The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 1 องค์การและการจัดองค์การ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by asmalkp.11, 2021-04-07 19:57:20

การบริหารคุณภาพในองค์การ

เล่มที่ 1 องค์การและการจัดองค์การ

Keywords: องค์การและการจัดองค์การ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้

หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู พทุ ธศกั ราช 2557
ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกจิ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

การบริหารงานคณุ ภาพ
ในองคก์ าร

รหัสวชิ า 3001-1001

เล่มท่ี 1 องค์การและ
การจัดองค์การ

เรยี บเรยี งโดย
นางณฐั ฐาพร สำนักเหยา

ภาควชิ าการตลาด
ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ
วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาปต ตานี

คำ�นำ�

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาการบริหารงานคุณภาพในองค์การ (Quality Administration
in Organization) รหสั วชิ า 3001-1001 จดั ทำ� ขนึ้ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปรบั ปรงุ และพฒั นา
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั ศกึ ษาระดบั หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) โดยใชช้ ดุ กจิ กรรมการ
เรียนรู้ ซงึ่ ประกอบด้วย 9 เลม่ ดงั น้ี
เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง องค์การและการจัดองคก์ าร
เล่มที่ 2 เรื่อง การเพมิ่ ประสิทธิภาพการท�ำงานในองค์การ
เล่มที่ 3 เรอ่ื ง การจดั การความเสย่ี ง
เล่มท่ี 4 เรอ่ื ง การจัดการความขดั แยง้
เลม่ ที่ 5 เรื่อง กจิ กรรมกลมุ่ เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพการทำ� งานในองค์การ
เลม่ ที่ 6 เรื่อง กจิ กรรมพัฒนาตนเองเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการท�ำงาน
เลม่ ที่ 7 เรอื่ ง กจิ กรรมพัฒนาทมี งาน
เล่มที่ 8 เรือ่ ง หลักการและกระบวนการบรหิ ารคุณภาพและเพม่ิ ผลผลิต
เลม่ ที่ 9 เรอ่ื ง การประยุกต์ใชก้ ิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพิม่ ผลผลติ ในการจัดการงาน
ผเู้ รียนสามารถศึกษาและเรียนรู้ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้เู ลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง องคก์ ารและการจดั องคก์ าร
เล่มนี้ไดด้ ว้ ยตนเอง ตามแผนผังแสดงข้นั ตอนการเรียนได้อยา่ งอิสระ สามารถพฒั นาตนเองได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ
สอดคลอ้ งกบั แนวคิดในการพฒั นาผูเ้ รยี นสู่ศตวรรษที่ 21
ผูจ้ ัดทำ� หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วชิ าการบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ (Quality
Administration in Organization) รหสั วชิ า 3001-1001 จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาทกั ษะ และเพิ่มผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของครูผู้สอน และผู้ท่ี
สนใจได้น�ำไปใช้ในการพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงาน
อาชพี ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ นำ� ไปส่กู ารมีคุณภาพชวี ิตท่ีดแี ละดำ� รงชวี ติ ได้อยา่ งมีความสุข

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา

I

สารบัญ

หน้า

คำ� น�ำ I
สารบัญ II
คำ� ชี้แจงเก่ียวกับชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1
คำ� แนะนำ� การใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรสู้ ำ� หรับคร ู 2
ค�ำแนะน�ำการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้สำ� หรบั ผู้เรยี น 3
การวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ 4
แผนผังแสดงข้ันตอนการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5
ลักษณะรายวิชา/สาระการเรียนรู้/จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 6
แบบทดสอบก่อนเรยี น 8
กระดาษคำ� ตอบกอ่ นเรียน/หลังเรยี น 11
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายขององค์การ 12
กิจกรรมท ี่ 1 What is the organization? 16
ใบความรทู้ ี่ 2 องคป์ ระกอบขององค์การ 18
กิจกรรมท่ ี 2 วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบองค์การ 23
ใบความรู้ที่ 3 วตั ถุประสงคแ์ ละประเภทองค์การ 24
กจิ กรรมที่ 3 Kahoot Games 27
ใบความรทู้ ่ ี 4 การจัดองค์การ 28
ใบความรู้ท ่ี 5 ขนั้ ตอนการจัดองค์การ 34
ใบความรูท้ ี่ 6 องค์การสมัยใหม่ 45
กิจกรรมท ่ี 4 My Organization Structure 49
แบบทดสอบหลังเรยี น 50
กระดาษค�ำตอบหลงั เรยี น 53

II

สารบัญ

หน้า

บรรณานกุ รม 54
ภาคผนวก 56
ชดุ เฉลยกจิ กรรมการเรียนรู้
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนหลังเรียน 57
เฉลยกิจกรรมท่ี 1 What is the organization? 58
เฉลยกิจกรรมที่ 2 วเิ คราะห์องคป์ ระกอบองค์การ 60
เฉลยกิจกรรมที่ 3 Kahoot Games 62
เฉลยกจิ กรรมท่ี 4 My organizational structure 63
แบบบนั ทกึ คะแนน 64
แบบประเมินความพงึ พอใจ 65

III

ณัฐฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาปัตตานี

คำ�ช้ีแจงเก่ียวกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้

1. ชดุ กจิ กรรมเรยี นรวู้ ชิ าการบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร (Quality Administration in Organization)
รหสั วิชา 3001-1001 สำ� หรบั นักศกึ ษาระดับชน้ั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) ประเภทวชิ าบริหารธรุ กจิ
เลม่ ที่ 1 เร่อื ง องคก์ ารและการจดั องค์การ
2. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูช้ ดุ น้ี ประกอบด้วย
2.1 คำ� ชแ้ี จงเกี่ยวกับชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้
2.2 ค�ำแนะน�ำการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรูส้ �ำหรบั ครู
2.3 ค�ำแนะน�ำการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้สู �ำหรบั นักศึกษา
2.4 แผนผงั แสดงขนั้ ตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.5 ค�ำอธบิ ายรายวชิ า/สาระสำ� คัญ/จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
2.6 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลงั เรียน
2.7 ใบความรู้
2.8 กิจกรรม
2.9 บรรณานกุ รม
2.10 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี น
2.11 เฉลยกจิ กรรม
2.12 แบบบันทึกผลการเรียนรู้
2.13 แบบประเมนิ ความพึงพอใจทม่ี ตี ่อการใช้ชดุ กิจกรรม
3. ชดุ กิจกรรมการเรยี นรเู้ ลม่ นีใ้ ชเ้ วลาเรยี น 6 ชัว่ โมง ก่อนใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรใู้ หน้ ักศึกษา
ทำ� แบบทดสอบก่อนเรียนเลม่ ท่ี 1 เร่อื ง องคก์ ารและการจัดองค์การ จ�ำนวน 10 ข้อ
4. หลงั จากใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้จบแล้วใหท้ ำ� แบบทดสอบหลังเรียนเล่มที่ 1 เรือ่ ง องค์การและ
การจัดองคก์ าร จำ� นวน 10 ขอ้
5. บันทึกผลการเรียนรลู้ งในแบบบนั ทึกคะแนนและประเมินผลการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

องคก์ ารและการจัดองค์การ 1

ณฐั ฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาปัตตานี

คำ�แนะนำ�การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำ�หรับครู


การจัดการเรยี นการสอนโดยใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ชิ าการบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร (Quality
Administration in Organization) รหสั วชิ า 3001-1001 มขี นั้ ตอนการจดั กจิ กรรมทค่ี รตู อ้ งดำ� เนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ขน้ั เตรยี มการสอน
1.1 ศึกษาแผนการจดั การเรียนรู้และชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้จนเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี
1.2 ตรวจสอบชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้เตรยี มความพรอ้ มของสอื่ ทใี่ ชใ้ นการสอนอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ใหอ้ ยู่ในสภาพใช้งานได้
1.3 ก�ำหนดวธิ ีการแบง่ กลมุ่ นกั ศกึ ษาโดยคละความสามารถ (เกง่ ปานกลาง ออ่ น)
1.4 ก�ำหนดวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลทั้งดา้ นความรู้ ทกั ษะ และคุณลักษณะ อันพงึ ประสงคใ์ ห้
สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะรายวิชา
2. ข้ันดำ� เนนิ กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ครแู จกชดุ กจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้กับนักศึกษา
2.2 ครชู ีแ้ จงการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ให้นักศกึ ษาทราบก่อนลงมือปฏิบัติ
2.3 ครใู ห้นกั ศกึ ษาท�ำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพ่ือวิเคราะหน์ กั ศกึ ษา
2.4 ครใู หน้ ักศึกษาศกึ ษาการใชช้ ดุ กิจกรรมและปฏิบัติตามข้ันตอน
2.5 ครูใหน้ กั ศกึ ษาท�ำแบบทดสอบหลงั เรียน
3. ขั้นการประเมนิ ผล
3.1 ครูให้นกั ศกึ ษาตรวจสอบผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมและแบบทดสอบ
3.2 ครตู ิดตามผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนกั ศกึ ษาเปน็ รายบุคคลและบนั ทึกคะแนน
3.3 ครปู ระเมินผลตามเกณฑก์ ารประเมนิ หากนกั ศกึ ษาคนใดไมผ่ า่ นเกณฑ์ให้ทำ� การศกึ ษา
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนใหมอ่ ีกครัง้

องค์การและการจัดองคก์ าร 2

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาปัตตานี

คำ�แนะนำ�ในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำ �หรับนักศึ กษา

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ชิ าการบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร (Quality Administration in Organization)
รหัสวิชา 3001-1001 ส�ำหรับนักศึกษาระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ท้ังหมดมี 9 เล่ม
โดยชดุ กจิ กรรมเลม่ นเ้ี ปน็ เลม่ ท่ี 1 เรอื่ ง องคก์ ารและการจดั องคก์ าร นกั ศกึ ษาควรปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้
1. ศึกษาสาระสำ� คญั และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ใู ห้เข้าใจ
2. วางแผนการท�ำงาน เวลาท่ีใชใ้ นการทำ� กิจกรรม วัสดุอุปกรณท์ ่จี �ำเปน็ สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
3. ต้งั ใจเรียนรตู้ ามลำ� ดบั ข้ันตอนที่กำ� หนดให้
4. ลงมือปฏิบัตติ ามข้ันตอนอย่างเคร่งครัด และมีความซอ่ื สัตย์ต่อตนเอง ไมข่ ้ามข้นั ตอนเพราะจะทำ�
ให้สบั สน
5. ขณะศกึ ษาเรียนรู้ หากมีขอ้ สงสยั หรอื ข้อขอ้ งใจใหถ้ ามเพือ่ นหรือครูเพ่อื ขอรับ คำ� แนะน�ำ
6. หากนักศึกษาท�ำแบบทดสอบหลังเรียนและแบบฝึกทกั ษะไม่ผา่ นรอ้ ยละ 60 ให้ศกึ ษาชุดกจิ กรรม
เรยี นร้ตู ามขัน้ ตอนใหม่อีกครัง้ หากยงั ไมผ่ ่านหรอื มขี อ้ สงสัยให้นักศึกษายืมชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ไปศึกษานอกเวลาเรยี นหรือปรกึ ษาครูผู้สอน

