The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by p.amarin, 2021-04-08 03:23:27

อนุสรณ์นักเรียน รุ่น 49 ปี 53

.

โรงเรยี นวัดอมรนิ ทราราม

Wat Amarintararam School

“อนสุ รณ์อมรินทร์ ๕๓”

สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร

พระพทุ ธอมรินทร์วิจิตร์รตั นาคา

พระพุทธอมรนิ ทร์วจิ ติ ร์รตั นาคา องคน์ ้ีสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า
ทรงประทานแดโ่ รงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม เมอ่ื วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๒๘

สว่ นที่ประดิษฐานพระพทุ ธรูปน้ี
สมาคมผู้ปกครอง ครูโรงเรยี นวัดอมรินทรารามได้จัดสรา้ งข้ึน

โดยมี ครู นกั เรียน และผปู้ กครองรว่ มมือกนั
แล้วเสร็จเมอื่ วันท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๒๙

บทความ ๙ คาสอนของพอ่

๑. ความเพยี ร
การสรา้ งสรรค์ตนเอง การสรา้ งบา้ นเมืองก็ตามมใิ ช่วา่ สร้างในวนั เดียว ตอ้ งใช้เวลาตอ้ งใชค้ วามเพียร

ตอ้ งใชค้ วามอดทน เสียสละ แต่สําคัญทีส่ ดุ คอื ความอดทนคอื ไม่ยอ่ ท้อในสิ่งท่ีดีงาม สงิ่ ท่ีดงี ามนนั้ ทาํ มันน่าเบอื่
บางทเี หมือนวา่ ไมไ่ ดผ้ ล ไมด่ งั คือดูมนั ครทึ ําดีนี่ แต่ขอรบั รองว่าการทาํ ใหด้ ีไมค่ รึตอ้ งมีความอดทนเวลาขา้ งหนา้
จะเหน็ ผลแน่นอนในความอดทนของตนเอง
พระบรมราโชวาท พระราชทานแกน่ ักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารยใ์ นโอกาสเขา้ เฝา้ ฯวนั ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๑๖

๒. ความพอดี
ในการสร้างตวั สร้างฐานะนน้ั จะตอ้ งถือหลักคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป ดว้ ยความรอบคอบ ระมดั ระวงั และความพอเหมาะ

พอดี ไมท่ ําเกนิ ฐานะและกําลงั หรือทําดว้ ยความเร่งรบี เมอ่ื มพี น้ื ฐานแนน่ หนารองรับพร้อมแล้วจึงคอ่ ยสร้าง
คอ่ ยเสรมิ ความเจริญกา้ วหน้าในระดบั สงู ข้นึ ตามตอ่ กันไปเปน็ ลําดบั ผลทเ่ี กิดขึ้นจงึ จะแนน่ อนมีหลกั เกณฑ์เปน็
ประโยชน์แทแ้ ละย่ังยืน
พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบัตรของมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ วันท่ี ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๔๐

๓. ความรู้ตน
เด็กๆ ทาํ อะไรตอ้ งหดั ใหร้ ตู้ วั การรตู้ วั อยู่เสมอจะทําให้เปน็ คนมีระเบยี บและคนท่มี รี ะเบียบดีแลว้

จะสามารถเล่าเรยี นและทําการงานตา่ ง ๆ ได้โดยถูกตอ้ งรวดเรว็ จะเป็นคนทีส่ ร้างความสําเรจ็ และความเจริญ
ให้แกต่ นเองและสว่ นรวมในอนาคตไดอ้ ย่างแนน่ อน

พระบรมราโชวาท พระราชทานลงพมิ พ์ในหนังสือ วันเด็ก ประจาปี ๒๕๒๑
๔. คนเราจะตอ้ งรับและจะตอ้ งให้

คนเราจะเอาแตไ่ ด้ไมไ่ ด้ คนเราจะตอ้ งรับและจะต้องให้หมายความวา่ ต่อไป และเดีย๋ วนีด้ ว้ ยเมื่อรับ
สงิ่ ของใดมาก็จะตอ้ งพยายามใหใ้ นการให้น้นั ใหไ้ ด้โดยพยายามท่จี ะสรา้ งความสามัคคีใหห้ มู่คณะและ
ในชาตทิ ําใหห้ มูค่ ณะและชาตปิ ระชาชนทง้ั หลายมีความไวใ้ จซึ่งกนั และกนั ได้ชว่ ยที่ไหนได้กช็ ่วยด้วยจิตใจ
ที่เผื่อแผ่โดยแท้
พระบรมราโชวาทพระราชทานแกน่ กั ศึกษามหาวิทยาลยั ขอนแกน่ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๒๑
๕. ออ่ นโยน แตไ่ ม่อ่อนแอ

ในวงสังคมนน้ั เล่า ทา่ นจะตอ้ งรกั ษามารยาทอันดีงามสําหรบั สภุ าพชน รจู้ ักสมั มาคารวะ ไมแ่ ขง็ กระด้าง
มีความอ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ พรอ้ มจะเสยี สละประโยชน์สว่ นตวั เพ่อื ส่วนรวม
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั วันท่ี ๒๕ มถิ ุนายน ๒๔๙๖
๖. พูดจรงิ ทาจริง

ผหู้ นักแน่นในสจั จะพดู อย่างไรทําอยา่ งน้นั จึงได้รบั ความสําเรจ็ พร้อมทง้ั ความศรทั ธาเช่อื ถือและความ
ยกยอ่ งสรรเสรญิ จากคนทุกฝา่ ย การพูดแล้วทํา คือ พดู จริง ทาํ จรงิ จงึ เป็นปจั จัยสาํ คญั ในการส่งเสรมิ เกียรติ
คุณของบุคคลให้เด่นชัดและสรา้ งเสริมความดี ความเจรญิ ให้เกดิ ขนึ้ ท้ังแกบ่ คุ คลและส่วนรวม
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
๗. หนังสอื เป็นออมสิน

หนงั สอื เป็นการสะสมความร้แู ละทุกสิ่งทุกอยา่ งท่ีมนษุ ยไ์ ดส้ ร้างมา ทํามา คดิ มาแต่โบราณกาลจนทกุ วันน้ี
หนังสือจึงเปน็ สิง่ สําคญั เป็นคลา้ ยๆ ธนาคารความรู้และเปน็ ออมสินเปน็ สง่ิ ทจี่ ะทาํ ให้มนุษยก์ า้ วหน้าไดโ้ ดยแท้
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมดุ ทัว่ ประเทศ ในโอกาสทเี่ ขา้ ฝ้าทูลละอองธลุ พี ระบาท
วนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๑๔
๘. ความซอ่ื สัตย์

ความซ่ือสัตยส์ ุจริตเป็นพืน้ ฐานของความดที กุ อยา่ งเด็ก ๆ จึงตอ้ งฝึกฝนอบรมใหเ้ กิดมขี ้นึ ในตนเอง
เพ่อื จกั ได้เติบโตขน้ึ เป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชวี ติ ทส่ี ะอาดท่เี จริญมนั่ คง
พระบรมราโชวาท พระราชทานเพ่อื เชญิ ลงพิมพใ์ นหนังสอื วันเดก็ ปี พทุ ธศักราช๒๕๓๑
๙. การเอาชนะใจตน

ในการดําเนนิ ชีวิตของเรา เราตอ้ งขม่ ใจไม่กระทาํ สิง่ ใด ๆ ทเี่ ราร้สู กึ ดว้ ยใจจรงิ ว่าช่วั วา่ เสือ่ มเราตอ้ งฝืน
ต้องต้านความคดิ และความประพฤติทุกอย่างทรี่ ู้สกึ ว่าขัดกบั ธรรมะ เราตอ้ งกลา้ และบากบั่นทจี่ ะกระทาํ สิ่ง
ที่เราทราบวา่ เปน็ ความดีเป็นความถูกตอ้ ง และเปน็ ธรรมถ้าเราร่วมกนั ทําเช่นนใ้ี หไ้ ดจ้ ริง ๆ ใหผ้ ลของความดี
บงั เกิดมากข้นึ ๆ ก็จะชว่ ยค้าํ จุนส่วนรวมไวม้ ิให้เส่ือมลงไป และจะชว่ ยใหฟ้ ้ืนคนื ดขี น้ึ ไดเ้ ป็นลาํ ดับ
พระบรมราโชวาท พระราชทานเพ่ือเชิญไปอา่ น ในพิธีเปิดการประชุมยุวพทุ ธกิ สมาคมทว่ั ประเทศ ครง้ั ที่ ๑๒
ทจ่ี งั หวัดพระนครศรอี ยุธยา วนั ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๓

อนุสรณก์ ถา

ผชู้ ่วยเจ้าอาวาสวดั อมรนิ ทราราม

ยาทิสํ วปเต พชี ํ ตาทสิ ํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จปาปกํ.

“ บุคคลหวา่ นพืชเชน่ ใด ย่อมไดผ้ ลเช่นน้ัน ”
ผู้ทํากรรมดี ยอ่ มได้ผลดี ผู้ทาํ กรรมช่ัว ย่อมได้ผลชวั่ ”

นักเรียนโรงเรยี นวดั อมรนิ ทรารามทุกคนคงคุ้นเคยกบั สุภาษิตบทนี้ โดยเฉพาะนกั เรยี น
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ทจ่ี ะจบการศกึ ษาในครัง้ นคี้ งเคยอา่ น เคยท่องเพอ่ื จดจาํ ไปใช้ในการสอบธรรมศึกษา
ขอใหน้ ักเรยี นทกุ คนตัง้ มัน่ หม่ันทาํ ความดี คิดดี พดู ดี ทําดี คบเพอื่ นดี อยู่ในสถานทด่ี ี ถา้ ทําแตค่ วามดี
เราก็จะไดร้ บั ผลดีตอบสนอง ใครทาํ สง่ิ ใดย่อมไดส้ ่ิงน้ันตอบแทน ขอจงละเว้นการทําความชัว่ ทัง้ ปวง
เปน็ ลูกทดี่ ีของพอ่ แม่ เปน็ ลูกศิษยท์ ี่ดขี อง ครู อาจารย์ เปน็ คนดีของสังคมและประเทศชาตติ อ่ ไป
ขออาํ นาจคุณพระศรีรัตนตรัย สิ่งศักด์สิ ิทธท์ิ ง้ั หลาย และบารมีหลวงพอ่ โบสถ์นอ้ ยจงอาํ นวยพร
ใหน้ กั เรียนโรงเรียนวัดอมรินทรารามทกุ คน โดยเฉพาะนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จงมแี ตค่ วามสขุ
ความเจรญิ คดิ ประสงค์ส่งิ ใดจงประสบความสําเร็จทุกประการ ปราศจากโรคา พยาธทิ ้ังปวง มีอายุวรรณะ
สขุ ะ พละ ปฏิภาณธนสารสมบตั ิทกุ ประการเทอญ

