี นรู้ ฝึกปฏิบัติ และทำการทดลอง ได้ในความ
ดูแลของคณุ ครู
๔. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางภาษา นกั เรียนสามารถเข้าศึกษาเรยี นรู้ จากเจ้าของภาษาได้โดยตรง
๕. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ บริการเสริมทกั ษะความรคู้ วามสามารถการใชค้ อมพวิ เตอร์ เพอื่ การศกึ ษา
๖. หอ้ งแนะแนว มคี รูแนะแนวเปน็ ทป่ี รกึ ษาหารอื คอยดแู ล ช่วยเหลือนักเรยี นท้งั ด้านส่วนตัวและการเรียน
๗. มที นุ การศกึ ษาของโรงเรียน โดยคณะกรรมการจัดหาทุน เพอื่ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นขาดแคลน ใหส้ ามารถ
ศึกษาเล่าเรยี นได้ และมที นุ ส่งเสริมนักเรยี นท่เี รียนดีและประพฤตดิ ี
๘. หนังสอื เรียน โรงเรียนจดั ซือ้ มอบใหน้ กั เรียนตามงบประมาณท่ีรัฐบาลสนับสนุน ส่วนเกินจากทไ่ี ด้รบั
ผปู้ กครองต้องจัดซอื้ เพิม่ เตมิ
๙. อาหารกลางวัน และอาหารเสริม (นม) โรงเรียนจดั ซ้อื /จดั จ้าง บรกิ ารให้นักเรยี นทุกคน ทกุ วนั มาเรยี น
ตามท่ีไดร้ บั งบประมาณสนับสนุน

28

การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมประจำวนั ของนักเรยี นระดับปฐมวัย

เวลา กจิ กรรมประจำวนั

๐๗.๔๕ – ๐๘.๐๐ น. รบั นักเรยี นตรวจสขุ ภาพ พาไปห้องนำ้ เตรยี มเข้าแถว

๐๘.๐๐ – ๐๘.๑๕ น. เคารพธงชาติ สวดมนต์ กิจกรรมเช้าหนา้ เสาธง

๐๘.๑๕ – ๐๘.๒๕ น. สนทนาเล่าขา่ ว และเหตกุ ารณ์ / นทิ าน

๐๘.๒๕ – ๐๘.๔๕ น. กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ

๐๘.๔๕ – ๐๙.๔๕ น. กจิ กรรมสรา้ งสรรค์และเล่นเสรี (ตามมุม)

๐๙.๔๕ – ๐๙.๕๐ น. พกั

๐๙.๕๐ – ๑๐.๑๐ น. กิจกรรมในวงกลม (เสริมประสบการณ์)

๑๐.๑๐ – ๑๐.๕๐ น. กจิ กรรมกลางแจง้

๑๐.๕๐ – ๑๒.๐๐ น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน

๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. นอนพกั ผอ่ น

๑๔.๐๐ - ๑๔.๒๐ น. เก็บทน่ี อน ลา้ งหนา้

๑๔.๒๐ – ๑๔.๓๐ น. พัก รบั ประทานอาหารว่าง ดมื่ นม

๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. เกมการศกึ ษา

๑๔.๔๕ – ๑๕.๐๐ น. สรุปกิจกรรมในหนึ่งวนั

๑๕.๐๐ น. เลกิ เรียน

๑๕.๑๕ – ๑๖.๑๕ น. กจิ กรรมสง่ เสริมศักยภาพ

๑๖.๑๕ น. ผู้ปกครองรับนักเรียนกลับบา้ น

การปฏิบัติกิจกรรมประจำวันของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษา

เวลา กิจกรรมประจำวนั

๐๗.๔๕ – ๐๗.๕๕ น. สัญญาณเพลงมารช์ อมรินทร์ เพลงนาฬิกา เตรียมแถว

๐๘.๐๐ – ๐๘.๑๕ น. เคารพธงชาติ สวดมนต์ กิจกรรมเช้าหน้าเสาธง

๐๘.๑๕ – ๑๑.๑๕ น. กิจกรรมการเรยี นชว่ั โมงท่ี ๑ ถึงชัว่ โมงท่ี ๓

๑๑.๑๕ – ๑๒.๑๕ น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั

๑๒.๑๕ – ๑๓.๑๕ น. กจิ กรรมการเรียนช่วั โมงที่ ๔

๑๓.๑๕ – ๑๔.๐๕ น. กจิ กรรมการเรียนชว่ั โมงท่ี ๕

๑๔.๐๕ – ๑๔.๑๕ น. พัก ๑๐ นาที ด่มื นม

๑๔.๑๕ – ๑๕.๑๕ น. กิจกรรมการเรยี นชั่วโมงท่ี ๖

๑๕.๑๕ น. เลกิ เรียน

๑๕.๑๕ – ๑๖.๑๕ น. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศักยภาพ

๑๖.๑๕ น. ผปู้ กครองรบั นักเรียนกลบั บา้ น

29
การปฏบิ ตั ติ นในห้องเรียน

๑. นักเรียนทุกคนต้องตั้งใจเรียนและทำงานตามท่คี รมู อบหมาย
๒. เคารพเช่อื ฟงั คำส่งั ของครู – อาจารย์ และหวั หน้าชน้ั
๓. ดแู ลทรัพย์สนิ ของห้องเรยี น โรงเรยี น ให้คงสภาพและการใช้งานไดด้ ี
๔. ปฏิบตั ติ นตามระเบียบของห้องเรยี นทก่ี ำหนดร่วมกนั ระหวา่ งครู – อาจารย์ และนักเรียน
๕. ไม่ออกจากหอ้ งเรียนโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต
๖. ต้อนรับแขกทมี่ าเยีย่ มเยือนด้วยความมีน้ำใจ
๗. รักษาความสามคั คีเออ้ื เฟ้ือเผ่อื แผ่ตอ่ เพ่ือน ไม่ทะเลาะเบาะแวง้ กนั
๘. ใหค้ วามรว่ มมือกับทางโรงเรียนในการปฏบิ ตั ติ นตามทค่ี รูเวร อบรม แนะนำ
๙. มาโรงเรยี นใหท้ นั เวลา ไมข่ าดเรยี นโดยไมจ่ ำเป็น

การใชอ้ าคารเรยี น
๑. ห้ามวง่ิ หรือเล่นบนอาคารเรียน
๒. เมื่อมกี ารเปลี่ยนหอ้ งเรยี น ใหเ้ ขา้ แถวและเดนิ แถวไปเรยี นอยา่ งมรี ะเบียบ
๓. ไมส่ วมรองเทา้ เข้าห้องเรยี น และนำรองเท้าไปวางที่ชัน้ วางรองเท้าอยา่ งมรี ะเบียบ
๔. ไม่ขีดเขียนฝาผนงั อาคารท้งั นอกหอ้ งเรียนและในหอ้ งเรยี น โรงเรียน รวมทั้งบนโตะ๊ เกา้ อี้
๕. การเดนิ ขน้ึ ลงบนั ไดอาคารเรียนให้เดนิ ชิดขวาทกุ ครั้ง

การรกั ษาความสะอาดในหอ้ งเรยี นและบริเวณโรงเรยี น
๑. นักเรียนทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาดในห้องเรียนโดยการปฏิบัติหน้าท่ี เวร
ตามที่ได้รับมอบหมาย และบริเวณโรงเรียน ให้ดูแลงามตา น่าอยู่ ตลอดจนการบำรุงรักษา
ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาติให้ร่มร่ืน สวยงามอยเู่ สมอ
๒. เมอ่ื ใชห้ ้องน้ำ ห้องสว้ มต้องราดนำ้ ทุกคร้งั และทงิ้ เศษขยะในภาชนะท่ีรองรับ
๓. เมอ่ื พบเหน็ ขยะตกหล่นท่บี รเิ วณใด ให้นกั เรียนทุกคนชว่ ยเก็บไปทง้ิ ให้ถูกที่
๔. นกั เรยี นทกุ คนต้องช่วยกนั ดแู ลความสะอาดในบริเวณโรงเรยี นตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