องค์การและการจดั องคก์ าร 3

ณัฐฐาพร สำ� นักเหยา | วิทยาลยั อาชวี ศึกษาปตั ตานี

การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง

ดา้ นความรู้
1. วธิ กี ารประเมนิ : การทดสอบ
2. เครอ่ื งมือ : 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2. แบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : มีความรู้ความเข้าใจทถ่ี กู ตอ้ ง จะได้ 10 คะแนน
4. เกณฑก์ ารตดั สนิ การผ่าน : ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60
(ตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 คะแนน)
ด้านทักษะ
1. วธิ กี ารประเมนิ : ประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัติงาน
2. เครื่องมอื : 1. ใบความรู้
2. กจิ กรรมการเรียนรู้
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ปฏิบตั กิ ิจกรรมไดถ้ ูกตอ้ ง จะได้ 20 คะแนน
4. เกณฑก์ ารตัดสนิ การผ่าน : ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 75
(ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่า 15 คะแนน)
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
1. วธิ ีการประเมิน : การสงั เกต
2. เครื่องมือ : แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม
3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : แสดงพฤตกิ รรมต่อการเรยี นรู้ด้วยความรบั ผดิ ชอบ รอบคอบ
มีวินัย ขยัน ประหยดั อดทนและทํางานรว่ มกับผอู้ ่นื ไดอ้ ย่าง
มคี วามสุข จะได้ 20 คะแนน
4. เกณฑ์การตดั สินการผ่าน : ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80
(ตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ 16 คะแนน)

องค์การและการจดั องค์การ 4

ณฐั ฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาปตั ตานี

แผนผังแสดงข้ันตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

75 ไม่ผ่านเกณฑ์

องค์การและการจดั องคก์ าร 5

ณฐั ฐาพร ส�ำนักเหยา | วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาปัตตานี

ลักษณะรายวิชา

ช่อื วชิ า การบรหิ ารงานคุณภาพในองคก์ าร (Quality Administration in Organization)
รหสั วิชา 3001-1001
หน่วยกติ 3-0-3
เวลาเรียน 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เปน็ จ�ำนวน 54 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรยี น
จุดประสงค์รายวิชา
1. เข้าใจเก่ียวกับการจัดการองค์การ หลักการบริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิต หลักการเพิ่ม
ประสิทธภิ าพการท�ำงาน และการประยุกต์ใช้ในการจดั การงานอาชพี
2. สามารถวางแผนการจดั การงานอาชพี โดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การจดั การองคก์ าร การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
ขององค์การ และกิจกรรมการบริหารงานคณุ ภาพและเพิ่มผลผลิต
3. มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ัยทด่ี ีในการจัดการงานอาชีพดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ รอบคอบ มวี นิ ัย ขยัน ประหยัด
อดทน และสามารถท�ำงานร่วมกัน
คำ� อธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การจดั องคก์ าร การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพขององคก์ าร การบรหิ ารงานคณุ ภาพและเพม่ิ ผลผลติ
การจดั การความเสย่ี ง การจดั การความขดั แยง้ ในองคก์ าร กลยทุ ธก์ ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน การนำ� กจิ กรรม
ระบบคณุ ภาพและเพมิ่ ผลผลติ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการงานอาชีพ
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการจัดการองค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิต การจัดการ
ความเสี่ยงการจดั การความขดั แยง้ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการทำ� งาน
2. วางแผนการจัดการองค์การ และเพมิ่ ประสิทธิภาพขององค์การตามหลักการ
3. ก�ำหนดแนวทางจดั การความเสยี่ ง และความขดั แย้งในงานอาชพี ตามสถานการณ์
4. เลือกกลยทุ ธ์เพ่อื เพ่มิ ประสิทธิภาพการทำ� งานตามหลกั การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลติ
5. ประยกุ ต์ใชก้ ิจกรรมระบบคณุ ภาพและเพมิ่ ผลผลติ ในการจดั การงานอาชพี

องค์การและการจดั องคก์ าร 6

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาปัตตานี
สาระการเรียนรู้
องค์การคือท่ีที่คนท�ำงานด้วยกันเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน (Common purpose) เป็น
ปรากฏการณ์ทางสังคมที่สามารถท�ำให้สมาชิกแต่ละคนท�ำงานมากกว่าการไปให้ถึงความส�ำเร็จของแต่ละคน
องคก์ ารทกุ ขนาดและทกุ รปู แบบจึงตอ้ งมีการจัดองคก์ ารเพ่ือแสดงให้เห็นถงึ ลักษณะของโครงสร้างองคก์ ารทจี่ ะ
ชว่ ยให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ที่กำ� หนดไว้ ดงั น้นั เมอ่ื กล่าวถงึ การจัดองคก์ าร จึงหมายถงึ ความพยามยามท่ผี ้บู รหิ าร
ก�ำหนดโครงสรา้ งขององคก์ ารทสี่ ามารถเอ้อื อ�ำนวยใหอ้ งค์การดำ� เนนิ ไปสู่ความสมั ฤทธ์ิผลทป่ี รารถนา
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายความหมายขององคก์ ารได้
2. บอกองค์ประกอบขององคก์ ารได้
3. จำ� แนกวตั ถปุ ระสงคแ์ ละประเภทองคก์ ารได้
4. อธิบายการจัดองค์การได้
5. บอกข้นั ตอนการจัดโครงสร้างองค์การได้
6. บอกลักษณะองค์การสมัยใหม่ได้

องคก์ ารและการจัดองคก์ าร 7

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาปตั ตานี
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)

กรอกข้อมูลผู้ท�ำแบบทดสอบเพื่อท�ำการ login

องคก์ ารและการจัดองค์การ 8

ณฐั ฐาพร สำ� นักเหยา | วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาปตั ตานี
คำ� ช้ีแจง: 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียนฉบับนมี้ จี ำ� นวน 10 ข้อ 4 ตัวเลอื ก คะแนนเตม็ 10 คะแนน
2. ให้นักศึกษาเลอื กคำ� ตอบทีถ่ กู ตอ้ งที่สุดเพยี งค�ำตอบเดียว
3. ทำ� ลงใน Google Form
1. องค์การหมายถึงกลุ่มของบุคคลทร่ี วมตัวกันและมีคณุ ลักษณะเฉพาะตามข้อใด
 ก. มีเปา้ หมายรว่ มกัน
 ข. ตอ้ งการแสวงหาผลประโยชนใ์ นสังคม
 ค. เปน็ การรวมตัวของบคุ คล สถานที่ และเงนิ ทนุ
 ง. มีอำ� นาจหน้าทใ่ี นการดำ� เนินงานเช่นเดยี วกันทัง้ องค์การ
2. องค์การทีเ่ นน้ การทำ� งานเปน็ ทีมหมายถึงองค์การตามขอ้ ใด
 ก. องค์การปจั จบุ นั
 ข. องคก์ ารแบบใหม่
 ค. องคก์ ารแบบด้งั เดิม
 ง. ถูกทกุ ข้อ
3. องค์ประกอบองค์การข้อใดส�ำคัญทีส่ ุด
 ก. คน
 ข. โครงสร้าง
 ค. เทคโนโลยี
 ง. ส่งิ แวดล้อม
4. มลู นิธิ จดั เป็นองค์การประเภทใด เมอื่ จ�ำแนกองค์การโดยยึดโครงสร้าง
 ก. Formal Organization
 ข. Primary Organization
 ค. Informal Organization
 ง. Non-Profit Organization
5. ขอ้ ใดไม่ใช่ความส�ำคัญของการจัดการองคก์ าร
 ก. เปน็ ทยี่ อมรับในสังคม
 ข. ช่วยลดการท�ำงานท่ีซ้�ำซอ้ นกัน
 ค. ชว่ ยสนับสนนุ ความส�ำเรจ็ ขององค์การ
 ง. เพิม่ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการดำ� เนินงาน

องค์การและการจัดองคก์ าร 9

ณัฐฐาพร ส�ำนักเหยา | วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาปตั ตานี
6. การก�ำหนดเพ่อื บอกให้รู้ว่าใครเป็นผู้บังคบั บญั ชา ใครตอ้ งรายงานใครเป็นหลกั การจัดองคก์ าร
ตามขอ้ ใด
 ก. แบง่ งานกันทำ�
 ข. ช่วงการบังคบั บญั ชา
 ค. สายการบังคับบญั ชา
 ง. การรวมอ�ำนาจและการกระจายอำ� นาจ
7. การจดั องค์การทด่ี ีสามารถลดปญั หาขอ้ ใดได้
 ก. ความขัดแย้งภายใน
 ข. การสื่อสารในองค์การ
 ค. ความเส่ียงจากภายนอก
 ง. การร้องเรยี นจากภายนอก
8. ข้อใดไมใ่ ช่กระบวนการจดั องค์การ
 ก. การมอบอำ� นาจ
 ข. การมอบหมายงาน
 ค. การจัดแผนกงานหรือกลุ่มงาน
 ง. ก�ำหนดโครงสรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละสายการบังคบั บญั ชา
9. หลักทว่ี า่ “งานที่เหมอื นกันควรจะรวมอยูด่ ว้ ยกัน” เป็นหลกั การจดั องค์การธรุ กจิ ขนั้ ตอนใด
 ก. การมอบหมายงาน
 ข. จัดวางความสัมพนั ธ์
 ค. ท�ำคำ� บรรยายลักษณะงาน
 ง. จัดกล่มุ งานและออกแบบงาน
10. การผลักดันให้บุคคลมีจุดประสงคร์ ่วมกันบนพน้ื ฐานของการเปน็ หุ้นสว่ น (Partner)
เปน็ องคป์ ระกอบใดในองค์การสมยั ใหม่
 ก. วิสยั ทัศนร์ ว่ ม (Shared vision)
 ข. รปู แบบความคดิ (Mental models)
 ค. การเรยี นรเู้ ป็นทมี (Team learning)
 ง. ความคดิ เปน็ ระบบ (System thinking)

องค์การและการจดั องค์การ 10

ณฐั ฐาพร สำ� นักเหยา | วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี
กระดาษคำ�ตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

ช่อื -นามสกุล..........................................................................เลขท.่ี .............
ระดบั ช้ัน.............................. สาขาวิชา...........................................................

