ANNUAL REPORT 2020 - 2021
กองวิจยั และพัฒนาการเพาะเล้ยี งสัตว์นำ้ ชายฝ่งั
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Coastal Aquaculture research and Development Division
Development of Fisheries Ministry of Agriculture and Cooperatives
คำนำ
รายงานประจำปีฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการดำเนินงานของศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการเพาะเลีย้ ง
สัตว์น้ำชายฝั่งพังงา ตามแผนงานและโครงการต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายในปีงบประมาณ 2563 - 2564
ซึ่งมีภารกิจทางด้านการวิจัยและพัฒนา การตรวจสอบรับรองแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ผลิตและ
ขยายพันธุ์สัตว์น้ำ ได้แก่ ปลาการ์ตูน ปลากะพงขาว หอยชักตีน กุ้ง ปูทะเล หอยชักตีน สาหร่ายพวงองุ่นและ
ภารกิจอ่นื ๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย โดยมีพืน้ ท่ีรบั ผดิ ชอบในเขตพืน้ ที่ของจังหวัดพงั งา นอกจากนี้ยังดำเนิน
โครงการงบเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการผลิตพันธุ์สัตว์น้ำชายฝั่งเพื่อการจำหน่าย ทั้งนี้เพื่อพัฒนาอาชีพ
การเพาะเลี้ยงสตั ว์น้ำชายฝ่ังให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน อนั จะส่งผลต่อระดับคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม
ทด่ี ีขนึ้ ของเกษตรกรผเู้ พาะเลยี้ งสัตว์นำ้ ตอ่ ไป
รายงานฉบับนี้ประกอบไปด้วยรายงานผลการปฏิบัติงานวิจัยและโครงการต่างๆ โดยผลการดำเนินงาน
ทง้ั หมดไดบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ตามตัวช้วี ัดและสำเร็จตามภารกจิ ที่ได้รบั มอบหมาย ซงึ่ เปน็ ผลจากความร่วมมือ
ร่วมใจในการปฏิบัติหน้าที่จากข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ทุกท่าน รวมทั้งได้รับการสนับสนุนและ
คำแนะนำทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ การดำเนนิ การเปน็ อยา่ งสงู จากผ้บู ังคับบัญชา ของกรมประมงในทุกลำดับช้ัน
ขอขอบพระคณุ ทุกท่าน มา ณ โอกาสน้ี
(นางฉันทนา แกว้ ตาปี)
ผู้อำนวยการศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการเพาะเล้ียงสัตว์น้ำชายฝ่ังพงั งา
สารบัญ
คำนำ หน้า
ขอ้ มูลพ้ืนฐานจงั หวดั พงั งา………………………………………………………………………………………….. 1
ประวัตคิ วามเปน็ มาของศนู ย์วิจยั และพัฒนาการเพาะเลี้ยงสตั วน์ ำ้ ชายฝ่ังพังงา…………………. 3
ทำเนยี บผบู้ รหิ าร.................................................................................................................... 6
สรุปผลการดำเนินงาน งบประมาณ กรมประมง ปงี บประมาณ 2563 - 2564.......................... 9
14
1. งานธรุ การ………………………………………………………………………………………………………….. 15
2. งานตรวจสอบและรบั รองคณุ ภาพสินค้าประมง............................................................... 17
3. งานผลติ พนั ธส์ุ ตั วน์ ้ำ......................................................................................................... 39
4. กิจกรรมเงนิ ทนุ หมุนเวยี นในการผลิตพนั ธ์กุ ุง้ พนั ธ์ุปลาและพันธุส์ ัตวน์ ำ้ อืน่ ๆ.................. 41
5. งานอื่นๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย............................................................................................. 42
ภาพกจิ กรรม ประจำปีงบประมาณ 2563............................................................................... 45
ภาพกจิ กรรม ประจำปีงบประมาณ 2564............................................................................... 77
ข้อมูล ้ืพนฐาน จงั หวดั พงั งา เดิมเชอื่ กันว่าชื่อ "เมอื งภงู า" ตามช่อื เขางาหรือเขาพังงาหรือกราภูงา
หรือพังกา (ภาษามลายู แปลว่า ป่าน้ำภูงา) ตั้งอยู่ในตัวจังหวัดพังงาปัจจุบัน ในสมัยก่อน
จังหวัดพังงา เมืองภูงาขึ้นอยู่กับเมืองนครศรีธรรมราช ในสมัยรัชกาลที่ 2 ชื่อของเมืองภูงาได้ปรากฏ
อยู่ในทำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช เป็นเมอื งข้นึ ฝา่ ยกรมพระสุรสั วดีฝ่ายซ้าย
เมืองภูงานี้อาจจะตั้งชื่อให้คล้องจองกับเมืองภูเก็ต และเหตุที่เมืองภูงากลายเป็นเมืองพังงา
นนั้ สนั นิษฐานกันวา่ นา่ จะเนื่องมาจากเมืองภูงาเป็นเมืองท่ีมีแรอ่ ุดมสมบูรณ์ มชี าวต่างชาติ
มาติดต่อซื้อขายแร่ดีบุกกันมาก และชาวต่างชาติเหล่านี้คงออกเสียงเมืองภูงาเป็นเมือง
พังงา เพราะแต่เดิมชาวต่างชาติเขียนชื่อเมือง ภูงาว่า Phunga หรือ Punga อ่านว่าภูงา
หรือพงั งาหรือพังกากไ็ ด้
ในประวัติศาสตร์มีการค้นพบชุมชนโบราณ ลูกปัด เศษภาชนะแตกหักจำนวน
มากที่เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการค้าในสมัยโบราณ ชาวบ้านสูงอายุเรียกบริเวณบ้านทุ่งตึกว่า
เมืองตะโกลา หรือ ตะกั่วป่า ในปัจจุบันเคยเป็นเมืองท่าการค้าที่สำคัญของแหลมมลายู
ทางฝั่งตะวันตกพ่อค้าต่างชาติสมัยโบราณอย่างอินเดีย จีน และอาหรับ จะใช้แม่น้ำ
ตะกัว่ ป่าลอ่ งสินค้าและขนสนิ ค้าต่อทางบก เพ่อื ไปยังอีกฝัง่ หนงึ่ ของแหลมมลายูได้สะดวก
รวดเร็วขึ้นสมัยรัชกาลที่ 3 พระองค์ทรงมีพระราชดำริท่ีจะทรงบูรณะหัวเมืองชายฝ่ัง
ทะเลภาคใต้ ท่ถี กู พม่าทำลายจึงทรงแต่งต้ังให้พระยาบรริ ักษภ์ ูธร (แสง ณ นคร) เป็นเจ้าเมือง
พังงาคนแรกและยุบเมืองตะก่ัวทุ่งมาข้ึนกับเมืองพังงาใน พ.ศ. 2383 เมืองพังงาได้เล่ือน
ฐานะเป็นจงั หวัดในสมยั รชั กาลท่ี 6
4|| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการเพาะเลี้ยงสตั วน์ ำ้ ชายฝ่งั พงั งา
|| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการเพาะเล้ยี งสัตวน์ ำ้ ชายฝ่งั พงั งา
แผนท่ีแสดงเสน้ ทางมาศนู ยว์ ิจัย
และพฒั นาการเพาะเล้ียงสตั วน์ ้า
ชายฝั่งพงั งา
Latitude : 8.41947
Longitude : 98.2401482
แ ผ น ที่ ท า ง ด า ว เ ที ย ม แ ส ด ง ที่ ตั้ ง
ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเล้ียง
สตั วน์ ้าชายฝั่งพงั งา
แผนผังการบริหารงานศูนย์วจิ ัยและพฒั นาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ ชายฝ่ังพังงา