30
การใชโ้ ทรศพั ท์ของนกั เรยี น

๑. โรงเรยี นจัดโทรศัพท์สาธารณะใหน้ ักเรียนใช้ แตอ่ นญุ าตใหใ้ ช้เฉพาะนอกเวลาเรียนเท่านัน้
๒. โทรศัพท์มอื ถอื ไมอ่ นุญาตใหน้ กั เรยี นนำมาใชใ้ นโรงเรียนในกรณีท่ีผปู้ กครอง มีความจำเป็นต้องให้

นักเรียนพกโทรศัพท์มือถือในโรงเรียน ต้องเขียนบันทึก ขออนุญาตท่ีรองผู้อำนวยการ
กลุ่มบริหารงานบุคคล เป็นราย ๆ ไป แต่ท้ังนี้ จะต้องไม่พกโทรศัพท์ในท่ีเปิดเผย ไม่เปิด
โทรศัพท์ในเวลาเรยี น ทางโรงเรยี นไมต่ อ้ งรับผดิ ชอบในกรณีชำรุดสูญหาย

ระเบยี บปฏบิ ัตทิ ัว่ ไป
๑. นกั เรียนต้องแตง่ กายสะอาดเรียบรอ้ ย ถกู ตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรยี น
๒. นกั เรียนต้องไม่ประดับร่างกายด้วยสง่ิ ของมีคา่ ถ้าสญู หายโรงเรยี นจะไม่รบั ผิดชอบ
๓. นกั เรยี นตอ้ งเป็นผู้มคี ารวะธรรม ปญั ญาธรรม และสามคั คธี รรม
๔. เมื่อนักเรียนเก็บส่ิงของได้ให้นำส่งกรรมการงานบุคคล หรือครูผู้รับผิดชอบ เพื่อประกาศ
หาเจ้าของต่อไป
๕. นกั เรียนต้องไมล่ กั ขโมยส่ิงของเพอ่ื นและคนอนื่ ถ้าปฏบิ ัตจิ ะถือว่าเปน็ ความผิดท่ีรุนแรง
๖. นักเรียนต้องไม่ก่อเหตุทะเลาะววิ าทกนั ทงั้ ในโรงเรียนและนอกห้องเรียน
๗. นกั เรียนตอ้ งมกี ริยา มารยาทเรียบรอ้ ย
๘. ถ้านักเรียนมีอาการเจ็บไข้ได้ป่วย หรือได้รับอุบัติเหตุภายในโรงเรียนให้แจ้งครู หรือเจ้าหน้าที่ที่
ทำหนา้ ทเ่ี ป็นพยาบาลทราบ เพื่อได้รบั การปฐมพยาบาล และพิจารณาการนำสง่ โรงพยาบาล
๙. นักเรียนต้องช่วยกันรักษาทรัพย์สมบัตขิ องโรงเรียนไม่ให้เสียหาย ถ้าทำชำรุดเสียหายต้องชดใช้
หรือซ่อมแซมให้ดดี งั เดมิ
๑๐. นกั เรียนต้องชว่ ยกันใช้ไฟและนำ้ ของโรงเรียนอย่างประหยดั
๑๑. ห้ามนักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
๑๒. นักเรียนจะได้รับอนุญาตให้อยู่ภายในโรงเรียนไม่เกินเวลา ๑๖.๓๐ น. หลังจากน้ันทุกคน
จะต้องกลบั บ้าน

การรับประทานอาหารของนักเรียน
ด้วยโรงเรียนได้เห็นความสำคัญในด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน โดยเฉพาะการให้เด็กได้รับ