ค�ำตอบ
ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

สรุปผลการทดสอบ

คะแนน หลงั เรยี น
เตม็ 10
ได้
เกณฑก์ ารประเมิน (ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60) สรุปผลการประเมนิ
รอ้ ยละ 60 ต้องไดค้ ะแนน 6 คะแนนขึ้นไป รวมคะแนน.........คะแนน

แปลผลการประเมนิ ผ่าน ไมผ่ ่าน
ได้คะแนน 6-10 คะแนน ถือวา่ ผา่ น (......................................)
ไดค้ ะแนน 1-5 คะแนน ถือว่า ไมผ่ ่าน
ผตู้ รวจ

องค์การและการจดั องคก์ าร 11

ณัฐฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาปัตตานี

ใบความรู้ท่ี

ความหมายองค์การ

องค์การ หมายถึง การท่ีคนสองคนข้ึนไปท่ีมารวมตัวกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
ร่วมกัน และในการท่ีจะให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกันน้ัน บุคคลเหล่านั้นจะต้องมีการแบ่งงาน
กันท�ำมีการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกันและกัน มีการติดต่อส่ือสารและมีการประสาน
งานกันอยู่ตลอดเวลา เพ่ือไปถึงเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ท่ีได้ร่วมกันก�ำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและ
มีประสิทธผิ ล (สมคดิ บางโม, 2558)

คุณลักษณะขององค์การ

องค์การแบง่ คณุ ลกั ษณะส�ำคญั ได้ 3 ประการไดแ้ ก่
1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (Distinct purpose)
โดยท่ีองค์กรควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนเพ่ือการด�ำเนินงานให้
ตรงเป้าหมายและวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ก�ำหนด
2. บคุ ลากร (People) มตี ง้ั แต่ 2 คนขึน้ ไปมารวมตัวกนั
เพอื่ ปฏบิ ัตหิ น้าที่ท่ีได้รบั มอบหมาย
3. มกี ารจดั โครงสรา้ ง (Deliberate structure) ทชี่ ดั เจน

ภาพที่ 1.1 คุณลกั ษณะขององค์การ

องคก์ ารและการจัดองคก์ าร 12

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วิทยาลยั อาชวี ศึกษาปัตตานี
1. วตั ถปุ ระสงค์ (objective) หรอื จดุ มงุ่ หมายในการกอ่ ตงั้ องคก์ ารทชี่ ดั เจนเพอ่ื เปน็ แนวทางในการ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหรือผลผลิตขององคก์ าร เช่น
วัตถุประสงคก์ ารกอ่ ตัง้ บริษัท โตโยต้า ผ้จู �ำหน่ายโตโยตา้ จำ� กดั
เพ่ือการจัดจ�ำหน่ายรถยนต์น่ังส่วนบุคคลและรถยนต์เพื่อการ
พาณิชย์ภายในประเทศไทย รวมถึงการให้บริการหลังการ
จำ� หนา่ ย เชน่ การซอ่ มบำ� รงุ รถยนต์ การใหส้ ทิ ธปิ ระโยชนพ์ เิ ศษ
และการใหบ้ รกิ ารอนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพือ่ ประโยชนแ์ ละความพึง
พอใจสูงสดุ ของลกู คา้ และบุคคลทั่วไป
(ทมี่ า : https://www.toyotathajean.co.th/2020/05/15)
2. โครงสร้าง (structure) องค์การจะต้องมีโครงสร้างที่ชัดเจน โดยมีการจัดแบ่งหน่วยงานภายใน
ตามหลักความชำ� นาญเฉพาะ มกี ารก�ำหนดอ�ำนาจหนา้ ทแี่ ละความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภายในองค์การ ตัวอยา่ งเชน่
โครงสร้างบรษิ ัทโตโยตา้ กรงุ ไทย ยูสคาร์

ที่มา : http://www.surekrungthai.com/about-us/
3. บุคคล (person) องค์การจะต้องมีความ
เกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลทง้ั ในลกั ษณะกลมุ่ คนทเี่ ปน็ สมาชกิ ภายใน
องค์การ ซ่ึงต้องปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย
และยังต้องเก่ียวข้องกับบุคคล ภายนอกองค์การ ซ่ึงได้แก ่
ผ้รู ับบริการและผใู้ ห้การสนบั สนุน

องคก์ ารและการจดั องคก์ าร 13

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาปตั ตานี
เมอื่ องคก์ ารดำ� เนนิ งานมาชว่ งระยะเวลาหนงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งองคก์ ารสามารถแบง่ ไดด้ งั น้ี

องค์การแบบดั้งเดิม (Traditional
organisation) มุ่งที่กฎ ระเบียบแบบแผน เพื่อ
จะได้ผลผลิตสูง และรวดเร็ว มองมนุษย์เสมือน
เครอ่ื งจักรกล (Mechanistic)

องคก์ ารแบบใหม่ (New organisation) เนน้
ท�ำงานเป็นทีม ให้ความส�ำคัญกับทักษะและเครือข่าย
อ�ำนาจการตัดสินใจอยู่ท่ีทีมงาน มีความยืดหยุ่นและ
ตอบสนองการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ และให้ความ
ส�ำคัญต่อสิง่ แวดลอ้ มรอบธุรกิจ

องคก์ ารแบบด้ังเดิม องค์การแบบใหม่
เน้นการสงั่ การ / ไมส่ นใจคน เนน้ การท�ำงานเป็นทมี / มคี วามยืดหยนุ่

องคก์ ารและการจดั องค์การ 14

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาปตั ตานี
ตารางที่ 1.1 การเปล่ยี นแปลงของการจัดองค์การแบบด้งั เดิมกับองค์การแบบใหม่

เพื่อให้เกิดการด�ำเนินงานขององค์การทันตามสถานะการณ์ องค์การควร
มีการปรับตัวตามสถานะการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป เพ่ือให้การด�ำเนินงานทันยุค
ทันสมัย เช่น ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กลายเป็นเคร่ืองมือท่ีส�ำคัญ
ทางการบริหารจัดการเน่ืองจากเทคโนโลยีสารสนเทศจะท�ำให้การปฏิบัติงาน
เกิดความสะดวก รวดเร็ว แม่นย�ำ และประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากยิ่งข้ึน

องค์การและการจดั องคก์ าร 15

ณฐั ฐาพร ส�ำนักเหยา | วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาปัตตานี
กิจกรรมท่ี 1 What is the organization?
จดุ ประสงค์กจิ กรรมการเรียนรู้
เพื่อให้นักศึกษาอธิบายความหมายขององค์การได้
คำ� ชี้แจง
ใหน้ กั ศึกษาจับค่กู ับเพื่อนนกั เรียนดว้ ยความสมคั รใจ
ขั้นตอนการท�ำกจิ กรรม
วเิ คราะหภ์ าพทกี่ ำ� หนดและแสดงความคดิ เหน็ วา่ มคี วามเปน็ องคก์ ารหรอื ไม่ อยา่ งไร
พรอ้ มอธิบาย ใชเ้ วลา 10 นาที
สมุ่ นักศึกษา 3 คู่ เพ่อื สรปุ ผลการวเิ คราะหร์ ปู ภาพและเปดิ โอกาสให้เพ่อื นนักศกึ ษา
ร่วมแสดงความคิดเห็น ใช้เวลาแสดงความคดิ เหน็ รูปภาพละ 3 นาที

องคก์ ารและการจัดองคก์ าร 16

ณฐั ฐาพร สำ� นักเหยา | วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาปตั ตานี
องคก์ ารและการจัดองค์การ 17

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาปตั ตานี

ใบความรู้ท่ี

องค์ประกอบขององค์การ

องค์ประกอบขององค์การ ก็ต้องมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกันอย่างเป็นระบบ ผู้บริหารคือ
ผมู้ หี น้าที่หลกั ในการวเิ คราะห์ สภาพแวดลอ้ มภายในองค์การ เพอื่ ใหท้ ราบจดุ แขง็ จุดอ่อน อุปสรรคหรือการ
วิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ มดว้ ยวิธกี ารเปรยี บเทยี บมาตรฐานกับคแู่ ขง่ อยา่ งละเอยี ด

รปู ภาพท่ี 1.2 องคป์ ระกอบขององค์การ

องค์การและการจัดองค์การ 18

ณฐั ฐาพร สำ� นักเหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาปัตตานี

องค์ประกอบขององค์การ

1. คน (Man) คือ องคป์ ระกอบที่ส�ำคญั ท่สี ดุ ขององค์การ
เนอื่ งจากคนเปน็ ผรู้ เิ รมิ่ ในการกอ่ ตงั้ องคก์ าร ถา้ ไมม่ คี นกไ็ มม่ อี งคก์ าร
ตลอดจนเป็นผทู้ ี่ดำ� เนนิ กิจกรรมตา่ งๆ ในองค์การ

2. เปา้ หมายหรือวตั ถุประสงค์ (Goal or Objective) เป็น
ส่ิงท่ีสมาชิกขององค์การร่วมกันก�ำหนดข้ึน เพ่ือวางแนวทางปฏิบัติที่
เปน็ มาตรฐานเดยี วกนั เชน่ ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ จำ� กัด เพ่ือท�ำการผลติ
เพือ่ ขาย ซง่ึ ภาชนะ ถว้ ยชาม ที่ท�ำจากพลาสตกิ เมลามนี โลหะ และ
วัสดุอ่ืนทุกชนิด เคร่ืองแก้ว รวมท้ังเคร่ืองเรือน เฟอร์นิเจอร์ เครื่อง
ใช้ เครอื่ งตกแตง่ เคร่อื งครัว เคร่ืองใช้สำ� นักงาน และช้ินส่วนอุปกรณ์
ดังกล่าวที่จากวัสดุทุกชนิด ยกเว้นการผลิตเคร่ืองทอง เคร่ืองเงิน
เคร่ืองถม และเครือ่ งทองลงหนิ
(ท่ีมา : http://www.srithaisuperware.com/th/corporate_gov-