ผอู้ ำนวยการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ ชายฝ่ังพงั งา
งานธรุ การ งานเพม่ิ งานตรวจสอบและรบั รอง งานพฒั นาการเพาะเลยี้ ง
ผลผลติ สตั วน์ ำ้ คณุ ภาพสนิ คา้ ประมง และปรบั ปรงุ พนั ธุ์
งานสารบรรณ
งานการเงินและบญั ชี งานผลิตพนั ธุส์ ตั ว์นำ้ หนว่ ยตรวจสอบและรบั รอง งานทดลองวจิ ยั
งานพัสดุ งานเงินทุนหมนุ เวียนฯ คณุ ภาพวัตถดุ บิ สัตวน์ ้ำ
งานผลติ แพลงก์ตอน
งานเลย้ี งพ่อแม่พันธุ์ หน่วยรบั รองมาตรฐานฟารม์
เพาะเลย้ี งสัตว์น้ำชายฝัง่
หน่วยคลินิกตรวจสัตวน์ ้ำและ
ตรวจวจิ ัยโรคสตั วน์ ำ้ PCR
หนว่ ยเคลือ่ นท่ีเฝา้ ระวังแหล่ง
เล้ยี งสตั ว์น้ำและแหลง่ น้ำ
ธรรมชาติ
|
ทำเนียบผู้บรหิ ำร
นับตั้งแต่ก่อตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2529 จนถึง
ปัจจุบัน ศูนย์ฯ มีรายนามผู้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าสถานีฯ/ผูอ้ ำนวยการศูนย์ฯ จำนวน 12 ท่าน ดังรายนาม
ตอ่ ไปน้ี
ชื่อ-สกุล ตำแหนง่ ปีท่ดี ำรงตำแหน่ง
1. นายถาวร ธรรมเศวต หวั หน้าสถานีฯ 2529 - 2533
2. นายสมชาติ สขุ วงศ์ หวั หน้าสถานีฯ 2534 - 2537
3. นายสมยศ สิทธิโชคพนั ธ์ หวั หนา้ สถานฯี 2538 - 2539
4. นายทวี จนิ ดามยั กลุ ผอู้ ำนวยการศนู ยฯ์ 2540 - 2544
5. นางเรณู ยาชโิ ร ผอู้ ำนวยการศนู ย์ฯ 2545 - ม.ค. 2546
6. นายทวี โรจนสารัมภกิจ ผอู้ ำนวยการศนู ยฯ์ ม.ค. 2546 - ก.ย. 2546
7. นายวุฒิ คปุ ตะวาทนิ ผอู้ ำนวยการศูนย์ฯ ต.ค. 2546 - ธ.ค. 2549
8. นายคมน์ ศิลปาจารย์ ผอู้ ำนวยการศนู ยฯ์ ธ.ค. 2549 - ธ.ค. 2551
9. นายสทุ ธิชัย ฤทธธิ รรม ผู้อำนวยการศนู ยฯ์ ธ.ค. 2551 - ม.ค. 2553
10. นายสภุ าพ ไพรพนาพงศ์ ผู้อำนวยการศูนยฯ์ ม.ค. 2553 - มิ.ย. 2560
11. นางพิชญา ชยั นาค ผอู้ ำนวยการศนู ย์ฯ มิ.ย. 2560 - ม.ค. 2562
12. นางฉันทนา แกว้ ตาปี ผอู้ ำนวยการศนู ย์ฯ ม.ค. 2562 - ปจั จบุ ัน
โครงสรา้ งการแบ่งงานภายในศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการเพาะเลยี้ งสตั วน์ ้ำชายฝ่งั พงั งา
หน้าทค่ี วามรับผิดชอบ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงามีภารกิจหลายด้าน จึงจัดแบ่งงานตามหน้าท่ี
ความรับผิดภายในศูนย์ฯ ดงั นี้
1. งานธุรการ
มีหน้าที่รวบรวม ติดตาม และรายงานผลการปฏิบัติงานของศูนย์ฯ รวมทั้ง งานสารบรรณ การเงิน
งบประมาณ การจดั ซื้อ - จดั จ้าง ตลอดจนการตดิ ต่อประสานงานกบั ส่วนราชการท่ีเกย่ี วขอ้ ง
2. งานตรวจสอบและรับรองคุณภาพสนิ ค้าประมง แบง่ ออกเป็น 4 หนว่ ยยอ่ ย คือ
2.1 หนว่ ยตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์มเพาะเลย้ี งสัตวน์ ำ้ ชายฝัง่
มพี ้นื ทีร่ ับผิดชอบ 7 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอทบั ปุด อำเภอตะกวั่ ท่งุ อำเภอทา้ ยเหมือง
อำเภอกะปง อำเภอตะกว่ั ป่าและอำเภอคุระบรุ ี
โดยมหี น้าท่ี
2.1.1 ตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มี 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน
โค้ดออฟคอนดัค (Code of Conduct; CoC), มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำท่ีดี
(Good Aquaculture Practice; GAP) และมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ มกษ. 7401-2552
2.1.2 เก็บตัวอย่างปัจจัยการผลิต เช่น อาหาร หัวอาหาร วิตามินและสารกระตุ้นการเจริญเติบโต
และตรวจการปนเปื้อนสารปฏิชีวนะ/ยาในตัวอย่างดังกล่าว เพื่อความปลอดภัยในการนำไปใช้ในฟาร์มผลิต
สตั วน์ ้ำ
2.2 งานตรวจสอบและรับรองคุณภาพวตั ถดุ ิบสตั ว์นำ้
มีหนา้ ทบี่ รกิ ารตรวจวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดบิ สัตว์นำ้ ขณะเล้ียงในฟาร์ม โดยเฉพาะการตกค้าง
ของสารปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ เพื่อให้ผลผลิตจากฟาร์มมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนด พร้อมเป็นวัตถุดิบ
ต้นน้ำท่เี หมาะสำหรบั โรงงานแชเ่ ยือกแขง็ โรงงานแปรรูป เพอ่ื ความปลอดภัยของผบู้ รโิ ภค
2.3 หน่วยตรวจวิจัยโรคสตั วน์ ้ำ
2.3.1 บริการตรวจสุขภาพสัตว์น้ำและวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ (กุ้ง ปลา) ได้แก่ ปรสิต แบคทีเรีย
และไวรสั โดยใชเ้ ทคนิคด้านจลุ ชีวะและชวี โมเลกลุ
2.3.2 การเฝ้าระวังโรคไวรัสในกุ้งทะเลที่มีสาเหตุจากเชื้อ WSSV, TSV, YHV, IHHNV และ
IMNV
2.3.3 บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำและดินเพื่อนำไปสู่การเพาะเลี้ยงที่ถูกต้องตามหลัก
วิชาการ
|
2.3.4 ใหค้ ำปรึกษาแนะนำทางวชิ าการ เชน่ การจดั การฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำชายฝั่งระบบน้ำ
ระบบฟาร์ม การรักษาสุขภาพสัตว์น้ำ ตลอดจนการใช้ปัจจัยการผลิต ยาและเคมีภัณฑ์อย่างถูกต้องและ
มีประสทิ ธภิ าพเพื่อผลติ สตั วน์ ้ำใหม้ ีคณุ ภาพตามาตรฐานสากล
2.4 โครงการคลินกิ เกษตรเคล่ือนท่ี โครงการจงั หวัดเคล่ือนที่ และหน่วยเคล่ือนที่เฝ้าระวังแหล่ง
เลี้ยงสัตว์นำ้ และแหล่งนำ้ ธรรมชาติ
2.4.1 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ และโครงการจังหวัดเคลื่อนท่ี
โดยจัดอุปกรณ์และเจ้าหน้าที่ไปร่วมงานกับสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพังงา ออกให้บริการตรวจ
สขุ ภาพสัตวน์ ำ้ คณุ ภาพน้ำและแจกเอกสารเผยแพร่ แนะนำการเพาะเล้ียงสัตวน์ ำ้ แก่เกษตร
2.4.2 ตรวจสอบคุณภาพน้ำบริเวณแหล่งน้ำธรรมชาติของจังหวัดพังงาเพื่อนำข้อมูลมาแจ้งข่าว
เตอื นภยั การใช้นำ้ จากแหลง่ น้ำธรรมชาติ
2.4.3 หน่วยบริการเคลื่อนที่ ส่งเจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบคุณภาพน้ำและสุขภาพสัตว์น้ำในฟาร์ม
ของเกษตรกร
3. งานผลิตพนั ธส์ุ ตั วน์ ้ำ
มีหน้าที่ผลิตพันธุ์สัตว์น้ำที่มีคุณภาพเพื่อปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ และจำหน่ายให้แก่เกษตรกร
เพ่อื นำไปเล้ียง พันธสุ์ ัตว์นำ้ ทผ่ี ลติ เชน่ กงุ้ ทะเล หอยชักตนี ปลากะพงขาว ปมู า้ และปทู ะเล เปน็
4. งานพัฒนาการเพาะเล้ยี งและปรับปรงุ พนั ธุ์ (งานทดลองวิจยั )