(พระพศิ าลพัฒนกิจ)
เจา้ อาวาสวดั อมรนิ ทราราม

อนสุ รณก์ ถา

ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวดั อมรนิ ทราราม

วริ เิ ยน ทุกฺขมจฺเจติ

คนพน้ ทกุ ขไ์ ดเ้ พราะความเพยี ร

ขอ้ คดิ คตธิ รรมบทนี้ ขอให้นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ทีจ่ ะจบการศึกษาในปีการศกึ ษานี้
และนกั เรียนโรงเรียนวดั อมรนิ ทรารามทกุ คน จงนําไปประพฤติปฏิบตั ิให้บรรลวุ ัตถุประสงคต์ ามความ
ปรารถนา ถา้ ทกุ คนมคี วามเพยี ร มคี วามมุ่งมัน่ มคี วามตง้ั ใจ ไม่ยอมแพ้อะไรงา่ ย ๆ เห็นอปุ สรรคปญั หา
เป็นเพยี งแบบทดสอบของชีวติ พชิ ิตฝ่าฟนั อปุ สรรคปัญหาทั้งปวงทเ่ี ขา้ มาดว้ ยความอดทน บคุ คลผู้นี้ก็จะ
ประสบความสําเรจ็ ตามความประสงค์
ขออํานวยพรใหท้ กุ คนจงประสบความสุข ถึงพร้อมด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ทกุ ประการเทอญ

เจรญิ พร

(พระครวู ธิ านอมรกิจ)

ผ้ชู ว่ ยเจา้ อาวาสวดั อมรนิ ทราราม

อนุสรณก์ ถา

ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสวัดอมรินทราราม

หลงทางพอทน หลงคนเต็มท่ี
หลง เดินเดาดุ่มดน้ั มรรคา
ทาง ไมเ่ คยไปมา ลดเล้ียว
พอ สืบเสาะแสวงหา ถามไถ่ ท่านนอ
ทน อดเถดิ คดเคี้ยว ไมช่ ้า พาถึง
หลง รกั รว่ มอย่ดู ้วย ทรชน
คน ชวั่ จักนาํ ผล ชัว่ ให้
เต็ม ติดต่อพาตน ตกตาํ่
ท่ี จะสขุ กลบั ได้ ทุกข์ซ้ํากําสรวล
คนจะเป็นโดยสมบรู ณ์ต้องประกอบดว้ ย

๑. มคี วามรู้ดี ๒. มีความประพฤติดี

 คนมคี วามประพฤตดิ แี ตไ่ ม่มคี วามรู้
เอาตัวรอด - เล้ียงตวั ได้

 คนประพฤตไิ ม่ดี มีแต่ความรู้
เอาตัวไมร่ อด เล้ียงตวั เองได้

เจรญิ พร

(พระครโู กศลวหิ ารการ)
ผ้ชู ว่ ยเจา้ อาวาสวดั อมรนิ ทราราม

อนุสรณ์กถา

ผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสวัดอมรนิ ทราราม

คนเราตอ้ งเดินหนา้ เวลายงั เดินหนา้ เลย ถ้าไม่ลองก้าว จะไมม่ ีวันรู้ได้เลยว่า ทางขา้ งหน้าเป็น
อย่างไร หนทางอนั ยาวไกลนบั หมืน่ ลี้ ตอ้ งเร่มิ ต้นดว้ ยกา้ วแรกกอ่ นเสมอ อุปสรรคนอ้ ยใหญ่ รอคอยอยู่
ข้างหน้าให้เราสะสาง ปัญหาบางอยา่ งเราไมอ่ าจหลีกเล่ยี งได้ แต่เราเลอื กทีจ่ ะวางท่าทตี ่อปญั หาอย่าง
มคี วามสุขได้ เราไมส่ ามารถปรับทิศทางลมได้ แตเ่ ราสามารถปรับใบเรอื ได้ คนเราไม่จําเปน็ ตอ้ งเก่ง
ทุกอยา่ ง แต่ขอเพียงมคี วามสุขกบั งาน (สจุ รติ ) ทุกอย่างทีท่ าํ ไมม่ ีใครเกดิ มาเปน็ คนไร้ค่า คนทเ่ี กดิ มา
นั่นแหละท่ีทําตนให้เป็นคนไรค้ า่ คา่ ของคนอยทู่ ่ีผลของงาน ค่าของงานอยกู่ ารกระทาํ คา่ ของการ
กระทาํ อยู่ ทก่ี ารทาํ ดี คา่ ของความดีคอื สันติสขุ ขอใหน้ ักเรยี นทกุ คนเป็นคนดี พบแตเ่ พื่อนทด่ี ี
มีครอบครัวท่ีดี มสี งั คมทด่ี ี และจงมแี ตค่ วามสขุ ความเจริญ ประสบความสําเรจ็ ในหนา้ ท่กี ารงาน
ทกุ คนเทอญ...

เจรญิ พร

(พระครูวหิ ารกิจจานกุ าร)
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวดั อมรนิ ทราราม

อนุสรณก์ ถา

ครูพระสอนศลี ธรรมวดั อมรนิ ทราราม

สรา้ งวันใหม่ ไวล้ ่วงหน้า

********************

ในฐานพระอาจารย์เปน็ ผ้ปู ระสาท “วิชาการความเป็นมนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ์” แด่เธอทั้งหลาย บัดน้ี
พระอาจารย์มีความสุขใจทไี่ ดม้ โี อกาสร่วมยนิ ดีกบั ศิษย์รกั ทกุ คนที่สาํ เรจ็ การศึกษาจากรั่วอมรินทร์ฯ ถ่นิ เกา่ ที่
เราคนุ้ และจากนไ้ี ปก็คงเป็นการเรมิ่ ต้นของการสร้างชวี ิตใหมด่ ว้ ยหลักธรรม เพอื่ ประสานความลงตวั ระหว่าง
“เร่ืองสว่ นตัว ครอบครัว และการงาน” โดยยดึ ธรรมะเป็นแกนกลางสร้างสรรค์สง่ิ ดที ่ีปรารถนา

ทา้ ยนี้ ขออา้ งเอาคุณพระศรรี ตั นตรยั จงดลบันดาลประทานพร ให้เธอทัง้ หลายจงปราศจากทกุ ข์
โศก โรค ภยั ภยันตรายทง้ั ปวง เป็นผสู้ าํ เร็จแลว้ ทุกประการ มีความกตญั ญูรคู้ ุณต่อผมู้ คี ณุ และต่อสถาบนั
โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ถน่ิ เกา่ เจา้ อมรินทรฯ์ ของเราทงั้ หลาย ให้สมกับกลอนท่วี า่

จากอมรินทร์ ถิ่นเกา่ ท่เี จา้ รกั
แหลง่ ฟูมฟัก ฝักใฝ่ วยั ขดี เขยี น
แหลง่ เรยี นรู้ วทิ ยา พาพากเพยี ร
รว่ มอา่ นเขียน เรียนรู้ สูพ้ ฒั นา

แต่จากเพอ่ื สรา้ งส่งิ ใหม่ ใหช้ วี ติ
จากเพือ่ คิด ทําการ ประสานผล
จากเพื่อทาํ การใหญ่ หวังสรา้ งตน
จงึ เรียกคน สงู ลา้ํ ฟ้า คา่ อมรนิ ทร์ฯ

ขออาํ นวยพร

(พระปลดั ศักดิด์ า วสิ ุทธฺ ญิ าโณ)

[email protected]

อนุสรณ์กถา

ครูพระสอนศลี ธรรมวดั อมรนิ ทราราม

สอร. คือ แหล่งผใู้ หก้ ําเนิด
สอร. คือ แหลง่ เปิดปราชญค์ วามรู้
สอร. คอื ทส่ี องของความเป็นครู
สอร. คือ แหล่งปูทางคน “ใหเ้ ปน็ คน”
จงอยา่ ลมื มา้ ลายที่เคยขี่
จงอยา่ ลมื น้องพี่ท่เี ลน่ ซน
จงอยา่ ลมื คุณครูผพู้ ราํ่ บน่
จงอยา่ ลืม คนเขียนกลอนพรอวยชยั
ขอจง โชคดมี สี ุขทกุ ถว้ นหนา้
ขอจง ปราศพาลามาหมางหมาย
ขอจง มีพลายุมัน่ ท่ัว สรรพางค์กาย
ขอจง ไดส้ มหวงั ด่ังมโนปอง
คดิ สิง่ ใดขอใหไ้ ดส้ มใจนึก
หากแม้นตรกึ ตรงธรรมไมซ่ าํ้ หมอง
เจริญยศยิง่ การงานตามครรลอง
สขุ สมปองทุกทิวาราตรีเทอญ...

-ธรรมะสวัสดี-

(พระมหาเจรญิ ชยั วฑุ ฺฒชโย (ศรโี สดา))

อนุสรณ์กถา

ครพู ระสอนศลี ธรรมวัดอมรินทราราม

คนเกง่ ...... ตอ้ งมานะบากป่นั ขยนั สู้
พร้อมเรยี นรูเ้ ข้าใจใหล้ ึกซ้ึง

ทาํ ด้วยใจนาํ ไปคดิ จิตตราตรึง
ทําให้ถึงเฝ้าวเิ คราะหเ์ หมาะแกง่ าน
คนดี..... มนี าํ้ ใจ ผูกไมตรที ีส่ ะอาด
ชัว่ ละขาดทําดีรุกทกุ สถาน
ผลความดีพาสมหวงั ดังต้องการ
โลกขบั ขานเชดิ ชูผ้ทู ําดี

คนมสี ุข..... สุขทง้ั ใจ กายวาจาพาผ่องแผ่ว
ให้คลาดแคล้วโรคภยั ไกลห่างหนี
หวงั อะไรสขุ เกษมเปรมฤดี
ตลอดปี ตลอดไป ในทางเดิน

อยา่ หวาดหว่นั เม่อื ผดิ พลาด
อยา่ ขลาดกลวั การเรมิ่ ต้น
สุขทกุ ข์ต้องอดทน
ชือ่ ว่าคน.....ต้องพยายาม

(พระมหาสมควร ถริ สีโล)

อนุสรณก์ ถา

ครูพระสอนศีลธรรมวัดอมรนิ ทราราม

ตลอดระยะเวลาทีน่ ักเรียนศึกษาอยทู่ ีโ่ รงเรยี นวัดอมรินทราราม พระอาจารย์ถอื วา่ ลกู ศิษยท์ ุกคน
เหมอื นลูก เพราะฉะนัน้ พระอาจารยจ์ งึ ทมุ่ เทท้ังแรงกาย แรงใจ อบรมส่ังสอนเพอ่ื ให้ทุกคนเป็นคนดี คนเกง่
เม่อื ถงึ วันทล่ี กู ๆ ทกุ คนจบการศกึ ษา พระอาจารยก์ ม็ ีความปลาบปลม้ื ยนิ ดที ่ลี กู ๆ ประสบความสําเรจ็ ไปแล้ว
หน่งึ ขัน้ แต่อีกดา้ นหนงึ่ กร็ สู้ ึกอาลยั ทต่ี ้องจากกนั ในโอกาสท่ลี กู ๆ สาํ เร็จการศกึ ษาในครงั้ นี้ พระอาจารย์ขอ
อาํ นวยพรใหพ้ วกเราจงมีสุขภาพกายทแี่ ข็งแรง กาํ ลงั ใจท่แี ขง็ แกร่ง มีสติปญั ญาดี สามารถทีจ่ ะดําเนินชีวิตอยู่
ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข อยา่ ลมื ความเป็น ส.อ.ร. ท่ีเป็น คนดี คน เก่ง และมีจติ ใจทด่ี งี าม มคี วามเสยี สละ
และอย่าลืมพระอาจารย์ พระอาจารย์จะไมล่ ืมลูก ๆ ทกุ คน