องค์การและการจดั องคก์ าร 19

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปตั ตานี
3. โครงสร้าง (Structure) เป็นระบบความสัมพันธ์ของงาน ความรับผิดชอบและการใช้อ�ำนาจใน
การปฏิบัติงานขององค์การให้เกิดวามส�ำเร็จ แสดงด้วยแผนภูมิองค์การและหน้าท่ีซ่ึงเป็นกิจกรรมขององค์การ
จุดมุ่งหมายของการมีโครงสร้างองค์การก็เพ่ือให้การสั่งการและการประสานงานต่อการท�ำงานของพนักงานให้
บรรลเุ ปา้ หมายขององคก์ าร เชน่ โครงสรา้ งองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มหี นา้ ทจ่ี ดั บรกิ ารสาธารณะแกป่ ระชาชน
อำ� นาจสงั่ การโดยปลดั เทศบาล/อบต. ตามตัวอย่างดังน้ี

4. ขอ้ มูล ข่าวสาร และความรู้ (Data Message and Knowledge) ปัจจบุ ันเป็นยคุ ขอ้ มูลข่าวสาร
ที่ผู้คนทัง้ โลกสามารถตดิ ตอ่ สือ่ สารไดอ้ ยา่ งสะดวก ท�ำให้เกดิ ความรู้และพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลยี่ นแปลง
เชน่ เดยี วกบั ขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั องคก์ ารทคี่ นในองคก์ ารตอ้ งรเู้ พอื่ นำ� ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การกำ� หนด
เป้าหมายและการตัดสินใจ เชน่ ขอ้ มลู การวจิ ยั สถิตกิ ารเข้าออกของพนักงาน หรือสถติ ทิ ่เี กีย่ วข้องกบั องค์การ
เปน็ ตน้ (ทม่ี า : https://www.mtl-insure.com/article)

องคก์ ารและการจดั องค์การ 20

ณฐั ฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาปัตตานี
5. เทคโนโลยี (Technology) เทคโนโลยีได้
ถกู นำ� เขา้ มาใชภ้ ายในองคก์ าร และสง่ ผลใหก้ ระบวนการ
ท�ำงานได้เปลี่ยนรูปแบบไป ท้ังการเปลี่ยนแปลง
ในระดับเล็กน้อยถึงระดับระดับส�ำคัญ ตัวอย่าง
เช่น การน�ำเอาเทคโนโลยีไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
(eletronics mail) เข้ามาใช้ภายในองคก์ าร ทำ� ใหก้ าร
สง่ ขา่ วสารรวดเรว็ ขนึ้ ตลอดจนลดการใชก้ ระดาษทตี่ อ้ ง
พมิ พข์ า่ วสารและสามารถสง่ ขา่ วสารไปถงึ บคุ คลทต่ี อ้ งการไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก รวดเรว็ และชว่ ยลดดกระดาษ หรอื
เทคโนโลยสี ำ� นกั งานอตั โนมตั ิ (Office Automation) ทเี่ ปลย่ี นรปู แบบของกระบวนการทำ� งานและประสานงาน
ในองคก์ ารใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพดยี ่งิ ข้นึ และเป็นเคร่อื งมอื ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพในการบริหารงานของผู้บรหิ ารในระดบั
ตา่ งๆ ขององค์การใช้

6. สงิ่ แวดลอ้ มขององคก์ าร (Environment) เปน็ องค์
ประกอบท่ีมีผลกระทบต่อองค์การไม่ว่าจะเป็นส่ิงแวดล้อมทาง
กายภาพ การเมอื ง เศรษฐกจิ สังคม ชุมชน วัฒนธรรม เทคโนโลยี
ดังนั้น องค์การจะต้องมีการปรับเปล่ียนการบริหารงานเพ่ือให้
สอดคลอ้ งและทนั ตอ่ สภาพการณ์สิง่ แวดล้อมทเ่ี ปลี่ยนไป

องค์ประกอบโดยรวมทั้ง 6 ส่วนอย่างบูรณาการ ภายใต้การเปล่ียนแปลง
ของสภาพแวดล้อมภายนอกขององค์การ ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ียนแปลงทางด้าน
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง คู่แข่งขันและเทคโนโลยี ตลอดจนกระแสโลกาภิวัตน์
ต่าง ๆ ของโลกในปัจจุบันและอนาคต

องคก์ ารและการจดั องคก์ าร 21

ณฐั ฐาพร ส�ำนักเหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาปัตตานี
ตัวอย่าง
บริษัท อเด็คโก้ ประเทศไทย เป็นองค์กรท่ีมีคนสนใจเข้าท�ำงานอย่างมาก ได้สรุปสถานการณ์
ตลาดแรงงาน (2012) พบวา่ ปจั จัยสําคญั ในการเลือกสมคั รงาน คอื โครงสรา้ งอค์กร ชื่อเสียงขององคก์ ร
ต้องดี น่าเชื่อถือ และเป็นบริษัทข้ามชาติ สิ่งที่จะทําให้คนทํางานมีความสุขมากท่ีสุดคือ บรรยากาศที่
ทํางานต้องดีไม่เฉพาะแค่การตกแต่งสํานักงานแต่รวมไปถึงผู้ร่วมงาน วัฒนธรรมองค์กรด้วย ต้องการมี
อสิ ระในการทาํ งาน โดยความรู้คอมพวิ เตอรพ์ ้นื ฐานทค่ี วรมี คือ ทกั ษะในโปรแกรม MS Office และความ
รดู้ ้านภาษา

(ข้อมลู จาก: อาชีพ 2012 http://blog.eduzones.com)

องคก์ ารและการจดั องคก์ าร 22

ณฐั ฐาพร สำ� นักเหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปัตตานี
กิจกรรมท่ี 2 วิเคราะห์องค์ประกอบองค์การ
จุดประสงคก์ จิ กรรมการเรียนรู้
เพือ่ ให้นักศึกษาบอกองคป์ ระกอบขององคก์ ารได้
ค�ำชแี้ จง
ให้นกั ศกึ ษาจับคู่กับเพ่อื นนกั เรยี นดว้ ยความสมัครใจ
ขัน้ ตอนการทำ� กิจกรรม
สรุปองค์ประกอบขององคก์ ารวา่ ประกอบด้วยอะไรบ้างลงในภาพ ใชเ้ วลา 10 นาที
อธบิ ายองคป์ ระกอบว่าแตล่ ะองค์ประกอบมีความส�ำคญั อยา่ งไรตอ่ องคก์ าร
สุ่มนักศึกษา 2-3 คู่ เพ่อื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และเปดิ โอกาสให้เพือ่ นรว่ มแสดงความคดิ เห็น
ใชเ้ วลา 5 นาที

องค์การและการจัดองคก์ าร 23

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาปตั ตานี

ใบความรู้ท่ี

วัตถุประสงค์และประเภทองค์การ

วตั ถปุ ระสงคข์ ององค์การ มี 2 ลักษณะ ดงั นี้
1. วตั ถปุ ระสงค์ขององค์การโดยทวั่ ไป
1.1 เพื่อสรา้ งคณุ ค่าท่ีปรารถนาใหส้ ังคม
1.2 เพ่อื ตอบสนองความต้องการของกลมุ่ คนองคก์ าร
1.3 เพื่อทําใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารหรือลกู คา้ พอใจ
1.4 เพอ่ื ใหผ้ ลผลิตขององค์การมคี ุณภาพสูง
1.5 เพอ่ื ใหม้ กี ารลงทุนหรือขยายกจิ การเพิ่ม
1.6 เพื่อใหห้ น่วยงานนั้นทาํ งานอย่างมีประสทิ ธิภาพ
1.7 เพอ่ื ความเจรญิ และการดาํ รงอยู่ได้ขององค์การ
2. วัตถุประสงค์ขององคก์ ารธุรกิจ
องค์การธุรกิจมีวัตถุประสงค์ในการ
ผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร เพอื่ ไปแลกเปลย่ี นเปน็
ตวั เงนิ ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ แก่
สังคม ดังน้ี

องค์การและการจัดองค์การ 24

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาปตั ตานี
1. ทางเศรษฐกจิ หรือก�ำไร
การสร้างผลก�ำไรจากการด�ำเนินงานตามปกติ
โดยมีจุดประสงค์เพ่ือเพิ่มความม่ังคั่งของเจ้าของให้มาก
ท่ีสุด
2. การใหบ้ ริการ
เพ่ือให้เกิดความผูกพันกับลูกค้าในระยะยาว
เกดิ ลกู ค้าซ้ือซ�้ำ บอกตอ่ รวมทั้งเกดิ ยอดขายที่สูงข้ึน เชน่
ไปรษณีย์ไทย ธนาคาร ธุรกจิ ใหบ้ ริการเครอื ข่าย
3. ทางสังคม
มีจุดประสงค์หลักเพ่ือส่งเสริมผลประโยชน์
สาธารณะมากกวา่ ทำ� กำ� ไร เช่น การให้ทนุ การศกึ ษา
ประเภทขององค์การ
สามารถจำ� แนกประเภทขององค์การโดยยึดหลัก ดังนี้
1. การจ�ำแนกองค์การโดยยึดการเกิด สามารถแบง่ ได้ 2 ประเภทดังนี้ (ชาริณี ใจเอือ้ , 2559)
1.1 องค์การแบบปฐม (Primary Organization) หมายถงึ องค์การทเ่ี กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ ได้แก่
ครอบครัว ศาสนา หมบู่ ้าน ชมุ ชน เปน็ ตน้
1.2 องคก์ ารแบบมธั ยม (Secondary
Organization) เป็นองค์การที่มนุษย์ได้จัดตั้งขึ้น เพ่ือให้สมาชิกมีความสัมพันธ์กันอย่างมีเหตุผล ได้แก่
หน่วยงานราชการ ห้างหุ้นสว่ น บริษัท สมาคม สโมสร โรงเรยี น โรงพยาบาล เป็นต้น

องคก์ ารและการจัดองคก์ าร 25

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปัตตานี
2. การจ�ำแนกองคก์ ารโดยยึดโครงสร้าง สามารถจำ� แนกได้ ดังนี้
2.1 องค์การแบบเปน็ ทางการ (Formal Organization) หรือองคก์ ารรปู นัย เปน็ องคก์ ารทม่ี ีการ
จัดโครงสร้างอย่างเปน็ ระเบียบแบบแผนแนน่ อน เชน่ บริษัท มูลนธิ ิ หนว่ ยราชการ กรม โรงพยาบาล โรงเรียน
ฯลฯ องคก์ ารในลักษณะนีภ้ าครัฐที่เรยี กว่า “ระบบราชการ (Bureaucracy)”
2.2 องค์การแบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization) หรือองค์การอรูปนัย องค์การ
ประเภทน้เี ปน็ องค์การทไี่ มม่ โี ครงสรา้ ง ไม่มรี ะเบียบและกำ� หนดกฎเกณฑ์ เชน่ ชมรมต่าง ๆ หรอื กลุม่ ต่าง ๆ