เน้นการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่เป็นอันดับแรก ทั้งนี้เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมให้มี
ความก้าวหน้านำไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์และเพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านวิชาการท่ีเกษตรกรไม่สามารถ
จะดำเนินการไดเ้ อง นอกจากน้ัน มีการวิจยั ชนดิ สัตว์น้ำท่ีมอี ยู่ในพืน้ ท่ีและมศี ักยภาพจะขยายพนั ธุ์ในเชิงธุรกิจ
และเพื่อการอนุรักษ์พันธ์ุสัตว์น้ำท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ตลอดจนศึกษาวิจัยสารสมุนไพรชนิดต่างๆ
ในการป้องกัน ควบคุมโรคสัตว์น้ำเพื่อลดการตกค้างของยา/สารเคมีในสัตว์น้ำ การใช้จุลินทรีย์ในการเพาะเลี้ยง
เพื่อนำไปสู่การเล้ียงระบบชีวภาพท่ีไมม่ สี ารตกค้างในผลผลิต
5. งานอื่นๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย
5.1 ฝกึ งานให้เกษตรกร นกั ศกึ ษา ตลอดจนเจา้ หนา้ ทบี่ ริษทั เอกชน เปน็ ต้น
5.2 ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนด้านประมง เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา
เกษตรกร และประชาชนผทู้ ่สี นใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์นำ้ และเต่าทะเล
5.3 งานชว่ ยเต่าทะเลบาดเจ็บ ร่วมมอื กับศูนยว์ จิ ัยทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่งอนั ดามันตอนบน
อตั รากำลงั ประจำปงี บประมาณ 2563 และ 2564
ปีงบประมาณ 2563 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงา มีอัตรากำลังปฏิบัติงาน
ทั้งสิ้น 52 อตั รา ส่วนปีงบประมาณ 2564 มีอตั รากำลงั ปฏิบตั งิ าน 51 อัตรา ดังนี้
ปี 2563 ปี 2564
ขา้ ราชการ 8 อตั รา 8 อัตรา
พนักงานราชการ 33 อัตรา 33 อัตรา
จา้ งเหมาบรกิ าร 11 อตั รา 11 อัตรา
รวมทั้งสนิ้ 52 อตั รา 52 อัตรา
อตั รากา้ ลงั ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการเพาะเลยี้ งสตั วน์ า้ ชายฝงั่ พงั งา
21% 15%
64%
ข้าราชการ พนกั งานราชการ จ้างเหมาบรกิ าร
กลมุ่ ช่ือ-สกุล ตำแหน่ง
1. กลุ่มบรหิ าร นกั วชิ าการประมงชำนาญการพิเศษ
1.1 ผู้อำนวยการศนู ย์ฯ นางฉนั ทนา แก้วตาปี
นักวชิ าการประมงชำนาญการ
2. กลุ่มวชิ าการ
2.1 กลุ่มตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง นกั วิชาการประมงปฏิบตั ิการ
นางกัลยาณี ทีปะปาล นักวชิ าการประมงปฏิบัติการ
2.2 กลุ่มผลิตพนั ธ์ุสตั ว์น้ำ นกั วชิ าการประมงปฏบิ ัตกิ าร
นายธนั ว์ จิตตนนู ท์ เจ้าพนกั งานประมงปฏบิ ัตงิ าน
นางสาวพชั รี นวลศรีทอง
นางสาวณฐั วภิ า ทองไสว
นางกรรณิกา ปรีดาผล
|
กลมุ่ ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง
3. กลุ่มงานอำนวยการ
นางสาวนงคพ์ งา เกตชุ ู เจา้ พนกั งานประมงปฏิบตั ิงาน
3.1 งานพสั ดุ
3.2 งานธรุ การ
นางสาวนฤมล อน้ กา เจา้ พนกั งานธรุ การปฏิบตั ิงาน
นางสาวพิมพน์ ารา สอาดเอีย่ ม (ย้ายไป ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงาน
ธุรการปฏิบัติงาน เลขที่ตำแหน่ง 1675
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการประมงน้ำจืด
เขต 1 (พะเยา) ปฏิบัติหน้าที่ศูนย์วิจัย
และพัฒนาประมงพิษณุโลก กองวิจัย
และพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง
เมอ่ื วนั ท่ี 21 กรกฎาคม 2563)
เจ้าพนกั งานธุรการปฏบิ ัตงิ าน
(ลาออกเพ่ือไปบรรจุราชการท่ีกองพัฒนา
ระบบการรับรองมาตรฐานสินค้าประมง
และหลักฐานเพื่อการสืบค้น เมื่อวันท่ี 7
ธันวาคม 2563)
สรปุ ผลกำรดำเนินงำน
งบประมำณ กรมประมง
ปีงบประมำณ 2563 - 2564
1. งานธุรการ
งานธุรการ ประกอบด้วยงานย่อย 3 หนว่ ยงาน คอื
1.1 งานสารบรรณ
มีหน้าที่รับ - ส่งหนังสือ ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดทำคำขอตั้งงบประมาณ จัดทำงบเดือน ควบคุม
เวลาปฏิบตั ิราชการของบุคลากร จัดเกบ็ หนงั สือและเอกสารของทางราชการ ตลอดจนการทำลายหนังสือและ
เอกสารของทางราชการ ดงั รายละเอียดผลการปฏบิ ตั ิงานตารางท่ี 1 ดงั น้ี
ตารางท่ี 1 ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ขิ องงานสารบรรณ
งานท่ีปฏบิ ตั ิ หนว่ ยวดั ผลการปฏบิ ัตงิ าน
1. ลงทะเบยี นรับเอกสาร ฉบับ 2563 2564
2. ลงทะเบียนหนงั สอื รับพิเศษ ฉบับ 1,711 1,295
3. ลงทะเบียนหนงั สือออก ฉบับ 140
4. ลงทะเบยี นหนังสอื ออกพิเศษ ฉบับ - 443
5. หนังสือรบั รอง ฉบับ 893 49
6. หนงั สอื คำส่ัง ฉบับ -
7. รวบรวมเวลาทำงานของขา้ ราชการ ครั้ง 10 -
25 7
ลูกจา้ งประจำและพนักงานราชการ ครัง้ 12 12
ครง้ั
8. จดั เวรยามรักษาความปลอดภัย คร้งั 12 12
9. จดั ประชมุ ข้าราชการและลกู จ้าง ครง้ั 12 12
10. ขอต้ังงบประมาณ 11
11. รายงานแผน/ผลการปฏบิ ตั ิงาน -2
1.2 งานพัสดุ
มีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อ/จัดจ้างวัสดุและครุภัณฑ์ ดูแลบำรุงรักษาครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง
ลงบญั ชีรับ - จ่ายวัสดุ ดำเนินการตรวจสอบพสั ดแุ ละครภุ ัณฑ์ประจำปี จดั ทำบญั ชคี ุมครุภัณฑ์และส่ิงก่อสร้าง
จัดทำบญั ชคี มุ วัสดุคงเหลือและปฏิบัติงานอื่นตามท่ีได้รับมอบหมาย รายละเอยี ดผลการปฏิบตั ิงานตามตารางท่ี 2
ตารางที่ 2 ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิของงานพัสดุ หน่วยวัด ผลการปฏิบัติงาน
2563 2564
งานท่ปี ฏบิ ตั ิ คร้งั
ครั้ง 21
1. การจดั จา้ งจัดซือ้ ให้เป็นไปตามระเบียบสำนัก ฉบับ 245 284
นายกรฐั มนตรี ฉบับ 23
- e - Bidding ฉบบั -0
- จัดซื้อจัดจ้างโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง ฉบับ 133 183
ครั้ง 112 101
2. สญั ญาซอื้ - ขาย ครัง้ 16 21
3. สญั ญาก่อสรา้ ง คัน 11
4. ใบสง่ั ซอื้ /ส่งั จา้ งราคาตำ่ กวา่ 5,000 บาท 56
5. ใบสั่งซอ้ื /ส่งั จา้ งราคามากกวา่ 5,000 บาท
6. จัดทำประวัติซอ่ มบำรุงรักษายานพาหนะครุภัณฑ์
7. ตรวจสอบพสั ดปุ ระจำปี
8. จดและต่อทะเบียนรถยนต์
1.3 งานการเงินและบญั ชี :
มีหน้าที่เบิกจ่ายเงินเดือนพนักงานราชการ จ้างเหมาบริการ และค่าใช้จ่ายหมวดต่างๆ
ตามแผนงานและโครงการตา่ งๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย รวมถงึ นำส่งเงินรายไดแ้ ผ่นดิน รายละเอยี ดการปฏบิ ัติงาน
ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิของงานการเงนิ และบัญชี
งานทีป่ ฏิบัติ หน่วยวัด ผลการปฏบิ ัตงิ าน
1. การเบิกจา่ ยเงนิ ตามโครงการต่างๆ บาท 2563 2564
- เงนิ ในงบประมาณ บาท 14,371,456.94 13,592,550.21
- เงนิ นอกงบประมาณ (เงินฝากคลัง) บาท 14,317,137.78 12,942,774.48
ฎกี า 649,775.73
2. วางขอเบกิ ขอจา่ ยเงนิ งบประมาณและเงนิ ฝากคลงั ครงั้ 367,367
3. จ่ายคา่ จ้างพนกั งานราชการ ฎกี า 495 485
4. จ่ายคา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ลกู หนเ้ี งนิ ยมื ฎีกา 12 12
5. รวบรวมและตรวจสอบใบสำคัญต่างๆ (คา่ สาธารณปู โภค 418 409
บาท 495 485
ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และ
สงิ่ ก่อสร้าง) 14,317,137.78 12,942,774.48
6. จัดทำบัญชีงบประมาณรายจ่ายตามโครงการตา่ งๆ ทีไ่ ดร้ ับ
|
ตารางท่ี 3 (ต่อ) หน่วยวัด ผลการปฏิบตั งิ าน
2563 2564
งานทปี่ ฏบิ ัติ คร้งั
คร้ัง 42
7. นำส่งเงินรายได้แผน่ ดิน ฉบับ 12 12
8. จัดทำรายงานการเงนิ ประจำเดอื น ครงั้ --
9. กันเงนิ เหลอื่ มปตี ามแผนงานและโครงการตา่ งๆ ฉบบั 42
10. จัดทำเบิกเกนิ สง่ คนื 22
11. จดั ทำ บช.01 หักลา้ งลูกหน้ีเงนิ ยืม
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงา ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกรมประมง
ประจำปี 2563 จำนวน 14,371,456.94 บาท และในปี 2564 ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกรมประมง
จำนวน 13,592,550.21 บาท เพือ่ ดำเนนิ งานตามแผนงานและกจิ กรรมตา่ งๆ ดังน้ี
1. แผนงาน : บูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลติ
1.1 โครงการ : ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานสินคา้ เกษตร
กิจกรรมหลัก : พัฒนาคณุ ภาพสินคา้ ประมงส่มู าตรฐาน
2. แผนงาน : พืน้ ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
2.1 กจิ กรรม : พฒั นาและบริหารจัดการทรพั ยากรสตั ว์น้ำ (ผลิตลูกพนั ธุส์ ตั ว์น้ำ)
3. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ
4. เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น
2. งานตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง
แผนงาน : บรู ณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร
โครงการ : ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร
กิจกรรมหลกั : พฒั นาคุณภาพสินคา้ ประมงสู่มาตรฐาน
กจิ กรรมรอง : ควบคุมดูแลสินคา้ ประมงใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน
1. ตรวจประเมินฟาร์มเพาะเลยี้ งสัตว์น้ำชายฝัง่
โดยเป้าหมาย เพื่อให้ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเข้าสู่ระบบการผลิตที่ได้มาตรฐานเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
และผลติ ภณั ฑ์สตั ว์นำ้ มคี ุณภาพปลอดภยั ได้มาตรฐานของประเทศไทยและประเทศค่คู ้า ในปีงบประมาณ 2563
มีแผนการตรวจที่ 260 ฟาร์ม โดยได้ดำเนินการตรวจท่ี 263 ฟาร์ม 101.15 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 4) และใน
ปีงบประมาณ 2564 มีแผนการตรวจที่ 290 ฟาร์ม โดยได้ดำเนินการตรวจที่ 295 ฟาร์ม คิดเป็น 101.72
เปอร์เซน็ ต์ (ตารางท่ี 4)
ตารางที่ 4 ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสตั ว์ชายฝ่ัง ประจำปงี บประมาณ 2563 - 2564
รายการการตรวจวิเคราะห์ หน่วยนบั 2563 2564
แผน ผล แผน ผล
1) จำนวนฟารม์ สัตวน์ ้ำชายฝั่งที่เข้าตรวจประเมิน ฟาร์ม 260 263 290 295
มาตรฐาน GAP/ CoC
ฟาร์ม 181 153 181 171
1.1 ตรวจประเมินฟาร์มสตั ว์นำ้ ชายฝง่ั เดมิ ฟารม์ 144 103 144 113
- ตรวจประเมินฟารม์ /โรงเพาะฟกั เดิม GAP ฟาร์ม 31 49 31 58
(กงุ้ ทะเล)
ฟาร์ม 11 1-
- ตรวจประเมินฟารม์ /โรงเพาะฟกั เดิม GAP ฟาร์ม 5- 5-
(สตั ว์นำ้ อน่ื ๆ)
ฟาร์ม 97 60 97 79
- ตรวจประเมนิ ฟารม์ /โรงเพาะฟกั เดมิ CoC ฟารม์ 75 38 75 71
- ตรวจประเมินฟารม์ /โรงเพาะฟักเดิม GAP ฟาร์ม 18 17 18 1
มกษ.
ฟารม์ 45 42
1.2 ตรวจประเมนิ ฟาร์มสตั ว์นำ้ ชายฝ่ังตอ่ อายุ
ฟารม์ 12 50 12 45
- ตรวจประเมนิ ฟารม์ /โรงเพาะฟกั ตอ่ อายุ ฟาร์ม 6 38 6 43
GAP (ก้งุ ทะเล)
ฟารม์ 69 61
- ตรวจประเมินฟารม์ /โรงเพาะฟกั ตอ่ อายุ
GAP (สัตวน์ ้ำอื่นๆ) ฟารม์ -3 -1
- ตรวจประเมนิ ฟารม์ /โรงเพาะฟกั ตอ่ อายุ ฟารม์ - 131 - 240
GAP มกษ.
ฟารม์ -- --
1.3 ตรวจประเมินฟาร์มสัตวน์ ำ้ ชายฝั่งใหม่ ฟาร์ม -- --
- ตรวจประเมินฟารม์ /โรงเพาะฟกั ใหม่ GAP ฟารม์ -- --
(กุ้งทะเล)
- ตรวจประเมินฟารม์ /โรงเพาะฟกั ใหม่ GAP
(สตั ว์นำ้ อ่ืนๆ)
- ตรวจประเมนิ ฟารม์ /โรงเพาะฟักใหม่ GAP
มกษ.
2) จำนวนฟาร์มสตั วน์ ้ำชายฝง่ั ท่รี บั รองมาตรฐาน
GAP/CoC
2.1 รับรองมาตรฐานฟารม์ สตั ว์นำ้ ชายฝง่ั เดมิ
- รบั รองมาตรฐานฟาร์ม/โรงเพาะฟกั เดมิ
GAP (กุง้ ทะเล)
- รับรองมาตรฐานฟารม์ /โรงเพาะฟักเดมิ
GAP (สัตว์นำ้ อ่นื ๆ)
|
ตารางที่ 4 (ต่อ)
รายการการตรวจวิเคราะห์ หนว่ ยนับ 2563 2564
แผน ผล แผน ผล
- รบั รองมาตรฐานฟารม์ /โรงเพาะฟกั เดิม ฟาร์ม
CoC ฟาร์ม -- --
- รบั รองมาตรฐานฟาร์ม/โรงเพาะฟักเดิม ฟารม์
GAP มกษ. -- --
2.2 รับรองมาตรฐานฟารม์ สตั วน์ ำ้ ชายฝั่งตอ่ อายุ ฟาร์ม
ฟาร์ม - 50 - 77
- รบั รองมาตรฐานฟาร์ม/โรงเพาะฟักต่ออายุ ฟาร์ม - 31 - 73
GAP (กุง้ ทะเล) ฟาร์ม
ฟาร์ม - 16 -1
- รบั รองมาตรฐานฟาร์ม/โรงเพาะฟกั ต่ออายุ ฟารม์
GAP (สัตวน์ ้ำอ่ืนๆ) ฟารม์ -- -1
ฟารม์
- รบั รองมาตรฐานฟารม์ /โรงเพาะฟักตอ่ อายุ ฟาร์ม -3 -3
CoC ฟาร์ม
ฟารม์ - 58 - 43
- รับรองมาตรฐานฟาร์ม/โรงเพาะฟกั ตอ่ อายุ ฟารม์ - 44 - 43
GAP มกษ. ฟาร์ม
-9 --
2.3 รับรองมาตรฐานฟารม์ สตั วน์ ำ้ ชายฝั่งใหม่
-- --
- รับรองมาตรฐานฟารม์ /โรงเพาะฟักใหม่
GAP (กงุ้ ทะเล) -5 --
- รับรองมาตรฐานฟารม์ /โรงเพาะฟักใหม่ - 297 - 335
GAP (สตั วน์ ้ำอืน่ ๆ)
- 234 - 268
- รับรองมาตรฐานฟาร์ม/โรงเพาะฟักใหม่ - 48 - 52
CoC -1 -1
- 14 - 14
- รบั รองมาตรฐานฟารม์ /โรงเพาะฟักใหม่
GAP มกษ.