เจรญิ พร

(พระอาจารยภ์ ักดี เมฆอรุณ)
[email protected]

อนสุ รณก์ ถา

ครูพระสอนศลี ธรรมวดั อมรนิ ทราราม

ธรรมสวัสดีลกู ศิษยท์ น่ี า่ รกั ทุกคน
วันเวลาเดอื นปีได้ผ่านไปเรว็ จัง นึกแล้วหน้าใจหายจากวันแรกทีพ่ ระอาจารย์กับลูกศษิ ย์

ได้มาพบกนั จากคนทค่ี นุ้ เคยหนา้ และอบรมสง่ั สอนให้เป็นคนดี เก่ง มสี ุข ค่คู ุณธรรมได้เรียน
จบแลว้ จากโรงเรยี นวัดอมรนิ ทรารามแหง่ นที้ กี่ ลายเป็นอดีตและความทรงจาํ ทด่ี ีงาม เธอจงก้าว
เพอื่ กา้ วสู่อนาคตท่ีสดใสในวันข้างหน้า

จงนึกถงึ ผูม้ พี ระคณุ พอ่ แม่ ครู พระอาจารย์ และนาํ เอาธรรมะมาใช้ มีความกตัญญกู ตเวที
ขยนั อดทน ตอ่ สู้ปัญหาและอปุ สรรค พระอาจารยส์ ่งลูกศิษย์ได้แค่น้ที เี่ หลอื ให้เธอสแู้ ละก้าว
อย่างมนั่ คง เธอได้ดีพระอาจารยก์ ด็ ีใจด้วย ขอพระรตั นตรัยสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิจ์ งปกปอ้ งรกั ษาลูกศิษย์
เจริญด้วยพร ๔ คอื อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ทกุ ประการเทอญ.

ธรรมะสวัสดี

(พระสพุ ฒั น์ อนาลโย)
๒๖ ม.ค. ๒๕๕๔

ปจั ฉิมโอวาท

ในโอกาสทีน่ ักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ กําลังจะจบหลกั สตู รเพื่อไปศึกษาต่อในระดับ
ท่ีสงู ขึ้น ความรแู้ ลปะระสบการณท์ ่นี ักเรยี นได้รับในขณะที่ศึกษาเลา่ เรยี นทีโ่ รงเรยี นแห่งน้ี เช่น “สิ่งท่ีไม่
เคยได้ฟงั กไ็ ด้ฟงั สง่ิ ท่ไี มเ่ คยได้ยนิ กไ็ ด้ยิน สงิ่ ทไ่ี มเ่ คยได้เรียนก็ได้เรียน สิง่ ท่ไี มเ่ คยได้ร้กู ไ็ ดร้ ู้ สิ่งที่ไม่
เคยไดด้ ูกไ็ ดด้ ู ส่งิ ทไ่ี ม่เคยสัมผัสกไ็ ดส้ ัมผัส” ซึ่งสิ่งเหลา่ นเ้ี ป็นการอบรมสง่ั สอน สงั่ สมประสบการณ์
และความรสู้ รรพวิทยาทง้ั หลายให้เพ่มิ พนู งอกงามให้กับตนเองไดม้ ากขึน้ ยิ่งรูม้ ากเทา่ ไหร่เราก็จะ
กลายเป็น เป็นผู้รู้ เปน็ ปราชญ์ เปน็ บัณฑติ ทา พูด คดิ กจ็ ะไมผ่ ดิ หวงั หรือผิดน้อยลง ครเู ชอื่ ว่าความรู้
และประสบการณ์เหลา่ น้ี จะเป็นประโยชนต์ ่อชวี ิตของนกั เรยี นเอง และก็เชอื่ วา่ นา่ จะเปน็ ประโยชน์
ต่อชวี ิตคนอื่นไดด้ ว้ ย

เม่อื นกั เรียนไปเรียนในระดับการศึกษาท่ีสูงข้นึ ครขู อฝากเร่ืองความมี มานะ ขยันหมัน่ เพียร
ไว้ด้วยเพราะความเพียรเป็นสงิ่ ท่ีทาํ ใหเ้ กดิ ความกระตอื รอื รน้ แรงสนับสนนุ ส่งเสริม ความไมย่ อ่ ท้อ
อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ นกั เรียนเอง และทําให้ประสบผลสําเร็จในสิ่งที่มงุ่ หวังทุกประการ
ขอขอบคณุ และชนื่ ชมในการปฏิบัตหิ น้าทีท่ ีด่ ียง่ิ ของผบู้ รหิ าร ครู และผทู้ ีเ่ ก่ียวข้อง
ทั้งหลายที่ได้ทาํ หนา้ ทไ่ี ด้อย่างสมบูรณ์ และครขู อแสดงความยินดกี ับนกั เรียนทุกคนท่จี บหลักสตู ร
ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ได้อยา่ งมีมาตรฐาน

(นายเตบิ ใยเจริญ)
ผ้อู าํ นวยการสาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร

ปจั ฉมิ โอวาท

ในนามคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนวัดอมรินทราราม ขอแสดงความยนิ ดี
กับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ ทกุ คน ท่ีไดส้ าํ เรจ็ การศึกษาในครง้ั นี้
ความหวังของพอ่ แม่ ผูป้ กครอง ที่มีต่อนักเรยี น คือ ปรารถนาให้ลกู หลานเปน็ คนดี
ประสบความสําเรจ็ เจรญิ กา้ วหนา้ ทงั้ ดา้ นการศึกษาและอาชพี การงาน นักเรียนทุกคนจึงควรนาํ ความ
ปรารถนาของท่านเป็นเปา้ หมายทต่ี ้องทําให้สําเรจ็ ใหท้ ่านไดเ้ หน็
ในดา้ นการศึกษา ปจั จุบนั ระบบการศกึ ษามีการเปล่ียนแปลงไมห่ ยดุ นง่ิ จงึ ถือเปน็ เร่อื งสําคญั
ท่นี กั เรยี นจะตอ้ งเอาใจใสต่ ิดตามดว้ ยตนเองให้มากทสี่ ุด
ขอให้นกั เรียนจงสํานึกและทาํ หน้าทลี่ กู หนา้ ที่นกั เรยี น หน้าทีค่ นไทยให้ดที ีส่ ุด มรี ะเบยี บ
วินยั ซื่อสัตย์ สจุ รติ มนี ้ําใจ รับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและใหค้ วามร่วมมือในการทาํ ประโยชน์
เพื่อส่วนรวม

(พันเอก สรรชัย อจลานนท์)
ประธานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

โรงเรียนวดั อมรินทราราม

ปจั ฉิมโอวาท

ขอแสดงความยินดี และชืน่ ชมต่อความสําเรจ็ เบ้ืองตน้ ของนกั เรียน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ น้ี และขอใหท้ ุกคนมคี วามตัง้ ใจ มีความมุ่งมน่ั ในการศึกษาตอ่ ให้ประสบ
ผลสําเรจ็ เป็นที่ชน่ื ใจแกค่ ุณพ่อคุณแมแ่ ละครอู าจารย์ ขอใหน้ ักเรยี นยดึ มั่น ปรัชญาโรงเรยี น
“ นกั เรียนต้องเป็นคนดี คิดดี พูดดี ทาํ ดี ” และคาํ ขวญั โรงเรยี น “ เรียนดี ประพฤติดี สุขภาพดี ”
มีความซ่ือสัตย์ สจุ ริต กตัญญูต่อบิดามารดา ครูอาจารยแ์ ละผมู้ ีพระคุณ ซงึ่ เป็นมงคลแห่งชวี ิต
ทีจ่ ะนาํ นกั เรยี นทกุ คนเจริญรงุ่ เรืองและประสบความสาํ เร็จในสิ่งท่หี วงั ไวท้ กุ ประการ

(ดร.ลมยั พร แหลง่ หล้า)
ผู้อํานวยการโรงเรียนวัดอมรินทราราม

ปจั ฉิมโอวาท

ถ้านักเรียน ส.อ.ร. ทกุ คน ตงั้ ใจปฏิบตั ิตนเปน็ เดก็ ดขี องคุณพ่อ คุณแม่ คณุ ครู เปน็ เดก็ ดี
ของสงั คม และประเทศชาติ
นักเรยี นจะไดร้ บั แต่ความสาํ เร็จ สมหวัง ทกุ ประการ

(นางรําไพ คมุ้ แก้ว)
รองผ้อู ํานวยการโรงเรียนวดั อมรินทราราม

ปัจฉิมโอวาท

ขอแสดงความยินดกี บั นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ ที่ประสบความสําเรจ็ จบปีการศึกษา
๒๕๕๓ เพ่ือศึกษาตอ่ ในระดับทสี่ ูงข้ึนไป นกั เรียนทุกคนตอ้ งยนื หยัดต่อสใู้ หไ้ ด้กับชีวติ ครอบครวั
และชวี ติ ในการเรียนทเ่ี รยี กว่า “ เรยี นรตู้ ลอดชีวิต เปน็ มติ รกับทุกคน ” และมีความพยายามไปใหถ้ ึง
จดุ หมายท่ีทกุ คนตอ้ งการ ครูหวังวา่ ทกุ คนจงเปน็ ลูกทด่ี ขี องคุณพ่อ คุณแม่ คณุ ครู
ทส่ี งั่ สอน อบรมพวกเรามา เพ่อื ให้เปน็ คนดีของสงั คม และประเทศชาตติ ่อไป
ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรยั จงปกปกั ษ์รักษานกั เรยี นทกุ คนให้มีแตค่ วามสุข ความเจรญิ
สมความปรารถนาดงั ทต่ี ้งั ใจไวท้ ุกประการ

(นางจรัญญา สุวรรณเตมีย์)
รองผ้อู าํ นวยการโรงเรียนวดั อมรินทราราม

ปัจฉมิ โอวาท

ขอแสดงความยินดีกับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ทุกคนท่ีจบการศกึ ษา
ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ น้ี การจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา เปน็ เพยี งก้าวแรกท่ี
นักเรียนจะได้เปิดโลกทัศนข์ องตวั เองใหก้ วา้ งไกลข้นึ เพราะตอ้ งเรียนรูท้ ีจ่ ะดูแลตัวเอง
มคี วามรบั ผดิ ชอบ พร้อมทจี่ ะเปน็ ผู้ใหญ่