สรุปได้ว่า สาเหตุท่ีต้องมีองค์การก็เป็นเพราะว่ามนุษย์ทุกคนท่ีเกิดมาในโลกน้ี
ล้วนเป็นผู้ท่ีมีความต้องการไม่มีท่ีส้ินสุด ไม่ว่าจะเป็นความต้องการทางด้านปัจจัย
ส่ี ตลอดจนถึงความต้องการในสินค้าและบริการ ดังนั้นมนุษย์จึงจ�ำเป็นต้องมี
การรวมกลุ่มกัน และก่อตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อท�ำหน้าที่ผลิตสินค้าและบริการ และ
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่แตกต่างกันซ่ึงมีอยู่อย่างไม่มีที่ส้ินสุด

องคก์ ารและการจัดองค์การ 26

ณัฐฐาพร ส�ำนักเหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปตั ตานี
กิจกรรมท่ี 3 Kahoot Game
จดุ ประสงค์กจิ กรรมการเรียนรู้
เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษาจำ� แนกวตั ถุประสงค์และประเภทองคก์ ารได้
คำ� ชแี้ จง
- ให้นกั ศกึ ษาเล่นเกมส์ Kahoot เป็นรายบุคคล โดยใช้เวลา 10 นาที
- ครเู ปน็ ผู้อ�ำนวยการแขง่ ขันตามข้นั ตอนการเล่นเกมส์
ข้ันตอนการท�ำกิจกรรม
ให้นักศึกษาเตรียมความพร้อมเขา้ ใช้งาน เกมส์ kahoot โดยเข้าเวบ็ ไซต์ Kahoot.it โดยใช้อุปกรณใ์ ด
ก็ได้ เช่น มือถอื โนต้ บคุ๊
ใหน้ กั ศกึ ษาใสห่ มายเลข PIN ตามท่ีข้ึนหน้าจอโปรเจคเตอร์
กำ� หนดช่ือจรงิ หรือชอ่ื เล่น
เมื่อชื่อปรากฏข้ึนหน้าจอ ให้นักศึกษาเตรียมความพร้อมในการตอบค�ำถาม เร่ืองวัตถุประสงค์และ
ประเภทขององคก์ ร จำ� นวน 10 ขอ้ ในเกมสจ์ ะปรากฎคำ� ถามและรปู ภาพและตวั เลอื ก 4 ตวั เลอื กบนหนา้ จอหลกั
ทีละข้อ
ใหน้ กั ศกึ ษากดเลอื กค�ำตอบทถ่ี กู ตอ้ งทีส่ ดุ เพยี งค�ำตอบเดียว
ขณะเล่นเกมส์ นักศึกษาต้องมองที่หน้าจอโปรเจคเตอร์หรือหน้าจอมือถือหรืออุปกรณ์ที่ใช้ โดย
แตล่ ะขอ้ เกมส์จะกำ� หนดเวลาในการตอบหากขอ้ ใดท่ีนักศกึ ษาตอบไมท่ นั จะไม่ได้รบั คะแนนในขอ้ นั้น
เมื่อนักศึกษาเลือกตอบในแต่ละข้อแล้ว คะแนนจะปรากฏหน้าจอโดยเรียงล�ำดับชื่อตามคะแนนที่ได้
สูงสุดตามล�ำดบั ทง้ั นคี้ ะแนนจะขนึ้ อยู่กบั ระยะเวลาในการตอบดว้ ย

องคก์ ารและการจดั องคก์ าร 27

ณฐั ฐาพร สำ� นักเหยา | วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาปัตตานี

ใบความรู้ท่ี

การจัดองค์การ

การจดั องคก์ ารเปน็ งานทดี่ ำ� เนนิ มาตอ่ เนอื่ งจากการวางแผน เปน็ ความพยายามทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ลกั ษณะ
ของโครงสร้างองค์การที่จะช่วยให้แผนท่ีได้จัดไว้ประสบความส�ำเร็จ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง การจัดองค์การ จึง
หมายถึงความพยามยามท่ีผู้บริหารก�ำหนดโครงสร้างขององค์การท่ีสามารถเอื้ออ�ำนวยให้แผนท่ีจัดท�ำขึ้นไปสู่
สัมฤทธ์ผิ ลทีป่ รารถนาดงั น้ันการจดั องค์การอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับลกั ษณะขององค์การ
การจัดองค์การ (Organizing) หมายถงึ การจัดระบบความสัมพนั ธร์ ะหว่างสว่ นงานตา่ ง ๆ และบคุ คล
ในองคก์ าร โดยกำ� หนดภารกจิ อำ� นาจหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบใหช้ ดั แจง้ เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานตามภารกจิ ของ
องค์การบรรลุวตั ถุประสงค์และเปา้ หมายอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ความส�ำคญั ของการจัดองคก์ าร
การจัดการเป็นกระบวนการท่ีมีความสลับซับซ้อน เพราะโดยกระบวนการน้ันผู้จัดการหรือนักบริหาร
จะต้องท�ำกิจกรรมหลายอย่าง ได้แก่ การประสานการปฏิบัติงานกับบุคคลตามทรัพยากรที่มีอยู่ นอกจากน้ี
สภาพแวดล้อมทางการแข่งขนั ทางธุรกิจ และการบรหิ ารองค์การในปัจจุบนั ไดเ้ ปลีย่ นแปลงไปมาก ท้งั นีเ้ ป็นผล
มาจากการพัฒนาอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ท�ำให้การติดต่อส่ือสารเป็นไปอย่างรวดเร็วและมี
ประสทิ ธภิ าพ ดงั นน้ั การจดั การจงึ เปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทนี่ กั บรหิ ารจำ� เปน็ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั ตรวจสอบตดิ ตาม ปรบั ปรงุ
แก้ไขให้ทันต่อสภาวการณ์อย่ตู ลอดเวลา

องค์การและการจดั องค์การ 28

ณัฐฐาพร สำ� นักเหยา | วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาปัตตานี
ตัวอย่าง
บรษิ ทั อารเ์ อส จาํ กดั (มหาชน) ไดป้ รบั เปลย่ี นโครงสรา้ งการบรหิ ารธรุ กจิ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั การ
ทาํ งานและเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั รวมถึงการผลติ ธรุ กจิ สื่อที่ตอบโจทย์ความต้องการของผบู้ รโิ ภค เน่ืองจาก
พฤติกรรมของผู้บริโภคไดม้ กี ารเปล่ยี นแปลงควบคกู่ ับเทคโนโลยีอยตู่ ลอดเวลา การบรหิ ารของบรษิ ทั อาร์
เอส จํากดั (มหาชน) จึงประกอบไปด้วยปจั จัยสําคญั อันได้แก่
1. การบรหิ ารจัดองค์กร เพ่อื การทํางานทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพของบรษิ ทั รวมถงึ การแบ่งหนา้ ท่ี
2. การพัฒนาธุรกจิ เพลง จากเดมิ ทต่ี ้นทนุ สงู เปลีย่ นมาใช้การดาวนโ์ หลดดจิ ิตอลเพอ่ื ลดตน้ ทุน
3. การพัฒนาธุรกจิ สือ่ ทท่ี ันสมยั เพอ่ื ตอ่ ยอดธรุ กิจเพลงจากเดิมท่เี ป็นธรุ กิจต้นนํ้า
4. การสร้างภาพลกั ษณ์องค์กร เพ่ือพฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีคณุ ภาพและเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีตอ่ สงั คม
5. กำ� หนดนโยบายในอนาคต เพอ่ื คาดสถานการณแ์ ละวางแผนงานใหส้ อดคลอ้ งกับอนาคต จาก
การวิเคราะห์ขอ้ มูล เพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพการทาํ งาน

องคก์ ารและการจัดองค์การ 29

ณัฐฐาพร ส�ำนักเหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปัตตานี
หลกั การจัดองคก์ ารที่ดี
อนิวัช แก้วจำ� นงค์ (2552 : 123 - 125) ไดเ้ สนอแนวคิดวา่ หลักการจดั องค์การทีด่ คี วรมีวัตถปุ ระสงค์
เอกภาพในการบงั คบั บญั ชา สายบงั คบั บญั ชา การแบง่ งานกนั ทำ� ตามความเชย่ี วชาญเฉพาะ การกำ� หนดลกั ษณะ
ของงาน การใชอ้ �ำนาจ หน้าทแี่ ละความรับผิดชอบ ชว่ งการบังคบั บัญชา การติดตอ่ สอ่ื สาร ความยดื หยนุ่ ความ
ตอ่ เนอ่ื ง การจำ� แนกหนา้ ท่ีสายงานหลกั และสายงานท่ีปรึกษา ซงึ่ จะตอ้ งครอบคลมุ การจัดงาน จัดคน อุปกรณ์
และวัสดสุ งิ่ ของทัง้ หมด โดยเรมิ่ จาก
1. โครงสร้างองค์การ บอกถึงการจัดแบ่งงานหรือจัดส่วนงาน เส้นทางการเดินของงาน รูปแบบการ
ประสานระหว่างส่วนงาน การสอื่ สาร สายบังคับบญั ชา

2. การแบง่ งานกันท�ำ (DIvision of Work) การแบง่ แยกภาระหนา้ ทอี่ อกเป็นส่วน ๆ เพ่อื แยกลกั ษณะ
การท�ำงานตามลักษณะเฉพาะ เพ่ือความถนดั เช่ียวชาญในงานด้านนน้ั

(ทีม่ า : http://woodworkinginthai.blogspot.com/2013/)

องค์การและการจดั องค์การ 30

ณัฐฐาพร ส�ำนักเหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาปัตตานี
3. สายการบงั คบั บญั ชา (Chain of Command) เปน็ การกำ� หนดเพอ่ื บอกใหร้ วู้ า่ ใครเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชา
ใครตอ้ งรายงานใคร โดยทุกคนต้องมีผูบ้ ังคบั บัญชาเพยี งคนเดยี ว
4. ช่วงการบงั คับบัญชา (Span of Control) เปน็ การก�ำหนดของเขตบังคบั บญั ชาวา่ ผู้บังคับ บัญชา
คนหนงึ่ จะควบคมุ ดแู ลผปู้ ฏบิ ตั งิ านไดก้ คี่ น ถา้ ชว่ งบงั คบั บญั ชาแคบ ผบู้ งั คบั บญั ชามผี ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาไมม่ ากอาจ
ทำ� ใหส้ ว่ นงานมากขึ้น ระดบั ช้ันบรหิ ารกม็ ากขึน้ เช่นกนั แต่ถา้ ชว่ งการบงั คบั บัญชากวา้ งก็จะสง่ ผลตรงกันขา้ ม