3) จำนวนฟารม์ มาตรฐานท้ังหมดทใี่ บรับรองยงั ไม่
หมดอายุ
- ฟารม์ /โรงเพาะฟกั GAP (กุ้งทะเล)
- ฟารม์ /โรงเพาะฟกั GAP (สตั วน์ ำ้ อน่ื ๆ)
- ฟารม์ /โรงเพาะฟัก CoC
- ฟารม์ /โรงเพาะฟัก GAP มกษ.
ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเล้ยี งสัตว์นำ้ ชายฝ่งั
|
2. งานตรวจวเิ คราะหค์ ณุ ภาพวัตถดุ ิบสัตว์นำ้ จากแหล่งเพาะเล้ียงสตั วน์ ำ้ ชายฝ่ัง
หน่วยตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ำ มีแผนในการให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ำ
จากแหล่งเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำชายฝ่ังประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 1,137 ตัวอย่าง โดยได้ดำเนินการตรวจ
วิเคราะห์ทั้งสิ้น 1,195 ตัวอย่าง คิดเป็น 105.10 เปอร์เซ็นต์ และในปีงบประมาณ 2564 มีแผนการตรวจ
วิเคราะห์ 1,116 ตัวอยา่ ง โดยไดด้ ำเนินการตรวจวิเคราะห์ทงั้ ส้ิน 1,150 ตัวอย่าง คดิ เปน็ 103.04 เปอร์เซ็นต์
ซึง่ รายการตรวจวเิ คราะหแ์ สดงในตารางท่ี 5
ตารางท่ี 5 รายการตรวจวเิ คราะห์คุณภาพวัตถุดบิ สัตว์น้ำจากแหล่งเพาะเลย้ี งสตั ว์น้ำชายฝั่ง
รายการตรวจวเิ คราะห์ หนว่ ยนับ 2563 2564
ตวั อย่าง แผน ผล แผน ผล
1. ตรวจวเิ คราะห์วัตถุดิบสตั วน์ ำ้ เพือ่ การรบั รองฟารม์ ตัวอยา่ ง 520 534 580 584
2. ตรวจวเิ คราะห์สารตกคา้ งและปัจจัยการผลติ ตวั อย่าง 435 449 435 465
3. ตรวจวิเคราะห์เพื่อการเฝ้าระวังสารตกค้างจากการ 119 119 89 89
ตวั อย่าง
เพาะเลี้ยงสตั วน์ ้ำชายฝัง่ (RMP) 12 12 12 12
4. ตรวจวิเคราะห์เพื่อการเฝ้าระวังและติดตามสารตกค้าง
1,137 1,195 1,116 1,150
ชนดิ ใหม่ที่มกี ารนำมาใชใ้ นการเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำ
รวม
2.1 ตรวจวเิ คราะห์สารตกค้างเพือ่ การรับรองฟารม์
หน่วยตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ำ มีแผนในการให้บริการตรวจวิเคราะห์สารตกค้าง
เพื่อการรับรองฟาร์มประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 520 ตัวอย่าง โดยได้ดำเนินการตรวจวิเคราะห์
ท้ังสิ้น 534 ตัวอย่าง คิดเป็น 102.69 % (ตารางที่ 6) และในปีงบประมาณ 2564 มีแผนการตรวจวิเคราะห์
จำนวน 580 ตวั อย่าง ได้ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น 584 ตวั อย่าง คดิ เป็น 100.68 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 7)
โดยตรวจวเิ คราะหย์ าปฏชิ วี นะ 6 ชนดิ และตรวจแบคทเี รยี โคลิฟอรม์ ทั้งหมด เพ่ือการรบั รองมาตรฐานฟาร์ม
ตารางที่ 6 ผลตรวจวิเคราะห์สารตกคา้ งและแบคทีเรยี โคลิฟอรม์ ทั้งหมดเพื่อการรับรองฟาร์ม ประจำปี
งบประมาณ 2563
ชนิดสาร เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน พบสารตกคา้ ง
(ตัวอยา่ ง) (ตัวอย่าง) (ตัวอย่าง)
1. Oxolinic acid 81 0
2. Oxytetracycline 78 81 0
3. Chloramphenicol 78 107 0
4. Floroquinolones 90 97 0
5. Nitrofurans 91 90 0
6. Malachite green 91 78 0
92
Leuco - Malachite green 534 0
รวม 520
ตารางท่ี 7 ผลตรวจวเิ คราะหส์ ารตกคา้ งและแบคทเี รยี โคลิฟอรม์ ทัง้ หมดเพ่ือการรับรองฟาร์ม ประจำปี
งบประมาณ 2564
ชนดิ สาร เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน พบสารตกค้าง
(ตวั อยา่ ง) (ตัวอย่าง) (ตัวอย่าง)
1. Oxolinic acid 101 0
2. Oxytetracycline 95 101 0
3. Chloramphenicol 95 119 0
4. Floroquinolones 98 119 0
5. Nitrofurans 98 72 0
6. Malachite green 97 72 0
97
Leuco - Malachite green 584 0
รวม 580
|
2.2 ตรวจวเิ คราะห์ปัจจัยการผลิต
ปัจจัยการผลิตที่นำมาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ จากงานตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มจะเก็บ
ตัวอยา่ งจากฟาร์ม เชน่ อาหาร วิตามิน โปรไบโอตกิ ยาและสารเคมีอื่นๆ ทใี่ ช้ภายในฟาร์ม โดยจะตรวจด้วยวิธี
Screening Test ในยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน คลอแรมฟินิคอล และไนโตรฟูแรนส์ ในปีงบประมาณ 2563
มีแผนการตรวจ จำนวน 449 ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด 449 ตัวอย่าง คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์
ซึ่งผลการตรวจไม่พบการตกค้างในทุกตัวอย่างที่ส่งตรวจ โดยมีรายละเอียด ดังตารางที่ 8 และใน
ปีงบประมาณ 2564 มีแผนการตรววิเคราะห์ จำนวน 465 ตัวอย่าง โดยได้ตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด 465
ตัวอย่าง คิดเปน็ 100 เปอร์เซ็นต์ ผลตรวจของทุกตวั อย่างท่ีสง่ ตรวจไม่พบสารตกค้างท้ัง 3 ชนิด (ตารางท่ี 8)
ตารางที่ 8 การให้บริการเกษตรกรดา้ นตรวจวิเคราะหส์ ารตกคา้ งในปัจจยั การผลิต
ชนิดสารตกคา้ ง 2563 2564 ไม่พบ
ที่ตรวจวิเคราะห์ จำนวนตวั อยา่ ง พบ ไมพ่ บ จำนวนตัวอยา่ ง พบ 155
150 155 0 155
กล่มุ Tetracyclines 150 0 150 155 0 155
150 0 149 155 0 465
กลุ่ม Nitrofurans 149 0 449 465 0
กลมุ่ Chloramphenicol 449 0
รวม
2.3 การให้บริการเกษตรกรดา้ นตรวจวิเคราะหเ์ พื่อเฝ้าระวังสารตกค้างจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ชายฝ่งั (Residue Monitoring Program; RMP)
แผนการตรวจวิเคราะห์สารตกค้างเพื่อการเฝ้าระวังสารตกค้างจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ัง
ประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 119 ตัวอย่าง ได้ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 119 ตัวอย่าง