ประทานครบม้ือ และเป็นอาหารที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการถูกสุขลักษณะอนามัย จึงได้จัดโครงการ
อาหารกลางวันของนกั เรียน ในขณะเดียวกันกจ็ ัดให้มบี ริการอาหารเชา้ แก่นกั เรียนด้วย

31

โรงเรยี นเป็นผดู้ ำเนินการโครงการอาหารกลางวัน โดยจัดให้มีพ่อครัว แมค่ รัว เป็นผปู้ ระกอบอาหาร
ซ่ึงมหี วั หนา้ โครงการอาหารกลางวัน ของโรงเรียน เป็นผู้ควบคมุ คุณภาพ

 บริการตักอาหารให้แก่นกั เรียนทุกคน
 เมือ่ ได้รับอาหารครบทุกคนแลว้ รับประทานอาหารพรอ้ มกัน
 นกั เรียนต้องรับประทานอาหารอย่างมีมารยาทไม่ทำอาหารหกเลอะเทอะ
 เมอ่ื นกั เรียนรับประทานอาหารเสร็จแล้วใหน้ ำถาดไปเคาะเศษอาหารในภาชนะที่รองรับ
นักเรียนทุกคนต้องช่วยกันรักษาความสะอาดท้ิงเศษกระดาษ ถุงพลาสติก ถุงขนมอนื่ ๆ ในภาชนะ
รองรับ ถ้าต้องการซือ้ ขนม เครอ่ื งดืม่ เพ่มิ เติมให้เขา้ แถวอย่างมรี ะเบียบตามลำดบั ก่อน – หลงั

ระเบยี บการรับ – สง่ นกั เรยี นของผปู้ กครอง
เพอ่ื ความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย ตลอดจนความปลอดภยั ของนกั เรยี น โรงเรยี นจึงไดว้ างระเบยี บไว้ดังนี้
๑. การส่งนักเรียนเขา้ โรงเรียน
๑.๑ ผู้ปกครองนักเรียนทุกระดับชั้น ให้ส่งนักเรียนที่บริเวณหน้าประตูโรงเรียนเท่าน้ัน

นักเรียนเม่ือเข้าโรงเรยี นจะทำความเคารพครูเวรแล้วเข้าไปท่ีห้องเรียน เพ่ือเก็บกระเป๋านักเรียนก่อนไปทำ
กิจกรรมอ่ืน ๆ สำหรับผู้ปกครองท่ีมีความประสงค์จะซ้ือสินค้าจากสหกรณ์ หรือรับประทานอาหารเช้า
ควรใช้บริการในสถานท่ที โี่ รงเรยี นกำหนด

๑.๒ กำหนดเวลาเข้าแถวเช้า ๐๗.๔๕ น. เพื่อทำกิจกรรมหน้าแถว และเข้าห้องเรียน
ภายในเวลา ๐๘.๑๕ น. ผู้ปกครองควรส่งนักเรียนให้ทันเวลาเข้าแถว นักเรยี นที่มาสายจะต้องปฏิบัติตาม
ระเบียบของโรงเรยี น

๒. การรับนักเรยี นกลับบา้ น
๒.๑ ผู้ปกครองท่ีประสงค์จะขอรับนักเรียนกลับบ้านก่อนเวลาเลิกเรียน ให้ขออนุญาต

ครูประจำช้ัน โดยกรอกแบบขออนุญาต แล้วนำไปให้ครูประจำช้ันลงนามอนุญาตก่อนออกจากโรงเรียน
โดยปฏบิ ตั ติ ามระเบียบการลาออกนอกบริเวณซงึ่ จะกลา่ วถงึ รายละเอยี ดต่อไป

๒.๒ ผู้ปกครองท่ีมารับนักเรียนกลับบ้านตามเวลาปกติ ให้ผปู้ กครองมารอรับในบริเวณท่ี
โรงเรยี นจดั ให้ ขอความรว่ มมอื ไมข่ ึ้นบนอาคารเรียนโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

๒.๓ ผู้ปกครองที่มปี ัญหามารับนักเรยี นกลับบา้ นตามเวลาไม่ได้ ควรมารบั นกั เรียนอย่างช้า
ท่ีสุดไม่เกิน ๑๖.๓๐ น.