องคก์ ารและการจดั องคก์ าร 31

ณฐั ฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาปตั ตานี
5. การรวมอำ� นาจและการกระจายอ�ำนาจ (Centralization and Decentralization) เปน็ การ
ก�ำหนดอ�ำนาจการตัดสินใจในการบริหารว่าจะรวมอยู่ที่ผู้บริหารรับสูงเพียงจุดเดียว หรือกระจายไปยังผู้
บริหารระดับรองลดหลน่ั ลงไปไดร้ ่วมตัดสินใจ

ตัวอย่างเช่น

บรษิ ทั ก. มปี ระธานบรษิ ทั เปน็ ผมู้ อี ำ� นาจการตดั สนิ ใจในทกุ ๆ เรอื่ ง ดงั นนั้ หนว่ ยงานหรอื สาขาตอ้ งรอ
การอนมุ ตั โิ ครงการจากทา่ นประธานกอ่ นถงึ จะทำ� งานได้ ทำ� ใหใ้ นบางครงั้ เกดิ ความลา่ ชา้ ในการทำ� งานบรษิ ทั
ข. ประธานบรษิ ทั มกี ารกระจายอำ� นาจในการตดั สนิ ใจบางเรอ่ื ง ใหก้ บั ผจู้ ดั การสาขาไดม้ อี ำ� นาจในการตดั สนิ
ใจโดยตรง ไมต่ อ้ งรอคำ� สง่ั จากประธาน ทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ โครงการหลายโครงการเสรจ็ สน้ิ ทนั กำ� หนดการและ
มีความราบร่นื

องค์การและการจดั องคก์ าร 32

ณัฐฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาปัตตานี
6. การจดั ระเบยี บแบบแผนการทำ� งาน (Formalization) เปน็ การกำ� หนดระเบยี บแบบแผนการทำ� งาน
ท่เี ปน็ มาตรฐานสำ� หรับผู้ปฏิบตั ิงานใหย้ ึดถือ เชน่ คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน ขอ้ บังคบั ในการท�ำงาน

โดยสรุป หลัการจัดองค์การเป็นการจัดระเบียบการปฏิบัติงานตามแผนงานและโครงสร้างท่ีองค์การ
วางไว้ มีการมอบหมายงานให้คนปฏิบัติงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงานท่ีตั้งไว้ตามความมุ่งหมายของ
องค์การ

ปัจจุบันสภาวการณ์ความไม่แน่นอนและกระแสโลกาภิวัตน์ เป็นสิ่งที่ท้าทายความสามารถ
ของผู้จัดการในองค์การเป็นอย่างมาก ซึ่งผู้จัดการจะต้องด�ำเนินงานตามกระบวนการ
จัดการ ประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์การ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การ
อ�ำนวยการและการควบคุม ซ่ึงต้องด�ำเนินงานอย่างรอบคอบโดยอาศัยกระบวนการจัด
องค์การที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ

องค์การและการจัดองคก์ าร 33

ณัฐฐาพร สำ� นกั เหยา | วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาปัตตานี

ใบความรู้ท่ี

ขั้นตอนการจัดองค์การ

ขั้นตอนการจัดองค์การ มีขั้นตอนการปฏิบัติส�ำหรับการจัดองค์การซ่ึงมีกิจกรรมการปฏิบัติที่มีความ
แตกต่างกันบ้างหรือมีความสอดคล้องกันบ้าง ซึ่งจะได้น�ำมาเสนอเพ่ือให้ได้ศึกษามีการก�ำหนดโครงสร้างของ
งาน คือ การจดั หมวดหมู่ แบง่ กล่มุ และจดั แบ่งประเภทของงาน โดยอาศัยนโยบายและวตั ถุประสงคข์ องงาน
เปน็ เกณฑก์ ำ� หนดขอบเขตของอ�ำนาจหน้าที่ โดยพิจารณาถึงความรู้ ความสามารถ ความถนัดของผปู้ ฏบิ ัติงาน
เป็นพนื้ ฐาน

ภาพที่ 1.3 หลกั การจดั องคก์ ารทีด่ ี

องคก์ ารและการจดั องค์การ 34

ณฐั ฐาพร ส�ำนักเหยา | วิทยาลยั อาชีวศึกษาปัตตานี
การจัดองค์การให้มปี ระสิทธภิ าพนน้ั สามารถจัดเบื้องต้นไว้ 3 ประการดังนี้
ขน้ั ท่ี 1 การกำ� หนดรายละเอยี ดของตำ� แหน่งงาน

ขน้ั ท่ี 2 การมอบหมายงาน ใหแ้ ต่ละคนในองคก์ ารรับผิดชอบตามความเหมาะสม

ขั้นที่ 3 การประสานงาน เมอื่ ได้แบ่งงานใหแ้ ต่ละฝ่ายแต่ละแผนกแลว้

องค์การและการจดั องค์การ 35

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วิทยาลัยอาชีวศึกษาปตั ตานี
กระบวนการจัดองค์การควรมีขน้ั ตอนดังนี้
1) การจัดแผนกงานหรอื กลุม่ งาน
2) ก�ำหนดโครงสรา้ งความสมั พนั ธ์ และสายการบังคบั บญั ชา
3) การมอบหมายงาน

ภาพท่ี 17 ขั้นตอนการจัดองคก์ าร

สรุปได้ว่า ขึ้นตอนการจัดองค์การควรมีขั้นตอน คือ การก�ำหนดรายละเอียด
ต�ำแหน่งงาน จัดแผนกงานหรือกลุ่มงาน โดยการรวมกลุ่มของงานท่ีมีลักษณะคล้าย
กันหรือสัมพันธ์กัน และก�ำหนดขอบเขตของอ�ำนาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ทุกภาระ
งานให้ชัดเจน ก�ำหนดโครงสร้างความสัมพันธ์ และสายการบังคับบัญชา โดยก�ำหนด
ความสัมพันธ์ในงานระหว่างโครงสร้างของงานกับอ�ำนาจหน้าท่ีต่างๆ ให้เข้า ด้วยกัน
การมอบหมายงานเป็นการก�ำหนดความรับผิดชอบ และอ�ำนาจหน้าที่แก่ผู้อยู่ใต้บังคับ
บัญชา โดยมอบหมายภาระงานให้บุคลากรตามความเหมาะสม และประสานงานกับ
หน่วยงานอ่ืนๆ ที่เชื่อมโยงกับงานตนเอง โดยควรให้ทุกคนได้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม
ไม่มากหรือน้อยเกินไป

องคก์ ารและการจัดองค์การ 36

ณฐั ฐาพร ส�ำนกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปตั ตานี
การจัดองคก์ ารธุรกิจ
ธรุ กจิ เปน็ องคก์ ารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สนิ คา้ บรกิ าร หรอื ทง้ั สนิ คา้ และบรกิ ารแกผ่ บู้ รโิ ภค เปน็ การนำ� ทรพั ยากร
ทางธรรมชาติมาใช้ ปรับเปล่ียนแปรรูปให้กลายเป็นสินค้า เพื่อตอบสร้างความต้องการหรือ จ�ำเป็นของลูกค้า
ด�ำเนินกิจกรรมซ่ึงเกี่ยวข้องกับการผลิต ซ้ือขาย แลกเปล่ียน และให้บริการ โดยหวังได้ผลก�ำไรเป็นแรงจูงใจ
ในการประกอบธรุ กิจ
ประเภทของธุรกจิ
เราสามารถจ�ำแนกประเภทธุรกจิ ออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะธุรกจิ น้ัน ๆ ดงั น้ี
1. ธุรกิจอุตสาหกรรม ได้แก่ การประกอบธุรกิจท่ีมุ่งผลิต แปรรูป
และหลอ่ หลอมวัตถุดบิ ใหเ้ ปน็ สินค้าหรือผลิตภัณฑต์ า่ ง ๆ เชน่ ยา อาหาร เส้อื ผา้
เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ์ เป็นต้น

2. ธุรกิจการค้า ได้แก่ การประกอบธุรกิจท่ีมุ่งซื้อมาแล้ว
ขายไป คือ การน�ำสินค้าจากผู้ผลิตหรือโรงงานมาจ�ำหน่ายผู้บริโภค เช่น
หา้ งสรรพสินคา้ ซปุ เปอรม์ าเก็ต เป็นตน้
3. ธุรกิจบริการ ได้แก่
การประกอบการธุรกิจซึ่งมุ่งเสนอขายบริการในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือให้ความ
สะดวกสบาย ความสนุกสนานาบันเทิง หรือความปลอดภัยให้แก่ลูกค้า
โดยเรียกเก็บค่าบริการเป็นการตอบแทน เช่น ร้านเสริมสวย ร้านซ่อมรถ
โรงแรม โรงหนัง เปน็ ตน้
รูปแบบขององคก์ ารธรุ กิจ
การประกอบธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจการค้า หรือธุรกิจบริการก็ตาม ผู้ประกอบ
ธุรกิจควรเลือกรูปแบบการประกอบธุรกิจให้เหมาะสมกับความต้องการและสภาพแวดล้อมให้มากท่ีสุด
ซ่ึงในท่ีนี้จะกล่าวถึงรูปแบบของการประกอบธุรกิจโดยสรุป เพื่อเป็นการทบทวนก่อนท่ีจะศึกษาโครงสร้างของ
องคก์ ารธรุ กิจ
1. การประกอบการโดยเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship) ได้แก่
ร้านอาหาร ร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้า ร้านตัดเสื้อผ้า เป็นต้น มีลักษณะส�ำคัญ
คือ มีเจ้าของคนเดียวเป็นผู้ลงทุน ได้ก�ำไรแต่เพียงผู้เดียว รับผิดชอบในหน้ีสิน
โดยไม่จำ� กดั เจ้าของและธรุ กจิ มีฐานะทางกฎหมายเปน็ หน่งึ เดยี วกัน

องคก์ ารและการจัดองค์การ 37

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วิทยาลัยอาชวี ศึกษาปัตตานี
2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) ห้างห้นุ สว่ นเปน็ การประกอบธุรกจิ
ท่ีมีคนต้ังแต่ 2 คน ขึ้นไป ท�ำสัญญาร่วมลงทุน เพ่ือแสวงหาก�ำไรร่วมกัน
จะลงทนุ คนละเท่าไหรก่ ็ได้แลว้ แตจ่ ะตกลงกนั แบ่งเป็น 2 ประเภทดงั นี้
2.1 ห้างหนุ้ สว่ นสามญั
2.2 ห้างหุ้นส่วนจำ� กดั