คิดเปน็ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยตรวจวเิ คราะหย์ าปฏชิ วี นะ 15 ชนิดสาร (ตารางที่ 9) และในปีงบประมาณ 2564
มีแผนการตรวจวิเคราะห์ จำนวน 89 ตัวอย่าง ได้ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ทัง้ หมด จำนวน 89 ตัวอย่าง คิดเปน็
100 เปอร์เซน็ ต์ โดยตรวจวเิ คราะห์ยาปฏชิ ีวนะ 12 ชนิดสาร ดงั ตารางท่ี 10
ตารางที่ 9 ผลการตรวจวเิ คราะห์เพือ่ การเฝ้าระวงั สารตกคา้ งจากการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ำ้ ชายฝัง่ ปงี บประมาณ 2563
ชนิดสาร เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน พบสารตกคา้ ง
(ตวั อย่าง) (ตัวอยา่ ง) (ตัวอยา่ ง)
1. Stilbenes 3 0
2. Steroids 3 3 0
3. Nitrofurans 3 13 0
4. Chloramphenicol 13 13 0
5. Nitromidazoles 13 12 0
6. Tetracyclines 12 8 0
7. Fluroquinolones 8 13 0
8. Sulphonamides 13 10 0
9. Organochlorine compounds 10 2 0
10. Chemical elements 2 5 0
11. Malachite green 5 16 0
16
Leuco - Malachite green 13 0
12. Anthehelmintics 13 4 0
13. Anticoccodails 4 2 0
14. C.violet 2 2 0
15. Amoxiclins 2 119 0
119
รวม
ตารางที่ 10 ผลการตรวจวเิ คราะหเ์ พ่อื การเฝา้ ระวังสารตกคา้ งจากการเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำชายฝัง่ ปงี บประมาณ 2564
ชนดิ สาร เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน พบสารตกคา้ ง
(ตวั อยา่ ง) (ตวั อยา่ ง) (ตวั อยา่ ง)
1. Nitrofurans 8 0
2. Chloramphenicol 8 9 0
3. Nitromidazoles 9 9 0
4. Tetracyclines 9 7 0
5. Fluroquinolones 7 12 0
6. Sulphonamides 12 9 0
7. Organochlorine compounds 9 2 0
8. Chemical elements 2 5 0
9. Malachite green 5 13 0
13
Leuco - Malachite green 10 0
10. Anthehelmintics 10 3 0
11. Anticoccodails 3 2 0
12. C.violet 2 89 0
89
รวม
|
จากผลการตรวจวิเคราะห์ในปีงบประมาณ 2563 จำนวน 119 ตัวอย่าง และปีงบประมาณ 2564
จำนวน 89 ตวั อยา่ ง พบวา่ ไมพ่ บการตกค้างของยาปฏชิ ีวนะในทุกชนดิ ที่ส่งตรวจ ซึง่ แสดงให้เห็นวา่ จากการรณรงค์
การงดใช้ยาปฏิชีวนะในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและจากการส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าร่วมโครงการรับรอง
มาตรฐานฟาร์ม GAP/CoC เกษตรกรให้ความร่วมมือและคำนึงถึงการตกคา้ งในสัตว์นำ้ กุ้งส่งออกเป็นอย่างมาก
และหันมาใชว้ ิธีการเลี้ยงแบบชีวภาพด้วยการใช้จุลินทรยี ์ต่างๆ เช่น จุลินทรียส์ ังเคราะห์แสง จุลินทรยี ร์ ำขา้ ว
จุลินทรีย์หน่อกล้วย น้ำหมักปลา น้ำหมักสับปะรด และอื่นๆ ในกระบวนการบำบัดดินและน้ำ รวมถึงการใช้
โปรไบโอตกิ เพ่ือสรา้ งความแขง็ แรงของกุง้ โดยไม่พึง่ ยาและสารเคมี
กจิ กรรมรอง : เฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุมโรคสตั วน์ ้ำ
หนว่ ยหน่วยตรวจสอบคณุ ภาพวัตถดุ บิ สัตวน์ ำ้ ศูนย์วิจยั และพฒั นาการเพาะเลี้ยงสัตวน์ ำ้ ชายฝง่ั พังงา
ไดด้ ำเนนิ การเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเล ดงั น้ี
1. เฝ้าระวังเชิงรุก การดำเนินการเฝ้าระวังเชิงรุกในประเทศเพ่ือแสดงสถานะปลอดโรค (Country free)
เปน็ การเฝ้าระวังโรคเพ่ือให้ได้ข้อมลู สำหรับแสดงสถานะปลอดโรคท่ีกำหนดระดับประเทศ ใช้ในการเฝ้าระวังโรค
ที่ไม่เคยมีรายงานในประเทศ และถูกกำหนดอยู่ในบัญชีรายชื่อโรคขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ
(OIE) โดยกำหนดให้เฝ้าระวังโรคที่เกิดจากเชื้อ 3 ชนิด ได้แก่ IMNV, CMNV และ NHPB ในปีงบประมาณ 2563
หนว่ ยตรวจสอบฯ มีแผนการตรวจวิเคราะห์จำนวน 720 วเิ คราะห์ท้ังหมด 630 ตัวอยา่ ง คดิ เปน็ 87.5 เปอร์เซ็นต์
โดยแบ่งเป็นวิเคราะห์โรคในกุ้งทะเล 504 ตัวอย่าง และในพาหะ เช่น ปูแสม กุ้ง เคยธรรมชาติบริเวณแหล่งเลี้ยง
126 ตัวอย่าง ตรวจไม่พบเชื้อ IMNV,CMNV และ NHPB ทุกตัวอย่าง (ตารางที่ 11) ในปีงงบประมาณ 2564
หน่วยตรวจสอบฯ มแี ผนการตรวจวิเคราะห์จำนวน 576 โดยได้วิเคราะห์ตัวอย่างในกุ้งทะเลทั้งหมด 540 ตัวอย่าง
คิดเปน็ 93.75 เปอรเ์ ซน็ ต์ ซ่งึ ผลการตรวจไมพ่ บเช้อื IMNV,CMNV และ NHPB ในทุกตวั อย่าง (ตารางที่ 12)
2. การเฝา้ ระวังเชิงรับ (Work in) สัตว์นำ้ ปว่ ย น้ำ ดิน ละตวั อยา่ งอื่นๆ ซ่ึงในกิจกรรมเฝ้าระวังเชิงรับ
มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวิเคราะห์เชื้อก่อโรคในตัวอย่างที่มาจากการนำส่งของเกษตรกรหรือเจ้าหน้าที่
โดยครอบคลุมตัวอย่างสัตว์น้ำป่วย สัตว์น้ำระหวา่ งเล้ียง ตวั อย่างดนิ หรือตัวอยา่ งอ่ืนๆ ในปงี บประมาณ 2563
มีแผนการดำเนินการ จำนวน 2,730 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงาน หน่วยตรวจสอบฯ ให้บริการไปทั้งสิ้นรวม
2,742 ตัวอย่าง คิดเป็น 100.43 เปอร์เซ็นต์ ดังตารางที่ 11 และในปีงบประมาณ 2564 หน่วยตรวจสอบฯ
มีแผนการดำเนินงาน จำนวน 2,214 ตัวอย่าง ได้ให้บริการไปทั้งสิ้นรวม 3,701 ตัวอย่าง คิดเป็น 167.16
เปอร์เซน็ ต์ (ตารางท่ี 12)
3. กิจกรรมการสอบสวนและควบคมุ โรคระบาดในสตั วน์ ำ้
กิจกรรมการสอบสวนโรค เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาโรคสัตว์น้ำในสถานประกอบการ
ท้ังโรงเพาะฟัก โรงอนุบาล ตลอดจนฟาร์มเล้ียงกุ้งโดยใช้ผลการตรวจโรคกิจกรรมต่างๆ แล้วมีการตรวจพบ
การปนเป้ือนของเชื้อ โดยในปีงบประมาณ 2563 หนว่ ยตรวจสอบฯ มีกจิ กรรมการสอบสวนโรค จำนวน 2 ฟาร์ม
(ตารางที่ 11) เจา้ หน้าทเ่ี ขา้ ไปดำเนนิ การในฟาร์มท่ีตรวจพบ โรคตายด่วน VPAHPND 1 ฟาร์ม และไมโครสปอริเดีย