32

ระเบยี บว่าดว้ ยการลา
๑. การลาปว่ ย
เม่ือนักเรียนป่วยไม่สามารถมาโรงเรียนได้ ให้ผู้ปกครองแจ้งโรงเรียนทราบโดยด่วน เม่ือนักเรียน

หายป่วยและกลับมาเรียนตามปกติ ต้องมีใบลาที่มีผู้ปกครองลงชื่อรับรองการลาส่งครูประจำช้ันในวันแรก
ที่มาเรียน

๒. การลากิจ
ถ้าผู้ปกครองมีความจำเป็นต้องให้นักเรียนหยุดเพ่ือทำกิจธุระส่วนตัวต้องส่งใบลาท่ีมีผู้ปกครอง
ลงชื่อรับรองการลาล่วงหน้า ๑ วัน ก่อนหยุดเรียนถ้ากรณีไม่สามารถเขียนใบลาล่วงหน้าได้ ให้ส่งใบลา
ในวันแรกท่มี าเรยี นตอ่ ครปู ระจำช้นั
กรณหี ยุดเรยี นเกิน ๓ วัน โดยไม่ทราบสาเหตุ ทางโรงเรยี นจะมีขน้ั ตอนติดตามนักเรยี น ดงั น้ี

- แจ้งเตือนครัง้ ท่ี ๑ ด้วยเอกสาร แบบ บค.๑๔ เพ่ือใหผ้ ู้ปกครอง ส่งเด็กเขา้ เรียน กรณีเด็ก
ขาดเรียน ๓ วัน

- แจ้งเตอื นครง้ั ท่ี ๒ ดว้ ยเอกสาร แบบ บค. ๑๔ กรณีเด็กขาดเรยี นเกนิ ๗ วัน
- เมื่อเตือน ๒ ครงั้ แล้ว นักเรียนยงั ไมม่ าโรงเรยี นทางโรงเรียนจะแจ้งดว้ ยเอกสาร ปศ.๑๕
กรณีเด็กขาดเรียนนานไม่สามารถติดต่อได้ และทางอำเภอหรือเขตรับรองว่าไม่มีตัวตน โรงเรียน
สามารถจำหนา่ ยนกั เรยี นใหพ้ ้นจากการเป็นนกั เรียนได้

ระเบียบวา่ ด้วยการทำความเคารพของนักเรียน
การทำความเคารพของนักเรยี นแบง่ ได้ ๒ ประเภท คอื การทำความเคารพในห้องเรียนและการทำ

ความเคารพนอกห้องเรียน
๑. การทำความเคารพในหอ้ งเรยี น
เม่ือครูเข้ามาในห้องเรียน ให้หัวหน้าห้องเรียนเป็นผู้บอกทำความเคารพ โดยใช้คำส่ังว่า

“นักเรยี นเคารพ” หัวหน้าจะสัง่ โดยเว้นระยะระหว่าง นักเรยี น – เคารพ เพ่อื ให้นกั เรียนได้มเี วลาเตรียมตัว
เลิกทำงานทก่ี ำลังปฏิบตั ิ แลว้ ยนื ขน้ึ ยกมือไหว้พรอ้ มกนั และให้ใชค้ ำสง่ั เดียวกันนี้เมือ่ ครูออกจากห้องเรียน