3. บรษิ ทั จำ� กดั (Corpotation)
เปน็ การประกอบธรุ กจิ ทม่ี กี ารลงทนุ โดยแบง่ ทนุ ออกเปน็ หนุ้ ทมี่ ลู คา่
เทา่ ๆกนั กฎหมายกำ� หนดใหม้ คี ณะกรรมการบรษิ ทั เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ
การดำ� เนนิ ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดใหญม่ กั จดั ขนึ้ ในรปู ของบรษิ ทั
จ�ำกัด เชน่ ธนาคาร โรงงาน หา้ งสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ เปน็ ตน้
การจดั โครงสร้างองค์การธรุ กิจ
1. พิจารณาแยกประเภทงาน จัดกลุ่มงานและออกแบบงาน ส�ำหรับผู้ท�ำงาน ผู้บริหารจะต้อง
พิจารณาตรวจสอบแยกประเภทดูว่า กิจการของตนนั้นมีงานอะไรบ้างท่ีจะต้องจัดท�ำเพ่ือให้กิจการได้รับผล
ส�ำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ ขั้นต่อมาก็คอื การจดั กลุม่ งานหรือจำ� แนกประเภทงานออกเปน็ ประเภท โดยมหี ลกั ทวี่ ่า
งานทเี่ หมือนกันควรจะรวมอยูด่ ้วยกัน เพ่อื ให้เป็นไปตามหลักการของการแบ่งงานกันทำ� โดยการจดั จำ� แนกงาน
ตามหน้าท่ีแต่ละชนิดออกเป็นกลุ่มๆ ตามความถนัด และตามความสามารถของผทู้ ่จี ะปฏบิ ัติ เช่น
1.1 ฝา่ ยบรหิ าร
1.2 ฝ่ายผลติ
1.3 ฝา่ ยการเงิน
1.4 ฝ่ายการตลาด
1.5 ฝา่ ยบุคคล
เป็นต้น

องค์การและการจดั องค์การ 38

ณัฐฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาปัตตานี
2. ทำ� คำ� บรรยายลกั ษณะงาน (Job Description & Delegation of Authority & Responsibility)
เป็นการระบุขอบเขตของงานและมอบหมายงาน พร้อมท้ังก�ำหนดความรบั ผิดชอบ และให้อำ� นาจหน้าท่ี เช่น

ตำ�แหนง่ /กลมุ่ งาน ลกั ษณะสำ�คญั

ผ้จู ดั การ เปน็ ผ้บู รหิ ารสูงสดุ ขององค์การ มีหนา้ ท่กี ำ�หนดนโยบาย เป้าหมายและ
วางแผนการดำ�เนนิ งาน รับผิดชอบงานทกุ ฝ่าย ถา้ เปน็ บริษัทจำ�กดั ขนาดใหญ่
เช่น ธนาคาร โรงแรม หรอื หา้ งสรรพสนิ คา้ ใหญ่ ๆ ผู้บรหิ ารสูงสุดอาจจะเปน็
ประธานกรรมการ หรือประธานกรรมการบริหารหรอื ผจู้ ดั การใหญ่ แลว้ แต่
ขนาดของกิจการนัน้ ๆ

ฝ่ายบริหารหรอื ฝ่ายสำ�นักงาน เป็นศูนยก์ ลางของการส่ังการขององค์การ เปน็ ที่รวมของหวั หนา้ ฝ่ายตา่ งๆ
เอกสารและใบส่ังซื้อ ตลอดจนงานสารบรรณตา่ ง โดบปกติแลว้ ถ้าเป็น
บรษิ ทั ไมใ่ หญ่นัก ฝ่ายการเงินและฝ่ายบคุ คลจะรวมอยใู่ นฝายบริหาร

ฝา่ ยผลติ เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ในการผลิตสินค้าหรือบริการให้แก่องค์การ
ที่ประกอบธรุ กจิ อตุ สาหกรรมและธุรกจิ บริการ ฝา่ ยผลิตจะตอ้ งผลิตสินคา้
ที่มีคุณภาพตรงกบั ความต้องการของตลาด และผลิตใหท้ ันตอ่ การจำ�หน่าย
สำ�หรับธุรกจิ การค้าฝา่ ยผลติ อาจจะเปล่ยี นเป็นฝ่ายจัดซือ้

ฝา่ ยการเงิน ธุรกจิ จะตอ้ งเก่ียวข้องกบั การเงนิ ตลอดวเลาและมีปรมิ าณมาก ในวนั หนึ่งๆ
ฝ่ายการเงนิ มีหน้าทีร่ ับจ่ายเงนิ เกบ็ รกั ษาเงิน ทำ�บญั ชแี ละหลกั ฐานการเงนิ
ต่างๆ

ฝา่ ยการตลาดหรอื ฝา่ ยขาย มคี วามสำ�คญั มากสำ�หรบั ธุรกจิ ทกุ ประเภท กจิ การจะมีกำ�ไรหรือตง้ั อยู่ได้
ฝ่ายการตลาดจะเปน็ ตวั ชีว้ ดั ท่ีสำ�คญั ฝ่ายการตลาดมหี น้าที่ขายสินค้าและ
บรกิ ารใหแ้ กผ่ ้บู ริโภค โดยมุ่งขายสนิ คา้ หรอื บริการใหไ้ ด้มากท่สี ดุ

ฝ่ายบุคคล องค์การจะต้องมบี คุ คลเปน็ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน การรบั บุคคลเข้าทำ�งาน การบรรจุ
แตง่ ตัง้ การเลอ่ื นตำ�แหน่ง ตลอดจนการฝกึ อบรมและเก็บหลกั ฐานเก่ยี วกบั
คนงาน ในบริษัทขนาดเลก็ ซึ่งมีคนงานไม่มากฝา่ ยบคุ คลอาจจะรวมอยใู่ น
ฝ่ายบริหาร

3. จัดวางความสัมพันธ์ (Establishment of Relationship) การจัดวางความสัมพันธ์จะท�ำให้
ทราบว่า ใครต้องรายงานต่อใคร เพื่อให้งานส่วนต่าง ๆ ด�ำเนินไปโดยปราศจากข้อขัดแย้งมีการท�ำงานร่วมกัน
อย่างเป็นระเบียบเพอ่ื ให้ทุกฝ่ายรว่ มมอื กันทำ� งานมุ่งไปสจู่ ดุ หมายอนั เดียวกนั

องค์การและการจดั องค์การ 39

ณัฐฐาพร สำ� นกั เหยา | วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาปัตตานี
ตัวอย่าง
1. โครงสรา้ งองคก์ ารธุรกิจท่ัวไป
เปน็ การประกอบธรุ กจิ ทมี่ ขี นาดเลก็ มเี จา้ ของคนเดยี วเปน็ ผลู้ งทนุ และดำ� เนนิ กจิ การไมย่ งุ่ ยาก ขอบขา่ ย
ของการประกอบธรุ กิจไม่กว้างขวาง ส�ำหรับธรุ กจิ ในรูปหา้ งหุ้นส่วน หรอื บริษทั จ�ำกัด มหี น่วยงานยอ่ ยท่ีส�ำคัญๆ
ได้แก่ ฝา่ ยบรหิ าร ฝ่ายผลติ ฝายการเงนิ ฝ่ายการตลาด (ขาย) ฝา่ ยบคุ คล สำ� หรับธรุ กจิ การคา้ ซง่ึ ด�ำเนินการซอ้ื
มาขายไปไมจ่ �ำเป็นตอ้ งมฝี ่ายผลติ แตจ่ ะมฝี า่ ยจดั ซ้อื แทน ลักษณะดังรูป

รูปภาพท่ี 1.4 โครสร้างองคก์ ารธรุ กจิ ทว่ั ไป

องค์การและการจดั องค์การ 40

ณฐั ฐาพร ส�ำนักเหยา | วิทยาลัยอาชวี ศึกษาปตั ตานี
2. โครงสรา้ งของห้างหุ้นสว่ น
ห้างหุน้ ส่วนประกอบด้วยผูล้ งทนุ หลายคน ดังนน้ั ศูนย์อ�ำนาจในการบรหิ ารหา้ งห้นุ ส่วนคอื ทป่ี ระชมุ
ห้นุ ส่วน ดังน้ัน โครงสร้างขององค์การธรุ กจิ ในรูปของห้างหนุ้ ส่วนจงึ มลี กั ษณะดงั นี้

รปู ภาพท่ี 1.5 โครงสรา้ งของห้างหุ้นส่วน

องค์การและการจัดองคก์ าร 41

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาปตั ตานี
3. โครงสรา้ งของบรษิ ัทจำ� กัด
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยเ์ กย่ี วกบั หา้ งหนุ้ สว่ นและบรษิ ทั จำ� กดั กำ� หนดไวช้ ดั เจนวา่ บรษิ ทั จำ� กดั
จะตอ้ งมคี ณะกรรมการบรษิ ทั ผจู้ ดั การบรษิ ทั เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ งานกจิ การของบรษิ ทั หากเปน็ บรษิ ทั ทม่ี กี จิ การใหญโ่ ต
ขอบข่ายการดำ� เนนิ งานกว้างขวางมาก ตำ� แหน่งผู้จดั การอาจจะมหี ลายคนและมีหลายฝา่ ย แสดงได้ดังรูป

ท่ีประชุมผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการบรษิ ัท

กรรมการผู้จัดการ

กรรมการรองผูจ้ ดั การ

ฝ่ายบรหิ าร ฝา่ ยผลติ ฝา่ ยการเงนิ ฝา่ ยการตลาด ฝา่ ยบคุ คล

แผนกต่างๆ วิศวกรรม เ เคมี บญั ชี รบั -จา่ ย สง่ เสริม ขาย สรหหา ค่าจ้าง

พนกั งาน พนกั งาน พนกั งาน พนักงาน พนกั งาน พนกั งาน พนกั งาน พนกั งาน พนักงาน

รูปภาพที่ 1.6 โครงสร้างของบริษทั จ�ำกัด

องค์การและการจัดองค์การ 42

ณฐั ฐาพร สำ� นกั เหยา | วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาปัตตานี
ตัวอย่าง โครงสร้างคณะกรรมการการแข่งขันกีฬาสีของวิทยาลัยแห่งหน่ึง

รายละเอยี ดการกำ� หนดบทบาทหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบตามผงั โครงสร้างองคก์ ร

ฝา่ ย กอ่ นการแข่งขนั วนั แขง่ ขัน หลงั การแข่งขนั

ประธานสแี ละ -วางแผนร่วมกับฝ่ายต่างๆ ในเร่ืองงาน -ดูแลความเรียบร้อย -รวบรวมสรุปผลการ
รองประธานสี หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบแต่ละฝ่าย ในฝ่ายต่างๆ ให้การ ท�ำงานแต่ละฝ่ายเป็น
-ติดต่อประสานงานกับท่ีปรึกษาสีและ ท�ำงานดำ� เนนิ ไปด้วยดี ภาพรวมของคณะสี
โรงเรียน
-วางแผนท่มี าและใช้ไปของเงินคณะสี