(EHP) 1 ฟาร์ม โดยเจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบฯ เข้าสอบสวนหาสาเหตุการพบโรคร่วมกับฟาร์ม กำหนดแนวทาง
การจัดการและฟาร์มยินดีดำเนินการแก้ไขตามแนวทางที่กำหนดร่วมกันหลังจากนั้น เจ้าหน้าที่เข้าติดตาม
การดำเนินการแก้ไขของฟาร์ม โดยการเก็บตัวอย่างมาตรวจซ้ำ (แล้วแต่กรณี) หรือประเมินจากผลผลิต หรือ
ความสำเรจ็ ในรนุ่ ถดั มา ทง้ั 2 ฟารม์
ในปงี บประมาณ 2564 หนว่ ยตรวจสอบฯ มกี ิจกรรมการสอบสวนโรค จำนวน 2 ฟาร์ม (ตารางท่ี 12)
เจ้าหน้าที่เข้าไปดำเนินการในฟาร์มที่ตรวจพบ โรคไมโครสปอริเดีย (EHP) ทั้ง 2 ฟาร์ม โดยเจ้าหน้าที่
หน่วยตรวจสอบฯ เข้าสอบสวนหาสาเหตุการพบโรคร่วมกับฟาร์ม กำหนดแนวทางการจัดการและฟาร์ม
ยินดีดำเนินการแก้ไขตามแนวทางที่กำหนดร่วมกันหลังจากนั้น เจ้าหน้าที่เข้าติดตามการดำเนินการแก้ไข
ของฟาร์ม โดยการเก็บตวั อย่างมาตรวจซำ้ (แลว้ แตก่ รณ)ี หรือประเมินจากผลผลิต หรอื ความสำเร็จในรุ่นถัดมา
ท้งั 2 ฟาร์ม
ตารางที่ 11 ผลการเฝา้ ระวงั โรคสตั ว์นำ้ ในประเทศและส่งออก และเฝ้าระวังฟาร์มปลอดโรคในปงี บประมาณ 2563
กจิ กรรม/งานท่ีจะทำ หน่วยนับ แผน ผล
1. การเฝา้ ระวงั เชงิ รกุ ในประเทศเพือ่ แสดงสถานะปลอดโรค (Country free) ใน ตัวอยา่ ง 720 630
ฟารม์ กงุ้ ทะเล
1.1 กุ้งทะเล ตวั อยา่ ง 576 504
1.2 พาหะ ตวั อยา่ ง 124 126
2. การเฝ้าระวังเชิงรกุ เพอ่ื แสดงสถานะของโรคในประเทศ (National surveillance) ตวั อย่าง 2,124 4,428
2.1 การเฝ้าระวงั เชิงรุกเพอ่ื แสดงสถานะของโรคในโรงอนุบาลกุ้งทะเล ตัวอยา่ ง 864 792
2.2 การเฝ้าระวงั เชงิ รุกเพื่อแสดงสถานะของโรคในโรงอนุบาลกุง้ ทะเล: lot by lot ตวั อย่าง 1,260 3,636
3. การเฝ้าระวงั เชงิ รุก สัตวน์ ำ้ นำเขา้ กงุ้ ปลาทะเล และสตั ว์นำ้ อ่ืนๆ ตัวอย่าง 624 1,152
3.1 ก้งุ ทะเล Larvae ตัวอยา่ ง 48 -
3.2 กุง้ ทะเล Juvenile ตวั อย่าง 576 1,152
4. ฟารม์ ส่งออก ตวั อยา่ ง 570 633
4.1 ฟารม์ ก้งุ ทะเล ตวั อย่าง 546 609
4.2 ฟาร์มสัตว์น้ำชนิดอ่ืน ๆ ตัวอยา่ ง 24 24
5. การเฝา้ ระวังฟาร์มผลิตลูกกุ้งขาวแวนนาไมปลอดโรค มกษ 7432 - 2558 ตัวอย่าง
5.1 ฟารม์ ตัวอย่าง 11 8
5.2 ตัวอยา่ งวเิ คราะห์ ตัวอยา่ ง 1,584 1,008
6. การเฝา้ ระวงั เชิงรับ (Work in) ตัวอยา่ ง
6.1 ตรวจโรคสัตว์น้ำ น้ำ ดิน และอ่นื ๆ (Walk in) ตวั อยา่ ง 2,730 2,742
7. การสอบสวนและควบคมุ โรคระบาดในสัตว์นำ้ ตัวอยา่ ง 2 2
|
ตารางที่ 12 ผลการเฝ้าระวงั โรคสัตวน์ ำ้ ในประเทศและส่งออก และเฝา้ ระวงั ฟาร์มปลอดโรคในปงี บประมาณ 2564
กจิ กรรม/งานทจี่ ะทำ หนว่ ยนับ แผน ผล
1. การเฝ้าระวังเชงิ รกุ ในประเทศเพ่อื แสดงสถานะปลอดโรค (Country free) ใน ตัวอยา่ ง 576 540
ฟารม์ กุง้ ทะเล ตวั อยา่ ง 576 540
1.1 กงุ้ ทะเล
2. การเฝ้าระวงั เชงิ รุกโรงอนุบาลกงุ้ ทะเล ตวั อยา่ ง 3,510 5,220
2.1 ลูกกุง้ ตวั อยา่ ง 3,240 4,950
2.2 น้ำ - อาหาร ตัวอย่าง 270 270
3. กิจกรรมการเฝา้ ระวังเชงิ รุก สัตว์น้ำนำเขา้ กุ้ง ปลาทะเล และสตั วน์ ำ้ อ่นื ๆ ตวั อย่าง 1,188 871
3.1 กงุ้ ทะเล Larvae ตวั อยา่ ง 0 27
3.2 กุ้งทะเล Juvenile ตวั อย่าง 1,188 844
4. การเฝา้ ระวงั โรคสตั ว์น้ำเพื่อการส่งออก ผลติ ภณั ฑส์ ัตว์นำ้ สง่ ออก ตัวอย่าง 792 852
4.1 ฟาร์มกุ้งทะเล ตวั อย่าง 768 828
4.3 ฟาร์มสตั ว์น้ำชนิดอนื่ ๆ (ปลาการ์ตนู ) ตวั อยา่ ง 24 24
5. การเฝา้ ระวังฟารม์ ผลิตลูกกุง้ ขาวแวนนาไมปลอดโรค มกษ 7432 - 2558
5.1 การเฝา้ ระวังฟารม์ ผลติ ลูกกุ้งขาวแวนนาไมปลอดโรค มกษ 7432-2558 ตวั อยา่ ง 1,344 1,344
ตวั อย่าง 2,214 3,701
6. การเฝา้ ระวงั เชิงรบั (Walk in) ตัวอย่าง 2,214 43
6.1 ตัวอย่างสตั วน์ ้ำป่วย ตัวอยา่ ง
6.2 การตรวจคดั กรองเช้ือตวั อย่างตา่ งๆ 0 3,658
7. กิจกรรมการสบื หาสาเหตุของการพบเช้ือก่อโรคและการควบคมุ โรคระบาดใน ฟาร์ม 2 2
สัตว์น้ำ
4. กิจกรรมตรวจรับรองกงุ้ กลุ าดำมีชวี ติ เพอ่ื สง่ ออกสาธารณรฐั ประชาชนจนี
เพื่อรับรองสถานะของฟาร์มเลี้ยงในบัญชีรายชื่อที่ส่งออกกุ้งกุลาดำมีชีวิตเพื่อการบริโภคไปยัง
สาธารณรัฐประชาชนจนี
4.1 การตรวจติดตามด้านสุขอนามัยและโรงกุ้งทะเลทุกๆ 6 เดือน ซึ่งเป็นการควบคุมคุณภาพ
สินคา้ กงุ้ กลุ าดำตามแนวทางการจดั ทำคลสั เตอรเ์ พือ่ ส่งออกกุ้งกุลาดำ แผนการดำเนินการปี 2563 ทำการเก็บ
ตัวอย่างกุ้งกุลาดำจากฟาร์มเลี้ยงในบ่อดินที่มีอายุมากกว่า 60 วันขึ้นไป โดยมีแผนการดำเนินการ จำนวน
2,520 ตัวอย่าง ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยตรวจสอบฯ ให้บริการไปทงั้ สิ้นรวม 2,574 ตัวอยา่ ง คดิ เป็น 102.14
เปอร์เซ็นต์และในปีงบประมาณ 2564 ได้มีแผนการดำเนินการ จำนวน 3,456 ตัวอย่าง ได้ดำเนินการ
ตรวจวเิ คราะห์ไปทั้งสนิ้ 1,818 ตวั อย่าง คดิ เปน็ 52.60 เปอร์เซน็ ต์ (ตารางท่ี 13)
4.2 การตรวจเชื้อโรค 6 เชื้อ ได้แก่ WSSV, IHHNV, TSV, YHV, IMNV และ VPAHPND ซึ่งมีผล
การดำเนินการตรวจไม่พบโรคทั้ง 6 เชื้อในทุกตัวอย่าง ทั้งในปงี บประมาณ 2563 และ 2564 (ตารางที่ 13) ท้ังนี้
ทุกฟาร์มที่ผ่านการตรวจรับรองแล้ว สามารถส่งออกกุ้งกุลาดำมีชีวิตเพื่อส่งออกไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนได้
รายชือ่ เกษตรกรทผี่ ่านการตรวจรบั รองกุ้งกุลาดำมีชีวิตเพื่อส่งออกสาธารณรฐั ประชาชนจีน แสดงในตารางที่ 14
4.3 การผลิตหวั เชือ้ จุลนิ ทรีย์ ปม.1 ชนดิ นำ้ เพ่ือแจกจ่ายให้กบั เกษตรกรสำหรับใช้ในการเพาะเลี้ยง
สัตว์น้ำ ในปีงบประมาณ 2563 มีแผนการผลิตจากงบประมาณปกติ จำนวน 3,750 ขวด ผลิตแจกให้แก่
เกษตรกรจำนวน 3,902 ขวด คิดเป็น 104.05 เปอร์เซ็นต์ และในปีงบประมาณ 2564 มีแผนการผลิต