๒. การทำความเคารพของนักเรยี นนอกห้องเรยี น (ในบรเิ วณโรงเรียน)
๒.๑ เมอ่ื นกั เรียนอยูใ่ นแถวใช้คำส่งั วา่ “แถวตรง” นักเรยี นทกุ คนยืนตรงในแถว
๒.๒ การทำความเคารพผคู้ วรเคารพในทางศาสนาใหท้ ำตามประเพณีนิยม
๒.๓ เมอ่ื ผู้ใหญ่ผา่ นมาใหย้ นื ตรงแลว้ ไหว้
๒.๔ เม่ือเดินสวนกบั ผู้ใหญ่ นักเรียนต้องหยุดหันไปทางผู้ใหญ่ยนื ตรง แล้วไหว้ เมื่อผู้ใหญ่

ผ่านไปแล้วจงึ เดนิ ไป
๒.๕ เม่ือผู้ใหญ่อยู่กับที่นักเรียนจะเดินผ่านไปให้หยุดยืนตรงแล้วไหว้ แล้วจึงเดินผ่านไป

โดยก้มตวั เล็กน้อย

33
๓. การทำความเคารพครเู วร
เมื่อนักเรียนเดินผา่ นเขา้ ประตูโรงเรียน ให้เข้าแถวต่อจากนักเรียนคนหน้า เมื่อเดินถึงครูเวรใหว้ าง
กระเป๋าหนังสือบนพ้ืน นักเรยี นชาย และนกั เรยี นยืนเท้าชิดกนั น้อมตัวลง ก้มศีรษะ ทำความเคารพ แล้วยก
มือไหว้พร้อมกับกล่าวคำว่า “สวัสดีครับ, สวัสดีค่ะ” ถ้าใส่เคร่ืองแบบลูกเสือ ให้ทำความเคารพโดย
ทำวนั ทยาหัตถ์ สว่ นยวุ กาชาดให้ยกมอื ไหวโ้ ดยไมถ่ อดหมวก

๔. การทำความเคารพนอกบริเวณโรงเรยี น
๔.๑ เม่อื นกั เรยี นพบครู นอกโรงเรียนให้ทำความเคารพโดยการไหว้
๔.๒ ถ้านักเรียนแต่งเคร่ืองแบบอ่ืน ๆ เช่น ลูกเสือ ยุวกาชาด ให้ทำความเคารพ

ตามระเบียบนั้น ๆ
๔.๓ ถ้าอยู่ในยานพาหนะสาธารณะ เช่น รถโดยสารประจำทางหรือ ยานพาหนะ ท่ีไม่

สะดวกทำความเคารพ เช่น รถยนต์ รถรบั จา้ ง รถบรรทุก ใหอ้ ยู่ในยานพาหนะด้วยอาการสำรวม

ความประพฤติที่ไมส่ มควรแก่การเป็นนักเรียน
๑. เที่ยวเร่ร่อนในทส่ี าธารณะ
๒. ทำความรำคาญให้แก่ผ้สู ัญจรไปมา
๓. ประพฤติตนไม่สมควรแกว่ ยั หรือสภาพนักเรยี น ถา้ นักเรยี นคนใดฝ่าฝืนอาจถูกเจ้าพนกั งานหรือ

เจา้ หน้าทนี่ ำไปควบคมุ ไว้
๔. สูบบหุ รี่ หรือสูบกญั ชา เสพสรุ า เสพยาบ้า หรอื เสพของเมาอ่ืน ๆ
๕. เลน่ การพนัน หรือการเล่นอยา่ งอนื่ ซึ่งมลี กั ษณะคลา้ ยการพนัน
๖. เขา้ ไปในสถานที่จำหนา่ ยสุรา สถานการพนนั โรงจำนำ และโรงหญงิ โสเภณี
๗. ประพฤติตนในทำนองชูส้ าว โรงเรียนจะเชิญผ้ปู กครองมารบั ทราบพฤตกิ รรมเพื่อหาทางแก้ไข

รว่ มกนั

ภาระหน้าท่ขี องผปู้ กครองและขอความร่วมมือ
เพื่อให้ผลการเรียนและความประพฤตินักเรียนบรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกำหนดผู้ปกครอง ควรให้

ความรว่ มมือกบั โรงเรยี นดังนี้


Click to View FlipBook Version