ครหู วงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ ลกู ส.อ.ร.ทุกคนจะก้าวออกไปอยา่ งม่นั ใจ มีความ
ขยันหมั่นเพียร ศึกษาหาความรู้ มีสัมมาคารวะ เช่ือฟงั คําสงั่ สอนของบดิ า มารดา
ครู อาจารย์ มคี วามกตญั ญกู ตเวทตี ่อผมู้ พี ระคุณ หากทําส่ิงเหลา่ นี้ไดย้ ่อมนํามาซง่ึ ความ
เจรญิ ของตนเอง เปน็ ท่ียอมรับเพือ่ นฝูง ครูบาอาจารย์ ผ้รู ว่ มงานและผู้เกยี่ วข้อง
และสร้างช่อื เสยี ง เกยี รติภมู แิ กต่ นเองและโรงเรียนต่อไป

(นางสาวจฑุ ามาศ ธุวงั ควฒั น์)

รองผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม

ทาเนยี บผู้บริหารโรงเรียนวัดอมรนิ ทรารามจากอดีตถึงปจั จุบนั

นางสาวพฒั น ภาสบตุ ร นางสาวทองคา ผดงุ ศุข นายธงชัย คงธนะ

๑ มีนาคม ๒๕๐๔ – ๑๙ มนี าคม ๒๕๑๙ ๒๖ มีนาคม ๒๕๑๙ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๓๐ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ – ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๓๒

นายชลิต พุทธรักษา นายชลอ มงคลการณุ ย์ นายคธาธร งามมุข

๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ – ๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๗ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๗ – ๑๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๔๕

นายบุญธรรม แก้วสาร นายปรีชา คกมิ ดร.ลมยั พร แหลง่ หลา้

๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๕ – ๕ มกราคม ๒๕๔๙ ๖ มกราคม ๒๕๔๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑ ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๒ - ปัจจุบัน

ประวัตโิ รงเรยี นวัดอมรินทราราม

โรงเรียนวดั อมรนิ ทราราม ปจั จุบนั สงั กดั สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เปดิ ทาํ การสอนต้ังแต่ช้นั อนบุ าล
ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ตั้งอยเู่ ลขท่ี ๕๖๖/๑ ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงศิรริ าช เขตบางกอกน้อย
กรงุ เทพมหานคร รหสั ไปรษณีย์ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๑๘ ๐๙๒๗ , โทรสาร ๐ ๒๔๑๑ ๓๐๑๗
มปี ระวัตคิ วามเป็นมาพอสังเขปดงั น้ี

โรงเรียนวดั อมรินทราราม สงั กัดกองการมัธยมศึกษา กรมวสิ ามญั ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กอ่ ต้ังมาก่อนสงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ แต่ไมม่ ีหลกั ฐานยืนยนั วา่ ก่อตัง้ มาแตเ่ ม่อื ใด เปิดทาํ การสอนตั้งแต่ชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ (ม.๑) - มธั ยมศึกษาปที ่ี ๘ (ม.๘) มชี ื่อเสยี งทงั้ ดา้ นวิชาการและด้านการกฬี าในยุคสมัย
น้ัน ต่อมา ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ โรงเรียนวดั ระฆังโฆสิตาราม เป็นโรงเรยี นสงั กดั เดียวกนั ซง่ึ ต้ังอยทู่ ่ี
วัดระฆังโฆสติ า-รามวรมหาวหิ าร

ได้เปล่ยี นจากโรงเรยี นชายไปเปน็ โรงเรยี นหญิงชอื่ “โรงเรยี นสตรีวัดระฆงั ” จงึ โอนนักเรยี นชายทั้งหมดมา
เรียนทโี่ รงเรยี นวัดอมรนิ ทรารามและไดช้ อ่ื ใหม่ว่า “ โรงเรยี นอมรนิ ทรโ์ ฆสิต ” และเปดิ การสอนต่อมาจนถงึ
พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้เกดิ สงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ ขึ้น สถานท่ตี ั้งโรงเรยี นอยใู่ กล้สถานรี ถไฟธนบุรอี นั เป็นจดุ
ยทุ ธศาสตร์ อาคารเรยี นถูกลกู ระเบิดทําลายและไฟไหม้หมด เมื่อสงครามโลกคร้ัง ท่ี ๒ สงบลง นักเรยี น
โรงเรียนอมรนิ ทรโ์ ฆสิตต้องไปอาศัยเรียนทโี่ รงเรียนทวธี าภเิ ศก ซงึ่ ภายหลงั ไดม้ กี ารรวมตัวกนั กอ่ ตัง้
“ สมาคมศิษย์เกา่ ทวธี าภเิ ศกอมรินทรโฆสิต ” ขน้ึ เพราะสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โรงเรยี นวัดอมรินทราราม
ยุคเริ่มต้นจงึ ถูกยบุ เลิกไปโดยปรยิ าย

ต่อมาถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๓ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในขณะนน้ั ไดข้ ยายการศึกษาระดบั ชนั้ ประถมศึกษา
เปน็ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ๔ ปี และประถมศึกษาตอนปลาย ๓ ปี ฯพณฯ ม .ล.ปิ่น มาลากุล รฐั มนตรี
วา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการในขณะนน้ั ไดต้ ิดตอ่ กบั พระธรรมรัตนากร (ตอ่ มาคือสมเด็จพระวนั รัต )
เจา้ อาวาสวัดสงั เวชวทิ ยาราม ซึ่งรกั ษาการตาํ แหน่งเจ้าอาวาสวัดอมรนิ ทราราม และพระครปู ลัดรตั นวตั ร

ซึ่งไดร้ ับมอบหมาย ให้ดูแลวัดอมรนิ ทราราม (ต่อมา คือพระสนุ ทรวหิ ารกิจ เจา้ อาวาสวัดอมรินทราราม )
เพอ่ื ขอจัดต้งั โรงเรยี นข้นึ ใหม่ พระคุณเจา้ ท้ังสองรูปไดเ้ ล็งเห็นความสาํ คัญและประโยชน์ของการศึกษาของ
ชาติ จึงไดม้ อบทดี่ นิ วา่ งเปลา่ ของวดั เน้อื ท่จี าํ นวน ๔ ไร่ ๓ งาน ใหก้ รมสามญั ศกึ ษาก่อตั้งโรงเรียนขึน้
เพอ่ื รบั สถานการณก์ ารขาดแคลนสถานท่ีเรยี นของนักเรียนในสมัยนั้น

อาคารเรยี นหลังแรก เปน็ ตึก ๓ ชน้ั ๑๒ หอ้ งเรียน การกอ่ สร้างอาคารเรียนแลว้ เสรจ็ เมอื่ เดอื น
มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๐๔ ตง้ั ชอื่ วา่ “ โรงเรียนวัดอมรนิ ทราราม ” รับนักเรียนเข้าเรียนในชนั้ ประถมศึกษาปที ี่
๕ จํานวน ๕๗๓ คน เปดิ เรยี นเมอ่ื วนั พฤหสั ดีท่ี ๒๙ มิถุนายน พ .ศ. ๒๕๐๔ มีครูทําการสอน จํานวน
๒๘ คน และได้ทําพิธีเปดิ ปา้ ยโรงเรยี นเม่ือวนั ที่ ๑๘ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๐๔ โดยมี ฯพณฯ ม .ล.ป่ิน มาลากุล
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน็ ประธานในพธิ ี

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ กอ่ สรา้ งอาคารเรยี นหลงั ที่ ๒ เปน็ ตกึ ๓ ชน้ั ๙ ห้องเรยี น ชน้ั ล่างเปน็
โรงอาหาร เปดิ เรยี นถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ มีนกั เรยี น ๑,๐๒๔ คน ครู ๔๕ คน

ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ กอ่ สร้างอาคารเรียนอกี หลงั หนง่ึ เป็นหลงั ที่ ๓ เปน็ ตึก ๓ ชั้น ๑๖ ห้องเรยี นต่อ
จากอาคารเรียนหลงั ท่ี ๒ เปิดเรียนถึงชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๗ มนี กั เรียน ๑,๓๘๓ คน ครู ๖๖ คน และ มี
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๗ จบหลกั สตู รประถมศึกษารนุ่ แรกจาํ นวน ๕๑๘ คน

ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ไดก้ อ่ สร้างอาคารเรยี นหลงั ท่ี ๔ เปน็ ตึก ๓ ช้นั ๑๑ หอ้ งเรยี น
ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้งบประมาณกอ่ สรา้ งร้ัวคอนกรีตด้านทศิ ใต้ สนามคอนกรีตทางระบายน้ํา และ
ครัวถาวร ในปนี ้ีมนี กั เรยี นท้ังหมดต้ังแต่ ป.๕ - ป.๗ รวม ๑,๔๔๘ คน ครู ๗๔ คน
ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มีการโอนโรงเรียนไปสงั กัดองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดธนบุรี กระทรวงมหาดไทย
มโี รงเรยี นฝ่ังธนบรุ หี ลายโรงเรียนทกี่ รมสามัญศกึ ษาขอสงวนไว้เพื่อเปน็ โรงเรยี นสําหรบั ทดลองวิจยั
ด้านการเรยี นการสอน นอกจากโรงเรยี นวัดอมรนิ ทรารามแล้วยงั มโี รงเรยี นอนื่ ๆ เช่น โรงเรยี น
โฆสิตสโมสร โรงเรยี นประถมทวธี าภเิ ศก โรงเรียนวัดหงสร์ ตั นาราม เปน็ ตน้ และมีโรงเรียนอน่ื ๆ
ในตา่ งจังหวัดอีกรวมเรียกว่า โรงเรียน “ สามัญ ” มีอกั ษร “ ส ” ปกั นําชอื่ โรงเรยี น เชน่ ส.อ.ร. , ส.ฆ.ส. ,
ส.ช.ก. เป็นต้น
ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ กอ่ สรา้ งอาคารเรยี นหลังท่ี ๕ เป็นตึก ๓ ช้นั ๖ ห้องเรียน เช่ือมอาคารเรียนหลัง
เก่าทางดา้ นทิศเหนือ ชั้นลา่ งเปน็ ห้องประชมุ
ตลอดระยะเวลาตัง้ แต่ปีการศึกษา ๒๕๐๔ เปน็ ตน้ มา โรงเรียนวดั อมรินทรารามไดพ้ ัฒนาโรงเรียน
ทุก ๆ ดา้ น โดยเฉพาะดา้ นการเรียนการสอนเป็นทีไ่ วว้ างใจและมีช่ือเสียงเปน็ ท่ีรู้จกั กนั ทวั่ ไป

ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ปรับเปลยี่ นการจัดการศึกษาภาคบงั คบั เปน็ จาก ๔ ปีเป็น

๖ ปี ดงั นนั้ ในปกี ารศึกษา ๒๕๑๘ โรงเรียนวัดอมรนิ ทรารามจึงเปิดรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑

ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดม้ อบหมายให้โรงเรยี นวดั อมรนิ ทรารามเปน็

โรงเรียนทดลองหลกั สตู รประถมศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ ในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ จาํ นวน ๒

ห้องเรยี น และไดท้ าํ การทดลองตอ่ เน่ืองจนถึงช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๒๔

ปี พ .ศ.๒๕๒๐ โรงเรียนไดเ้ ปิดเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ จาํ นวน ๔ ห้องเรยี น ตามคาํ ส่ัง

กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ศธ ๐๘๐๖/๑๑๖๗๒ ลงวันท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๒๐ ทีจ่ ะปรับโรงเรียน

ประถมศึกษาสังกัดส่วนกลางเปน็ โรงเรยี นมธั ยม แต่ไดย้ บุ เลิกในปีการศึกษา ๒๕๒๑ ตามคําสัง่

กระทรวงศึกษาธกิ ารเชน่ กนั

ปี พ.ศ.๒๕๒๓ มีการเปลย่ี นแปลงรูปแบบการบรหิ ารงานมกี ารจัดตงั้ สาํ นกั งานคณะกรรมการ

การประถมศึกษาแหง่ ชาติ ซึง่ เทา่ กับเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โรงเรียนประถมศึกษาส่วนกลาง

ทงั้ หมด ซึ่งมโี รงเรียนวดั อมรินทรารามดว้ ย จงึ ย้ายมาสงั กดั สํานักงานการประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร มกี ารแบง่ โรงเรยี นประถมศกึ ษา

สว่ นกลางเป็น ๕ กลมุ่ โรงเรียน คือ กลุ่มโรงเรยี นทวาราวดี กลุม่ โรงเรียนอโยธยา กลุ่มโรงเรยี นสุโขทยั

กลมุ่ โรงเรียนกรุงธน และกลุ่มโรงเรียนรตั นโกสนิ ทร์

สาํ หรับโรงเรยี นวดั อมรนิ ทรารามสงั กดั กลุ่มโรงเรียนทวาราวดี ซึ่งมีโรงเรียนในกลมุ่ ๗ โรงเรยี น

ได้แก่ โรงเรยี นพญาไท โรงเรียนราชวินิต โรงเรยี นวัดโบสถ์ โรงเรยี นวดั โสมนัส โรงเรียนอนบุ าล

วดั ปรนิ ายก โรงเรียนโฆสิตสโมสร และโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม

ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ โรงเรยี นวดั อมรนิ ทรารามไดร้ ับการคัดเลอื กเปน็ โรงเรยี นพระราชทานขนาดใหญ่

ในระดบั ประถมศึกษา จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว โดยผ้อู าํ นวยการโรงเรียน นายชลิต พุทธรกั ษา

ไดเ้ ขา้ รับพระราชทานรางวลั โล่และเกียรตบิ ตั ร พร้อมทั้งรับพระบรมราโชวาทจากสมเด็จพระเทพ

รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มี ดร .กอ่ สวัสดพิ านิช กราบทลู ถวายรายงานเมอื่ วนั อังคาร

ที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจติ รลดา

ปี พ.ศ.๒๕๓๕ เปดิ รบั นักเรียนระดบั กอ่ น

ประถมศึกษา ช้นั อนุบาลปีท่ี ๑ จาํ นวน ๑ หอ้ งเรียน

นักเรียน ๓๕ คนและไดข้ ยายเป็นอนุบาลปที ่ี ๒

ในปีตอ่ มา

ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงเรยี นไดล้ ดจาํ นวนหอ้ งเรยี น

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ จากฐานเดมิ ๖ ห้องมาเป็น ๕

หอ้ งเรียน เนอ่ื งจากรัฐบาลมนี โยบายลดจํานวนขา้ ราชการ ข้าราชการครูทเี่ กษียณอายุราชการและที่ขอ

เกษยี ณอายุราชการก่อนกาํ หนด จะถกู ตัดอัตราทําใหจ้ าํ นวนข้าราชการครลู ดลง ไมส่ ามารถจัดการเรียนการ

สอนตามฐานเดมิ ได้ เมือ่ ถึงปีการศึกษา ๒๕๔๙ ป.๑ – ๖ จะมสี ายชน้ั ละ ๕ ห้องเรยี น

ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เมื่อวันท่ี ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๖ รัฐบาลไดป้ ระกาศใช้พระราชบญั ญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา มผี ลบังคับใชใ้ น
วันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๖ เปน็ ผลให้โรงเรยี นวัดอมรินทรารามโอนมา สงั กัดสํานกั งานเขตพื้นที่
การศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๓ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ซง่ึ เป็นการรวมการศกึ ษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษามาอย่ใู นสงั กัดเดียวกนั อีกคร้งั หนง่ึ

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๘ โรงเรยี นวัดอมรนิ ทรารามเปดิ ทาํ การสอน ระดบั ชั้นอนุบาลปีท่ี ๑–๒ ชนั้ ละ ๒
ห้องเรยี น รวม ๔ หอ้ งเรยี น ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ มี ๖ ห้องเรียน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๒ – ๖
ชน้ั ละ ๕ ห้องเรยี น รวม ๓๑ ห้องเรียน รวมหอ้ งเรียนทงั้ ส้นิ ๓๕ ห้องเรยี น จาํ นวนนักเรยี น ๑,๔๐๖ คน
ข้าราชการครู จาํ นวน ๕๗ คน ลูกจ้างประจาํ จาํ นวน ๗ คน ครูอตั ราจ้าง (งบประมาณ) จํานวน ๑คน
ครูจา้ งสอน (งบสมาคมฯ) จํานวน ๖ คน ลกู จ้างชั่วคราว จาํ นวน ๑๒คน

โรงเรยี นไดพ้ ัฒนาการเรยี นการสอน ปรบั ปรงุ อาคารเรียน หอ้ งเรยี น ห้องพิเศษต่าง ๆ ให้ทนั สมัย
เชน่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา หอ้ งคอมพวิ เตอร์ หอ้ งสมุด ห้องเรียนอนบุ าล ได้ปรับเปน็ หอ้ งปรบั อากาศ
เพ่อื เอือ้ ตอ่ การเรยี นการสอนและป้องกนั มลพิษ และในปีน้โี รงเรียนไดร้ บั การคดั เลือกจากกรมการคา้ ภายใน
กระทรวงพาณิชย์ ให้เปน็ โรงเรียนสีฟา้ ตน้ แบบยอดเยี่ยมทีจ่ ัดการเรียนการสอนเร่อื ง “การรักษาสทิ ธิโยชน์
ของผบู้ ริโภคในการซอ้ื สนิ ค้าและบรกิ าร”

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๙ โรง เรียนวดั อมรนิ ทรารามเปดิ ทาํ การสอน ระดบั ชนั้ อนบุ าลปีท่ี ๑ มจี ํานวน
๒ ห้องเรียน ระดบั ช้ันอนุบาลปีท่ี ๒ มีจํานวน ๒ ห้องเรยี น รวม ๔ หอ้ งเรียน ระดับช้นั ประถมศึกษา
ปที ่ี ๑ มี ๖ ห้องเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ – ๖ ชน้ั ละ ๕ ห้องเรียน รวม ๓๑ ห้องเรยี น รวม
หอ้ งเรยี นทัง้ ส้นิ ๓๕ ห้องเรยี น จํานวนนักเรยี น ๑,๓๓๑ คน ข้าราชการครู จํานวน ๕๕ คน
ลกู จา้ งประจาํ จํานวน ๗ คน ครูอตั ราจา้ ง (งบประมาณ ) จํานวน ๒ คน ครูจ้างสอน (งบสมาคมฯ )
จํานวน ๗ คน ลูกจ้างชัว่ คราว จํานวน ๑๑ คน
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๐ โรงเรียนวัดอมรนิ ทราราม เปดิ ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๑ จํานวน ๒ ห้อง อนุบาลปี
ท่ี ๒ จาํ นวน ๓ หอ้ งเรยี น ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖ จํานวน ๓๑ หอ้ งเรียน รวมทัง้ สน้ิ ๓๖
หอ้ งเรยี น เพ่ิมชั้นจากเดมิ ๑ หอ้ งเรยี น จํานวนนกั เรยี น ๑,๓๓๘ คน ขา้ ราชการครจู าํ นวน ๕๓ คน
ลูกจ้างประจํา ๗ คน ครอู ตั ราจ้าง ๒ คน ครูจ้างสอน ๑๐ คน ลูกจ้างช่วั คราว ๑๒ คน

โรงเรียนได้พัฒนาการเรียนการสอน ปรับปรงุ ดูแลอาคารเรียน สร้างสว้ มนักเรยี น ๓ ชน้ั ในอาคาร
ด้านทิศเหนือ ทาสอี าคารเรียนส่วนที่ยังไมเ่ รียบร้อยจนเสร็จสมบูรณ์ ปรบั ปรงุ ปลกู ตน้ ไมร้ อบโรงเรยี น
สวนหย่อมหน้าโรงเรยี น จัดหาเครอื่ งเลน่ ของนกั เรยี นชัน้ อนุบาล จัดทาํ ห้องศูนย์เด็กเลก็ บรเิ วณติดห้องสมุด
ปรับปรุงสนามเด็กเล่น เปลีย่ นเครอื่ งเลน่ ใหมใ่ ห้เหมาะสมกับวัยของนักเรยี นและไม่กอ่ ให้เกดิ อนั ตราย

ปกี ารศึกษา ๒๕๕๑ โรงเรียนไดป้ รบั ปรุงหอ้ งประชมุ ใหญโ่ ดยกรผุ นงั ห้องทง้ั หมด และขยาย
ด้านหลังจดั ทําเปน็ ห้องควบคมุ เครอ่ื งเสยี งและเกบ็ โตะ๊ เกา้ อ้ี เปล่ยี นฝา้ เพดาน เดนิ สายไฟ ตดิ ต้ัง
เคร่ืองปรับอากาศใหม่ ปรบั ปรุงเวทีหนา้ หอ้ งประชุมทะลปุ ระตูเชื่อมตอ่ หอ้ งประชมุ เล็กดา้ นหลงั เวทีใหผ้ า่ น
เขา้ ออกได้และปรับปรงุ หอ้ งประชุมเล็กขา้ งหอ้ งสมดุ เปน็ แบบเดยี วกนั

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๒ โรงเรยี นได้ปรบั ปรุงอาคารเรียน ทาสอี าคารเรียนภายในหอ้ งเรยี น ขดั พนื้
ห้องเรยี น ปรบั สภาพภมู ิทัศน์รอบ ๆ บริเวณโรงเรยี น จดั สวนหย่อมตามจุดต่าง ๆ รอบ ๆ บรเิ วณภายใน
โรงเรียนปรบั ปรุงพื้นห้องประชุมใหญ่ ปรับปรงุ หอ้ งพเิ ศษต่าง ๆ เชน่ ห้องนาฏศลิ ป์ , ห้องคอมพิวเตอร์,
ห้องซาวด์แลบ็ , ห้องแนะแนว

ปีการศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรียนไดร้ บั คัดเลอื กเปน็ โรงเรียนต้นแบบการใชห้ ลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ระดับประถมศกึ ษาของสํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต ๓
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ โรงเรียนได้รับคดั เลอื กเปน็ โรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล
(WORLD CLASS STANDARD SCHOOL)

ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม ผา่ นการตดิ ตามประเมินการดาํ รงรกั ษาสภาพ
สถานศึกษา ที่ไดร้ บั รางวลั พระราชทาน จากกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจําปี ๒๕๕๓ และโรงเรียน
วัดอมรนิ ทรารามมกี ารเปล่ยี นแปลงรูปแบบการบรหิ ารงาน เป็นสํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
กรงุ เทพมหานครมีผลบังคบั ใชต้ ง้ั แตว่ ันท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ซึ่งยา้ ยมาจากสํานกั งานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 3

ปัจจบุ ัน เปดิ สอนชนั้ อนุบาลปีท่ี ๑ จาํ นวน ๓ หอ้ งเรยี น อนบุ าลปที ่ี ๒ จํานวน ๓ ห้องเรยี น
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖ จาํ นวน ๓๐ ห้องเรยี น รวมทัง้ ส้ิน ๓๖ ห้องเรียน จํานวนนักเรยี น ๑,๒๗๕
คน ข้าราชการครู จํานวน ๔๒ คน ลกู จ้างประจํา ๕ คน ครอู ตั ราจา้ ง ๑๗ คน ลกู จา้ งช่ัวคราว ๑๘ คน

วิสยั ทัศน์

ภายในปี ๒๕๕๖ โรงเรยี นวัดอมรนิ ทราราม ปฏริ ปู การเรยี นรู้พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานสากล เป็นคนดีและมีคณุ ธรรม

School Vision
By the year of BE 2556 (2013), we, Watamarintararam School,
will have built on success the Education Reform and will have
developed our learners to be as good quality as The World

Class Standard School and to be moral with well-behaved beings.

ปรัชญา

นกั เรยี นตอ้ งเป็นคนคิดดี พดู ดี ทาํ ดี

คาขวัญประจาโรงเรียน

เรียนดี ประพฤตดิ ี สขุ ภาพดี

สีประจาโรงเรยี น
เขยี ว - เหลือง

คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
โรงเรียนวัดอมรนทราราม์

พนั เอกสรรชยั อจลานนท์ นางสาวมนตภ์ ทั ร ปพินทสมิทธ์ิ นางนิทรา ฉิน่ ไพศาล นายจุมพล เอีย่ มขนั ทอง นายนภาพล จรี ะกุล
ประธานกรรมการ ผ้แู ทนผปู้ กครอง ผ้แู ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
ผแู้ ทนครู ผู้แทนองคก์ รชมุ ชน

นางสุวัฒนา จนั่ หนู พระพศิ าลพฒั นกิจ พระครวู ิธานอมรกจิ นางฐิติมาพร เจริญวงศา นางนรสิ า หมสี มทุ ร
ผู้แทนศษิ ย์เกา่ ผแู้ ทนพระภกิ ษุสงฆ์ ผู้แทนพระภกิ ษสุ งฆ์ ผูท้ รงคุณวฒุ ์
ผทู้ รงคุณวุฒิ

นางนริศรา แยม้ ทรัพย์ นางผอ่ งศรี เกตพุ ันธ์ นางเฟือ่ งฟา้ ผิวขา นางวันกมล ศิระยานนท์ ดร.ลมยั พร แหล่งหล้า
ผทู้ รงคณุ วุฒ์ ผู้ทรงคุณวฒุ ์ ผู้ทรงคุณวุฒ์ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ผอู้ านวยการโรงเรยี น
กรรมการและเลขานกุ าร

โรงเรียนวดั อมรินทราราม ตัง้ อยเู่ ลขท่ี 566/1 ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงศิรริ าช
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 3 เปดิ สอนต้ังแตร่ ะดบั
ชัน้ อนุบาลปีท่ี 1-2 ถึง ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 (ช่วงชน้ั ท่ี 1-2) มเี นือ้ ที่ 4 ไร่ 3 งาน

** โรงเรียนวดั อมรินทราราม สงั กดั กองการมธั ยมศึกษา กรมวสิ ามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ก่อตง้ั มากอ่ นสงครามโลกครัง้
ท่ี 2 แตไ่ มม่ หี ลักฐานยืนยันว่า กอ่ ตั้งมาแตเ่ มือ่ ใด เปิดทาการสอนตั้งแต่ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 (ม.1) - มธั ยมศกึ ษาปีที่ 8 (ม.8) มี
ชือ่ เสียงทั้งด้านวชิ าการและด้านการกฬี า ในยคุ สมยั นัน้ ตอ่ มาปี พ.ศ.2477 โรงเรยี นวดั ระฆงั โฆสติ าราม เป็นโรงเรยี นสังกัด
เดยี วกัน ซ่ึงต้งั อยทู่ ี่วัดระฆงั โฆสติ ารามวรวหิ าร ได้เปลี่ยนจากโรงเรยี นชายไปเป็นโรงเรยี นหญงิ ชอ่ื "โรงเรยี นอมรนิ ทร์โฆสติ "
และเปิดการสอนตอ่ มาจนถงึ พ.ศ.2484 ได้เกิดสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ขึน้ สถานที่ตง้ั โรงเรยี นอยู่ใกล้สถานรี ถไฟธนบรุ อี ันเปน็ จดุ
ยทุ ธศาสตร์ อาคารเรยี นถูกลกู ระเบดิ ทาลายและไฟไหม้หมด เมื่อสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 สงบลงนักเรียนโรงเรียนอมรินทรโ์ ฆสิต
ต้องไปอาศยั เรยี นทโ่ี รงเรียนทวธี าภิเศก ซงึ่ ภายหลังไดม้ กี ารรวมตัวกอ่ ตั้ง "สมาคมศิษยเ์ กา่ ทวธี าภเิ ศกอมรนิ ทร์โฆสติ " ขนึ้ เพราะ
สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 โรงเรยี นวัดอมรินทรารามยุคเริ่มต้นจงึ ถกู ยบุ เลกิ ไปโดยปรยิ าย

**ตอ่ มาถงึ ปี พ.ศ.2503 กระทรวงศกึ ษาธิการในขณะน้ัน ได้ขยายการศกึ ษาระดับชั้นประถมศึกษาเปน็ ประถมศกึ ษาตอนตน้ 4 ปี
และประถมศกึ ษาตอนปลาย 3 ปี ฯพลฯ มล.ปิน่ มาลากลุ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ ในขณะนนั้ ไดต้ ิดตอ่ กับพระธรรม
รตั นากร (ต่อมาคือสมเดจ็ พระวันรตั ) เจ้าอาวาสวดั สังเวชวิทยาราม ซงึ่ รักษาการตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดอมรนิ ทราราม และพระ
ครปู ลดั รตั นวัตร ซ่งึ ได้รบั มอบหมายให้ดูแลวดั อมรินทราราม (ตอ่ มาคอื พระสุนทรวหิ ารกจิ เจ้าอาวาสวัดอมรนิ ทราราม) เพอ่ื ขอ
จดั ตงั้ โรงเรยี นขึ้นใหม่ พระคุณเจ้าท้งั สองรปู ได้เล็งเหน็ ความสาคัญและประโยชน์ของการศกึ ษาของชาติ จึงไดม้ อบทด่ี ินว่าง
เปลา่ ของวัด เนอื้ ทีจ่ านวน 4 ไร่ 3 งานใหก้ รมสามัญศกึ ษากอ่ ตง้ั โรงเรยี นขึ้นเพ่ือรับสถานการณก์ ารขาดแคลนสถานทีเ่ รยี นของ
นักเรยี น

**ปี พ.ศ.2509 มีการโอนโรงเรยี นไปสังกดั องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดธนบุรี กระทรวงมหาดไทย มโี รงเรยี นฝง่ั ธนบุรหี ลาย
โรงเรยี นทกี่ รมสามัญศึกษาขอสงวนไวเ้ พ่ือเปน็ โรงเรียนสาหรับทดลองวจิ ัยด้านการเรยี นการสอน นอกจากโรงเรียนวดั อมรนิ ทรา
รามแลว้ ยังมีโรงเรยี นอ่ืน ๆ เชน่ โรงเรยี นโฆสติ สโมสร โรงเรียนประถมทวธี าภเิ ศก โรงเรียนวัดหงสร์ ัตนาราม เป็นต้น และมี
โรงเรียนอนื่ ๆ ในตา่ งจังหวัดอกี รวมเรียกวา่ โรงเรียน "สามัญ" มีอกั ษร " ส " ปกั นาชอ่ื โรงเรียน เชน่ ส.อ.ร. , ส.ฆ.ก. , ส.ช.ก.
เป็นตน้

**ปี พ.ศ.2523 มกี ารเปล่ยี นแปลงรูปแบบการบรหิ ารงานมีการจัดต้ังสานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ
ซ่ึงเท่ากบั เปน็ กรมหนงึ่ ในกระทรวงศกึ ษาธิการ โรงเรียนประถมศกึ ษาสว่ นกลางท้งั หมด ซงึ่ มีโรงเรียนวดั อมรนิ ทรารามด้วย จงึ
ย้ายมาสังกัดสานกั งานการประถมศึกษากรุงเทพมหานคร สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ
กระทรวงศึกษาธกิ าร มกี ารแบ่งโรงเรียนประถมศกึ ษาสว่ นกลางเป็น 5 กลมุ่ โรงเรียน คอื กลุ่มโรงเรียนทวาราวดี กลมุ่ โรงเรยี นอ
โยธยา กลุ่มสุโขทยั กลมุ่ โรงเรยี นกรุงธนและกลุม่ โรงเรียนรตั นโกสินทร์

คณะผูบ้ ริหาร

ดร.ลมัยพร แหล่งหล้า นางราไพ ค้มุ แกว้ นางจรญั ญา สุวรรณเตมยี ์ นางสาวจุฑามาศ ธุวงั ควัฒน์
ผ้อู านวยการโรงเรียน รองผ้อู านวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน

คณะครชู ั้นอนบุ าลปที ี่ ๑

นางลักขณา ณ ระนอง นางสาวสายสนุ ีย์ ทองยวน นางสาวสริ ิภัค บญุ มาก
ครูประจาช้นั อนบุ าลปที ี่ ๑/๑ ครปู ระจาชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๑/๒ ครูประจาชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๑/๓

คณะครูช้นั อนุบาลปที ่ี ๒

นางสุจิตรา ธนะพวั สวุ รรณ นางสาวเพ่ิมพลู วชิ าชา่ ง นางสาวสุรณยี ์ ปา่ นนี้
ครูประจาชั้นอนุบาลปีที่ ๒/๑ ครปู ระจาชั้นอนบุ าลปที ี่ ๒/๒ ครูประจาช้นั อนบุ าลปีที่ ๒/๓