ฝ่ายการเงิน -จัดทำ� บญั ชีรายรบั รายจ่ายของคณะสี -ดูแลการเบิกจ่ายตาม -รวบรวมและสรุปผล
และบัญชี -รวบรวมหลกั ฐานการเบิกจ่าย แผนการใช้เงินของทุก การใช้จ่ายในการท�ำ
ฝา่ ย กจิ กรรมของทุกฝ่าย
-เก็บรกั ษาเงินสด

ฝา่ ยเชียร์ -คดั เลอื ก/ฝกึ ซอ้ มเชยี รล์ ดี เดอรข์ องคณะสี -ผู้น�ำเชียร์และร่วมแข่ง - ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป
ลีดเดอร์ -จดั การเร่ืองเครอ่ื งแต่งกายเชยี รล์ ดี เดอร์ ชนั เชยี รล์ ดี เดอร์ ปัญหาอุปสรรคและ
-จัดท�ำประมาณการรายจ่ายส�ำหรับงาน เสนอแนวทางแกป้ ัญหา
เชยี รล์ ีดเดอรใ์ นคณะสี -สรุปรายรับ-รายจ่าย
ในฝา่ ยเชยี ร์

ฝา่ ยสวสั ดิการ -จดั เตรยี มอุปกรณส์ �ำหรบั กองเชียร์ -ดูแลอุปกรณ์ต่างๆ - ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป
-จดั เตรยี มยาและเวชภณั ฑใ์ นการฝกึ ซอ้ ม สำ� หรบั กองเชียร์ ปัญหาอุปสรรคและ
และแข่งชัน -ดูแลอาหารและเครื่อง เสนอแนวทางแก้ปัญหา
-ประมาณการอาหารและเคร่ืองด่ืม ดืม่ ในวนั แขง่ ขัน -สรุปรายรับ-รายจ่าย
ส�ำหรับสมาชิกในฝ่ายต่างๆในระหว่างฝึก ในฝา่ ยสวัสดกิ าร
ซ้อมและวันแข่งขนั

องคก์ ารและการจดั องคก์ าร 43

ณฐั ฐาพร ส�ำนกั เหยา | วิทยาลัยอาชวี ศึกษาปตั ตานี

ฝ่าย กอ่ นการแขง่ ขัน วนั แข่งขนั หลงั การแขง่ ขัน
ฝ่ายกฬี า
-คัดเลือกนักกรีฑาประเภทลู่ลานและ -ดูแลส่งตัวนักกีฬาลง - ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป
นักกีฬาตามรายการแข่งขันท้ังชาย แข่งขันตามรายการ ปัญหาอุปสรรคและ
และหญงิ ต่างๆ เสนอแนวทางแกป้ ัญหา
-เบิกอุปกรณ์กีฬา ฝึกซ้อมนักกีฬา - ร ว บ ร ว ม ส ถิ ติ ก า ร -สรุปรายรบั – รายจา่ ย
ทกุ ประเภท แขง่ ขนั ทุกประเภท ในฝ่ายกีฬา
- จั ด เ ต รี ย ม เ อ ก ส า ร ข อ ง นั ก กี ฬ า ใ ห ้
ฝ่ายสจู ิบตั ร
- ว า ง แ ผ น ป ร ะ ม า ณ ก า ร เ งิ น ร า ง วั ล
ส�ำหรบั นกั กฬี า

ฝ่ายพาเหรด จดั เตรยี มเอกสารเพลงเชยี ร์ / ฝกึ ซอ้ มรอ้ ง -ดูแลควบคุมขบวน -สรุปรายรับ รายจ่าย
และกองเชียร์ เพลงเชียร์ พาเหรดและการเชียร์ ในฝา่ ยพาเหรดและกอง
-เช็คชื่อนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมเขียร์ ในวันแขง่ ขนั กฬี า เชยี ร์ของคณะสี
ทกุ วนั - ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป
-วางแผนขบวนพาเหรดและจัดหาคนใน ปัญหาอุปสรรคและ
ขบวนพาเหรด เสนอแนวทางแกป้ ญั หา
-ประมาณการรายจา่ ยในฝา่ ยพาเหรดและ
กองเชียร์

ฝา่ ยศลิ ป์ -วางแผนการตกแต่งอฒั จนั ทร์ -ตกแต่งอัฒจันทร์เชียร์ - ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป
-จัดเตรียมอุปกรณ์การตกแตง่ อฒั จันทร์ ให้เรียบร้อยก่อนการ ปัญหาอุปสรรคและ
-ประมาณการรายจ่ายในการตกแต่ง แข่งขนั ตามเกณฑ์การ เสนอแนวทางแก้ปัญหา
อัฒจันทร์ แข่งขนั -สรุปรายรับ–รายจ่าย
ในฝา่ ยศิลป์

จะเห็นได้ว่า คณะกรรมการการแข่งขันกีฬาสีเป็นรูปแบบองค์การที่ไม่เป็นทางการ จัดกลุ่มงานตาม
หน้าท่ี มีการแบ่งสายบังคับบัญชาโดยค�ำนึงถึงหน้าท่ีของงานเป็นส�ำคัญ การก�ำหนดคุณลักษณะของงานจะมี
ความเกยี่ วขอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารคอื เพอื่ ดำ� เนนิ การแขง่ ขนั กฬี าสแี ละสรา้ งความรกั สามคั มนี ำ้� ใจเปน็
นกั กฬี า โดยมีเป้าหมายคอื คณะสีฟา้ เป็นทีห่ นึ่งในทกุ ประเภทกฬี า

องคก์ ารและการจัดองค์การ 44

ณัฐฐาพร สำ� นักเหยา | วิทยาลยั อาชวี ศึกษาปัตตานี

ใบความรู้ท่ี

องค์การสมัยใหม่

องคก์ ารแบบเดมิ ลกั ษณะของงานจะคงที่ พนกั งานแตล่ ะคนจะไดร้ บั มอบหมายงานเฉพาะและทาํ งานใน
กลุม่ เดิมไม่ค่อยเปล่ียน แต่ในองค์การสมยั ใหม่พนกั งานต้องเพมิ่ ศักยภาพของตนทจี่ ะเรียนร้แู ละสามารถทาํ งาน
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งได้รอบด้าน และมกี ารสับเปลีย่ นหนา้ ทแี่ ละกลุม่ งานอยเู่ ป็นประจาํ

กรณีตัวอย่าง (Example Case)

ในบริษัทผลิตรถยนต์ พนักงานในแผนกผลิต
ต้องสามารถใช้งานเครื่องจักร ท่ีควบคุมด้วยระบบ
คอมพวิ เตอรไ์ ด้ด้วย ซงึ่ ในคาํ บรรยายลักษณะงาน (job
description) เดยี วกนั นเี้ มอื่ 20 ปกี อ่ นไมม่ กี ารระบไุ วด้ งั
น้นั ในองค์การสมยั ใหม่ จะพฒั นาบคุ ลากรให้เพมิ่ ทกั ษะ
การทาํ งานไดห้ ลากหลายมากข้นึ และใน การพิจารณา
ค่าตอบแทนการทํางาน (compensation) ในองค์การ
สมยั ใหม่ มแี นวโน้มที่จะตอบแทนตามทกั ษะ (skill based) ย่งิ มคี วามสามารถในการทาํ งาน หลายอย่างมากข้นึ
กไ็ ดค้ ่าตอบแทนมากข้นึ แทนการให้คา่ ตอบแทนตามลักษณะ งานและหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบ (jobbased)

รูปภาพที่ 1.7 อุตสาหกรรมยานยนตป์ ัจจบุ ันในอเมรกิ า
ท่มี า: (https://www.swap2005.org)

องค์การและการจัดองค์การ 45

ณัฐฐาพร ส�ำนกั เหยา | วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาปตั ตานี
ลักษณะสำ�คัญขององค์การสมัยใหม่
องค์การสมัยใหม่ควรเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) การเป็นองค์การ
แห่งการเรียนรู้ต้องอาศัยความเข้าใจและความมุ่งมั่นในการทําระบบย่อยท้ัง 5 ระบบขององค์การแห่งการ
เรียนรู้อันได้แก่ การเรียนรู้ (Learning) องค์การ (Organization) คน (People) ความรู้ (Knowledge)
และเทคโนโลยี (Technology) ให้ตัวขับเคลื่อนและพัฒนาองค์การเพราะการเรียนรู้ประเภทนี้ ไม่สามารถ
จะเกิดขึ้นและไม่สามารถคงอยู่ได้ หากปราศจากความเข้าใจ และการพัฒนาระบบย่อยท่ีสัมพันธ์กัน โดย
องคก์ ารต้องสร้างวินยั 5 ประการ (Fifth Discipline) ให้เกดิ ขนึ้ ดงั น้ี

1. บุคลากรท่ีมีความรอบรู้ (Personal mastery) การเรียนรู้
ของปัจเจกบุคคล เป็นจุดเร่ิมต้นขององค์การแห่งการเรียนรู้ ซ่ึงบุคคลควร
ต้องได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาอยู่เสมอโดยในการพัฒนาควรเป็นไป
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

2. รูปแบบความคิด (Mental models) รูปแบบความคิดของ
บุคคลมีอิทธิพล ต่อแนวทางการปฏิบัติของบุคคลนั้นๆ อีกท้ังองค์การ
ต้องพัฒนาบุคลากรให้มีการเรียนรู้และเข้าใจถึงส่ิงท่ีบุคคลต้องการ
(Self Vision) กบั สง่ิ ท่ีองค์การตอ้ งการ (Organizational Vision)
3. วสิ ยั ทศั นร์ ว่ ม (Shared vision) ความสอดคลอ้ งระหวา่ งวสิ ยั ทศั น์
ของ องคก์ ารและวสิ ัยทัศนข์ องบคุ คล สง่ ผลให้บุคคลปฏบิ ตั ิหน้าทด่ี ้วยความ
ผกู พนั ดงั นน้ั จดุ มงุ่ หมายขององคก์ ารแหง่ การเรยี นรคู้ อื การผลกั ดนั ใหบ้ คุ คล
โดยอาศยั จดุ ประสงคร์ ว่ มกนั บนพืน้ ฐานของการเปน็ หุ้นสว่ น (Partner)

องคก์ ารและการจดั องค์การ 46


Click to View FlipBook Version