คณะครูช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ และครูพเิ ศษ

นางสาวณัฐกจิ ตา เตย่ี วขุ้ย นางสัญญา นอ้ ยสาแดง นางคนงึ นิจ บุญจนั ทร์ น.ส.ชวัลลกั ษณ์ สคุ ันธศิลป์

ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑/๑ ครปู ระจาชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑/๒ ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑/๓ ครปู ระจาช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑/๔

นางสาวพชั รยี ์ ทวที รัพย์ นางอนงค์ ดวงมุสิก นายธัญสิทธ์ิ วรรณปกาสติ นายวนี สั จอมเกาะ
ครปู ระจาช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑/๕ ครูพเิ ศษสายชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ครูพิเศษสายชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ครูพิเศษสายช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑

คณะครูช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ และครพู เิ ศษ

นางวนดิ า พชั นะพานิช นางจรรยา ชสู ุวรรณ นางสาวสมใจ นวลดี นางรัตนา เดชะสุรวานิชย์
ครูประจาชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒/๑ ครูประจาชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒/๒ ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒/๓ ครปู ระจาชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒/๔

นางรจนา จนั ทรส์ นาม นางสุนทรี ประยรู สิทธิ นางพรใจ ดว้ ยตง้ั ใจ นางสาววันเพ็ญ มาประดิษฐ์
ครปู ระจาช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒/๕ ครูพิเศษสายชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ครพู เิ ศษสายชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ ครูพเิ ศษสายช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

คณะครชู ัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ และครูพเิ ศษ

นางสาคร เมอื งพรหม น.ส.ปยิ ะพนั ธ์ สุวรรณภมู านนท์ นางพรรณนิภา วชั ราภรณ์ นางสาธร มงุ่ ธัญญา
ครูประจาช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓/๑ ครปู ระจาชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓/๒ ครูประจาช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓/๓ ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓/๔

นางทัศนยี ์ สรุ สนธิ นายถาวร พบพืช นายพนิ ิจ สาระสยั

ครูประจาช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓/๕ ครพู เิ ศษสายชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ครพู ิเศษสายชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

คณะครชู ้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ และครพู ิเศษ

นางณฐั รักษ์ ขาเปรอื่ งเดช นางสารวย หอมรองบน นางสาวประทมุ เลก็ เปยี นางกญั ญรส แสงพรายพรรณ์

ครูประจาช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔/๑ ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔/๒ ครูประจาช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๓ ครปู ระจาชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔/๔

นางสริ ิลกั ษณ์ ครฑุ มณี นายสมพงษ์ ยงั ประเสริฐ นางสาวพมิ พน์ ภา รอดทอง Mrs.Andrea S. Delmas

ครปู ระจาชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔/๕ ครูพิเศษสายชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ครูพเิ ศษสายชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ครพู เิ ศษสายช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔

คณะครูชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ และครูพเิ ศษ

นางสาวยุพยง ไชยชมภู นางสาวอจั ฉรา สขุ สาราญ นางสาวจุญจริ า สดี ามุย นางสปุ รดี ี คงวงศส์ ุภัค

ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕/๑ ครปู ระจาชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕/๒ ครปู ระจาชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕/๓ ครูประจาชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕/๔

นางสาวรังสมิ า ภาคเมธี นางวราลี ศรที อง นางสนั สนยี ์ กนกลาวณั ย์ นายวทิ ูร นิลวัตร
ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕/๕ ครูพิเศษสายชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ ครูพเิ ศษสายชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครูพิเศษสายช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕

คณะครชู ัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ และครูพเิ ศษ

น.ส.กฤชมน อานทพิ ยส์ วุ รรณ นางรักษณา แวงโสธรณ์ นางชัญญภัฏ เอ้ือทยานนท์ นางศรีปัญญา พงศส์ ุวรรณ

ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖/๑ ครปู ระจาชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖/๒ ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖/๓ ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖/๔

นางชัญญณัส รอดพยงุ นางนิทรา ฉนิ่ ไพศาล นางอดิสร สีสรรคก์ ติ พิ งษ์ นางพรพมิ ล ผวิ ตาลดี
ครูประจาชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖/๕ ครูพเิ ศษสายช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ครูพเิ ศษสายชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ครพู เิ ศษสายชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖

บคุ ลากรโรงเรยี นวดั อมรนิ ทราราม

นายอินจันทร์ โมง่ บุตร นายวฒุ ิพงษ์ ประทมุ วงศ์ นายสมชาย อนิ ทร์เทวา

นายชาญ นาคสทุ ธิ นายสาโรจน์ บุญตรา

บุคลากรโรงเรยี นวัดอมรินทราราม-เจา้ หน้าที่ธุรการ

นางเบญจวรรณ พิรยิ วุฒิ น.ส.ปรียาภรณ์ สมบูรณ์ชยั นางสาวปัทมาวดี ทองเทือก นางสาวกหุ ลาบ ไขล่ าย
นางอภชิ ญา สุขประเสรฐิ นางสาวรฐั พร เมอื งนลิ นายอโณชา สายศร

บุคลากรโรงเรยี นวัดอมรินทราราม

น.ส.ใจทพิ ย์ สหทรพั ยเ์ จรญิ นางรสรนิ สวนดี นางสาวเขมจิรา ทวพิ ร นางเสาวนยี ์ สันหมดุ
พ่ีเล้ียงอนุบาลปีที่ ๑/๑ พ่ีเลยี้ งอนุบาลปีท่ี ๑/๒ พเี่ ล้ยี งอนบุ าลปีที่ ๑/๓ พเ่ี ลย้ี งอนบุ าลปที ่ี ๒/๑

นางวนั พร เกล้ียงมศี รี น.ส.เกลด็ เพชร วัชโรทยั นางจันทรส์ ม ปันคะปวง นางสาวณุชชา อารีรกั ษ์
พเี่ ล้ียงอนุบาลปที ี่ ๒/๒ พ่เี ลี้ยงอนุบาลปที ่ี ๒/๓ พีเ่ ล้ยี งช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑

นายเย็น กลอ่ มเภรี นายอนศุ กั ด์ิ ทานองนาค นายเชิด นพภากลู

นกั ศึกษาฝกึ สอน (ป.บัณฑิต วชิ าชีพครู) มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบรุ ี

จากซา้ ย : นางสาวพิมผกา ทะกา๋ ,
นางสาวจริ ชั ยา ชอบธรรม
นางสาวสนิ ทิ ธา วฒั นะ

ครูพิเศษสอนภาษาตา่ งประเทศ

Mrs.Chantana B. Mr.Nicholas Haw Mr.Jamie Ries

นักศึกษาฝกึ ประสบการวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภฎั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

จากซ้าย : นางสาวพชั รกิ า ริมดุสติ , นางสาวพัชรินทร์ ทองเตา๊ , นายชัยวัฒน์ แสงวัฒนฉตั ร
นางสาวอภญิ ญา ศรสี ขุ , นางสาวนชุ จรี แหลมทอง

นกั ศกึ ษาสงั เกตการสอนมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎบา้ นสมเด็จ

เจ้าพระยา

แถวแรก : นางสาวนาริน ขาวนวล, นางสาวชลดา เชื้อดี, นางสาวทศั ณีพร แทน่ ศรี,
นางสาวอรทยั เพช็ รสอน, นางสาววิศณี เพชรกงั สดาล, นางสาวนอฮาฟซี า แวมามะ

แถวหลงั : นางสาวรวภิ า ทองสงค์, นางสาวศศิมา ทองเคยี น, นางสาวหทัยรัตน์ ยงุ่ ย่ัง,
นางสาวธนาภรณ์ ธรรมวาทติ ย์, นางสาวศทุ ธนิ ี แกว้ ศรีบญุ , นางสาวคอยเราะ มามะเร
นางสาวอารรี ตั น์ สะแลแม, นางสาวรสุ นานี สะอิ

คณะกรรมการนกั เรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๕๓

ด.ช.จริ กมล เชือ้ เมืองพาน ป.๖/๒ ด.ญ.ปารมี รอดสวัสดิ์ ป.๖/๑
ประธานนักเรียน รองประธานนักเรยี น

ด.ญ.สุพรรษา สิงห์บรุ ะอุดม ป.๖/๓ ด.ญ.ฉันทสิ า กองสวสั ดิ์ ป.๖/๔ ด.ญ.ชญานิศ ต่ิงตอ้ ย ป.๖/๕
กรรมการนกั เรียน
กรรมการนกั เรียน กรรมการนักเรยี น

“ลูกอมรนิ ทรไ์ มล่ มื พระคณุ คร”ู
กระผม ด.ช.จริ กมล เช้ือเมอื งพาน นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖/๒ ประธานนกั เรยี นโรงเรยี น

วดั อมรนิ ทราราม ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ ในนามผูแ้ ทนคณะกรรมการนกั เรยี น ผมขอขอบคณุ อาจารยท์ กุ ท่าน
พระอาจารย์ทุกรปู ทีใ่ ห้ความรพู้ วกกระผม ถงึ แม้อาจจะซกุ ซนไปบ้าง กระผมขอสญั ญาว่าผมจะเป็นคนดแี ละ
ตงั้ ใจเล่าเรียนหนังสอื ให้ครู อาจารย์ได้ชน่ื ชมและผมจะเป็นคนดีของคุณพ่อ คณุ แมแ่ ละสงั คมตลอดไป

ด.ช.จริ กมล เช้อื เมอื งพาน
ประธานนกั เรยี น
ดิฉนั ด.ญ.ปารมี รอดสวสั ด์ิ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖/๑ รองประธานนกั เรยี นโรงเรยี น

วดั อมรนิ ทราราม ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ ดิฉนั ไดเ้ รยี นทีโ่ รงเรยี นแห่งนีต้ ั้งแต่อนบุ าลจนถงึ ปจั จบุ ันนี้ ดิฉัน
ขอขอบพระคณุ คณุ ครอู าจารยแ์ ละพระอาจารยท์ กุ รปู ทไ่ี ด้อบรมส่ังสอน ใหค้ วามรักความเมตตาหว่ งใยให้ความรู้
แก่ลกู ศษิ ย์ ให้ประสิทธิ์ประสาทในวชิ าต่าง ๆ นอกจากจะไดค้ วามรูท้ างวชิ าการเท่านนั้ เรายังได้รบั การอบรมส่งั
สอนในด้านคณุ ธรรม-จรยิ ธรรม ใหม้ ีความประพฤตดิ ี ทั้งกาย วาจา ใจใหล้ กู ศษิ ย์เป็นคนดีมคี วามรู้ความสามารถ

ด.ญ.ปารมี รอดสวสั ดิ์
รองประธานนกั เรยี น



ลกู อมรินท

ปกี ารศึกษา

ทราราม

า ๒๕๕๓

อนุบ

แถวหน้า : ด.ญ.สวรส นิลยอง, ด.ญ.สพิชญา ทองรงุ่ , ด.ญ.ญาดา คาโคม,
ด.ญ.นิสา เปลีย่ นแฉ่ง, ครูลักขณา ณ ระนอง, ด.ญ.พรธดิ า วนั ทมุ ,
ด.ญ.ณฐั นิชา วงศ์วรรณ, ด.ญ.ธนัชพร ด่านวริ ยิ ะกลุ , ด.ญ.เบญจารี

แถวหลัง : ด.ช.อลงกต มาฆะบูชา, ด.ช.ศิรวทิ ย์ เจรญิ กลุ , ด.ช.กฤติเดช ฉิม
ด.ช.ศรศิริ วรรณทอง, ด.ช.ศรัณย์ อรรคจนั ทร์, ด.ช.จักราวธุ โตบ
ด.ญ.ณชั ชา อรญั ยกานนท์

บาลปที ่ี ๑/๑

ด.ญ.ธญั สดุ า แสละกุล, ด.ญ.ณฐมน ศรไี ตรราศรี, ด.ญ.ปัณฑารยี ์ เพ็ญสุขเหลือ
, ด.ญ.ณัฐกมล ทวแี กว้ , ด.ญ.วรี ยา อินทมาตย์, ด.ญ.กัญญว์ รา ธรรมวิวฒั นกุ ูร,

แสงศร
มพาล,ี ด.ช.เอกรนิ ทร์ ดใี หม,่ ด.ช.กรกฎ เจอื จนั ทรห์ อม, ด.ช.ระพีภัทร จันทร์ต้อย
บณั ฑิต, ด.ญ.จริญญาณ์ แหวนวงษ์, ด.ญ.รพินทรพ์ รรณ ทองพรม,

อนบุ า

แถวหนา้ : ด.ช.สจั จะเทพ ชัยประสิทธิกุล, ด.ญ.นภสร พบิ ูลย์, ด.ญ.กชกร บุญธ
ด.ญ.มณีรัตน์ ชานาญคง, ครสู ายสนุ ยี ์ ทองยวน, ด.ญ.อมุ าพร โค้วจ
ด.ญ.ณฏั ฐณชิ า เจริญสขุ , ด.ญ.ชนิดา มะไพร, ด.ญ.ธนรตั น์ สงู กา

แถวหลงั : ด.ช.นราทร บัวเนียม, ด.ช.โอม ภเู่ สือ, ด.ช.ธนัท จติ ตรุ่งเรือง, ด
ด.ช.ธรี พล ปาระเวก, ด.ช.ธนาเทพ โชคโสด, ด.ช.ภราดา กล่นิ เสือ,
ด.ช.ตรัยคุณ แก้วเขียว

าลปที ี่ ๑/๒

ธรรม, ด.ญ.พุทราหวาน นสิ ยั ชล, ด.ญ.ปาณิสรา ภู่พันธ์พิทกั ษ์, ด.ญ.ปิยาอร ศรีคณู
จารสั , ด.ญ.ศรตุ า สันทอง, ด.ญ.รติญญา สขุ สมไทย, ด.ญ.ชนกนนั ท์ แสวงวงศ์
าเนิด
ด.ช.นราวชิ ญ์ แกว้ โชติ, ด.ช.ฐนกร โอฬารดิลก, ด.ช.โชติพฒั น์ วฒั นอรยิ กิจ
ด.ช.กฤตเมธ เสมประเสริฐ, ด.ช.กิตติเชษฐ์ อุทยั บรุ มภ์, ด.ช.จิรายุ ชมะโชติ

อนุบา

แถวหนา้ : ด.ญ.ปทิตตา ประทีป, ด.ญ.พรประภา ฉววี รรณ์, ด.ญ.จุฑามาศ อินท
ด.ญ.กานต์พชิ ชา พรหมบตุ ร, ด.ญ.โชตมิ า พงษพ์ ิทกั ษว์ เิ ศษ, ครูสริ ภิ คั
ด.ญ.สริ ิญญา ป่นิ เมฆ, ด.ญ.มณีรัตน์ ชุมทอง, ด.ญ.ชนิสร วงษศ์ ร,ี ด.ญ

แถวหลัง : ด.ช.เตชนะ อายวุ ัฒนะ, ด.ช.นธิ กิ รณ์ รักซ้อน, ด.ญ.ฐิติยา พวงลาเจยี
ด.ช.เอกชยั นอ้ ยเกดิ , ด.ช.ศวิ พรหม ศรมี งคล, ด.ช.จริ ัชยา พลใจหาญ,

าลปีท่ี ๑/๓

ทร์เจรญิ , ด.ญ.เวธกา เอมคุ้ม, ด.ญ.กญั ญาพัชร ชา่ งทอง,
ค บุญมาก, ด.ญ.ชนัญชิดา ควรดารงธรรม, ด.ญ.สุพรรณกิ าร์ แสงเพมิ่
ญ.สริ ิยาภรณ์ ฟ้งุ พนั ธ์ปุ ระเสรฐิ , ด.ญ.จริ ฐั ิติพร ธนัครสทิ ธิ์สกุล
ยก, ด.ญ.อมิ่ ฤทัย คุมมงคล, ด.ช.นนั ทพทั ธ์ ตรงกลาง, ด.ช.จริ ภัทร เมฆตรู,
, ด.ช.สรสชิ พรอ้ มชนิ สมบัติ, ด.ช.กณั ตพัฒน์ สงวนศรี, ด.ช.พัทธนันท์ ศริ สิ ิทธ์ิ

อนุบ

แถวหนา้ : ด.ญ.ณฐั ณชิ า หัวนะราษฎร์, ด.ญ.ณัฏฐณิชา ยศอ่อน, ด.ญ.กนกภรณ์
ด.ญ.ขวญั แก้ว ปิน่ เมฆ, ด.ญ.ชญานษิ ฐ์ บญุ ประดับ, ครูสจุ ิตรา ธนะพ
ด.ญ.ชลธิชา คาเนตร, ด.ญ.ธนกาญจน์ ราชนยิ ม, ด.ญ.กุลณฐั วิมล

แถวหลงั : ด.ช.ชยานนท์ ศศธิ ร, ด.ช.พณัฐพงศ์ คงบวรเกียรติ, ด.ช.สุวฒั นะ วโร
ด.ช.แทนกาย ธรรมววิ ฒั นุกูร, ด.ช.ชยตุ ม์ กฤษณายุทธ, ด.ช.กองเกียรต
ด.ช.กิตตพิ ศ แซเ่ ตยี ว, ด.ช.ตระการ บุญบารุง, ด.ช.ชนุตร์ รอดหิรญั

บาลปที ่ี ๒/๑

ไชยเดช, ด.ญ.เมลานี บรหิ าร, ด.ญ.ธนวรรณ เดชาเลศิ , ด.ญ.จารุนิภา บญุ เรอื งศรี
พวั สวุ รรณ, ด.ญ.ธนพร แจง้ จอน, ด.ญ.ชญานิษฐ์ อ่าสกุล, ด.ญ.ณัฐวรา อินทรธุ
ลรัตน์, ด.ญ.ตะวนั เปรมมณุ ี
รทยั , ด.ช.เทอดเกียรติ ยอดบางเตย, ด.ช.ปิติพงศ์ เลอวศิ ิษฏ,์
ติ ธรรมชาติ, ด.ช.พลวตั อรัญยถาวร, ด.ช.กิตพิ ันธ์ ฤทธ์สิ ุวรรณ
ญ, ด.ช.กฤษฎา สหสิทธวิ ฒั น์, ด.ช.กฤษณธร หงษ์โต, ด.ช.ณภัธ สมสุข

อนบุ

แถวหนา้ : ด.ญ.อารยิ า เผือกผ่อง, ด.ญ.นิศากร ภู่สวุ รรณ, ด.ญ.รัศมี อ
ด.ญ.สวุ นนั ต์ แมม่ิง, ด.ญ.พชั ราภรณ์ คลังกลาง, ครูเพม่ิ พลู
ด.ญ.เพชรแพรว วรเมท, ด.ญ.ธิชา ปิ่นพลบั , ด.ญ.นรมน สรุ

แถวหลัง : ด.ช.เนตพิ งษ์ ตะแกว้ , ด.ช.ปรเมษฐ์ ณฐั พูลวฒั น์, ด.ช.วชิ ชาก
ด.ช.ภาคภมู ิ เย็นเพชร, ด.ช.บารมี เดอื นไธสง, ด.ช.ธนวนิ อ
ด.ช.นันทณัฐ แซเ่ จ็ง, ด.ช.บรุ พล ชัยวงค์, ด.ช.ป่าไม้ เช้อื ดวงผ
ด.ช.นครินทร์ สุคนธ์, ด.ช.นราวชิ ญ์ หอมหวลดี

บาลปีที่ ๒/๒

อนนั ต์, ด.ญ.นันทวรรณ บุญราษฎร์, ด.ญ.อจั จมิ า สนธิพร, ด.ญ.ปภาดา มาทว้ ม
วิชาช่าง, ด.ญ.บษุ กร ศรจี ตั รุ ัส, ด.ญ.ปวนิ ทว์ ดี พูลสมบัติ,
รพันธ์เมธี, ด.ญ.ปยิ นุช เปยี อยู่, ด.ญ.ปยิ ธดิ า เปยี อยู่
กร เกลีย้ งมีศรี, ด.ช.ภบู ดินทร์ ทาสิน, ด.ช.ธนาธิป นิงสานนท์
อ่วมอมุ่ , ด.ช.ธนวฒั น์ สุขญาติ, ด.ช.บรุ ษุ รตั น์ สวุ รรณภกั ด,ี
ผยุ , ด.ช.ทิฐินันท์ ตานแตง่ , ด.ช.ธนารักษ์ โชคโสด, ด.ช.พัชรดนยั ฉิมะเวช

อนุบ

แถวหน้า : ด.ญ.สปุ รยี า อรรถยุกต,ิ ด.ญ.ศิริรชา เดด็ วไิ ล, ด.ญ.สุชานาถ เนยี มเ
ด.ญ.สรุ างคนา เมฆาระ, ด.ญ.อภิญญภ์ ทั ร์ บวั หลวง, ครูสุรณยี ์ ปา่ นน
ด.ญ.เบญจวรรณ หว้ ยจันทร์, ด.ญ.สธุ าวลั ย์ หาญสทิ ธิ์, ด.ญ.สุชาวดี

แถวหลงั : ด.ช.วิศรตุ ไตรศักดิศ์ รี, ด.ช.วิษณุ ผกู พนั ธ์, ด.ช.สหสั วัต มโนขนั ธ์, ด
ด.ช.อภณิ ัฐ อบอุน่ , ด.ช.จิรพงศ์ ศฤงฆไพบูลย์, ด.ช.มนัส จันทรวงศ์,
ด.ช.บูรพา ต่อศริ กิ ุลฑล, ด.ช.กิตติพศ แจง้ กระจ่าง, ด.ช.วาทติ ย์ อ้อวเิ


Click to View FlipBook Version