หัวเช้อื จลุ นิ ทรยี ์ (ปม.1) จำนวน 2,900 ขวด โดยในระยะเวลาตลอดปีสามารถผลติ แจกให้แก่เกษตรกรได้ท้ังหมด
3,080 ขวด คิดเป็น 106.20 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 13) ผลจากการผลติ จุลินทรยี ์ ปม.1 เพอ่ื แจกจา่ ยใหเ้ กษตรกร
ในแต่ละพื้นท่ีพบการเกิดโรคกลุ่มวิบริโอน้อยลง โดยเฉพาะโรคตายด่วน VPAHPND ทำให้การจัดการบ่อเล้ยี ง
ทำได้ง่ายขึ้น คุณภาพน้ำนิ่ง พีเอชในรอบวันไม่เปลี่ยนแปลงมาก และเลนหรือของเสียหลังจากการจับกุ้งแล้ว
คงเหลอื ค้างน้อยมากและผลผลติ ท่ีได้เพ่ิมสูงข้นึ
ตารางที่ 13 ตารางสรุปกิจกรรมยอ่ ย : ตรวจรบั รองกุ้งมีชีวติ ส่งออกสาธารณรัฐประชาชนจนี
กิจกรรม/งานทีจ่ ะทำ หนว่ ยนบั 2563 หน่วยนับ 2564
แผนรวม ผลรวม ตวั อย่าง แผนรวม ผลรวม
1. ตรวจสุขอนามยั โรงเพาะฟกั และ ตวั อย่าง 2,520 2,574 3,456 1,818
ฟารม์ ก้งุ ทะเลไปจนี
42 ตวั อยา่ ง 288 90
2. ตรวจโรคกุ้งทะเลในสถานบรรจุสัตว์น้ำ ครั้ง/เดอื น
(Packing house) ไปจีน 3,750 3,902 ขวด 2,900 3,080
3. ผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ (ปม.1) เพื่อใช้ ขวด
ในการเพาะเล้ียงสตั ว์นำ้
|
ตารางท่ี 14 รายชอ่ื เกษตรกรท่ีผ่านการตรวจรับรองกุ้งกลุ าดำมีชีวติ เพอ่ื สง่ ออกสาธารณรัฐประชาชนจนี
No. Farm Marine shrimp Name Farm Farm
address
registration culture address
Phangnga
number certificate Phangnga
Phangnga
number Phangnga
Phangnga
1 8201000049 6382015300055 Mr. Direk Chimlek Mueang Phangnga
Phangnga
2 8201000226 6382055300027 Mr. Sanguan Kulvanich Takua Pa Phangnga
Phangnga
6382055300028 Phangnga
Phangnga
3 8201000424 6382085300008 Mr. Klanarong Saenkot Thai Mueang Phangnga
Phangnga
4 8201000495 6382065300011 Mr. Montre Suephon Khura Buri Phangnga
Phangnga
6 8201000511 6382075300001 Mr. Sommai Saetae Thap Put Phangnga
Phangnga
7 8201000650 6382085300004 Mrs. Valai Muenphan Thai Mueang Phangnga
Phangnga
8 8201000670 6382075300026 Mr. Sarod Liamchat Thap Put Phangnga
Phangnga
9 8201000690 6382075300013 Mr. Arun Sitisak Thap Put Phangnga
Phangnga
10 8201000756 6382045300050 Mrs. Valai Muenphan Takua Thung Phangnga
Phangnga
11 8201001018 6382075300047 Mr. Sanat Sakpattanarikul Thap Put Phangnga
Phangnga
6382075300048 Phangnga
Phangnga
12 8201001173 6382075300017 Mrs. Thachakorn Kaewnoi Thap Put Phangnga
Phangnga
13 8201001322 6382015300010 Mr. Suriyon Mimae Mueang
14 8201001504 6382055300018 Mr. Kosin Limsakul Takua Pa
15 8201001505 6382055300011 Mr. Suton Tongleong Takua Pa
16 8201002009 6382015300025 Mr.Wichan Suwanno Mueang
17 8201002345 6382015300015 Mr. Sarote Jittakarn Mueang
18 8201003206 6382075300005 Mr. Sahaphon Saetae Thap Put
19 8201003284 6382045300045 Mr. Viroj Pakapurk Takua Thung
20 8201003290 6382075300010 Mr. Anon Chinakan Thap Put
6382075300011
6382075300012
21 8201003432 6382015300006 Mr. Kosol Punyokun Mueang
22 8201003443 6382065300009 Mr. Montre Suephon Khura Buri
23 8201003444 6382045300012 Mr. Wattana Rangsinara Takua Thung
24 8201003478 6382045300007 Mr. Uthit Jindapol Takua Thung
25 8201003683 6382045300011 Mr. Wattana Rangsinara Takua Thung
26 8201004080 6382085300005 Mr. Saksahakorn Khongsamut (IT 5) Thai Mueang
27 8201004082 6382045300020 Mr. Saksahakorn Khongsamut (IT 11) Takua Thung
28 8201005009 6382045300032 Mr. Montree Lakdee Takua Thung
ตารางที่ 14 (ต่อ)
No. Farm Marine shrimp Name Farm Farm
address address
registration culture
Thai Mueang Phangnga
number certificate Mueang Phangnga
Thap Put Phangnga
number Takua Thung Phangnga
Phangnga
29 8201006057 6382085300010 Mrs. Natnaree Suchada Khura Buri Phangnga
Mueang Phangnga
30 8201006313 6382015300035 Mr. Sitthichoke Saengwichitr Khura Buri Phangnga
Thap Put Phangnga
31 8201006323 6382075300002 Mr. Sumate Kaewkoy Takua Thung Phangnga
Thap Put Phangnga
32 8201006365 6382045300008 Mrs. Pongsri Jindapol Takua Thung Phangnga
Khura Buri Phangnga
6382045300009 Thai Mueang Phangnga
Takua Thung Phangnga
6382045300010 Takua Pa Phangnga
Takua Pa Phangnga
33 8201006368 6382065300027 Mrs. Pakhamon Tanitnon Khura Buri Phangnga
Takua Thung Phangnga
34 8201006895 6382015300048 Miss. Jenjira Promhitathon Phangnga
Takua Pa Phangnga
35 8201007042 6382065300034 Mr. Wichet Mangcharoen Takua Pa Phangnga
Takua Pa Phangnga
36 8201007103 6382075300046 Miss Arunee Sukputtanasrikul Thap Put Phangnga
Khura Buri Phangnga
37 8201007112 6382045300017 Mr. Yuttavate Yeanyonglertsawat Khura Buri Phangnga
Takua Thung Phangnga
38 8201007142 6382075300014 Mr. Wanchai Sukputtanasrikul Takua Thung Phangnga
Takua Pa Phangnga
39 8201007143 6382045300021 Mr. Amphon Sathitsin Takua Thung Phangnga
Phangnga
40 8201007147 6382065300035 Mr. Wichet Mangcharoen
41 8201007148 6382085300011 Mrs. Surachanee Sithisuwan
42 8201007375 6382045300018 Mr. Kamai Bunkar
43 8201007475 6382055300048 Mr. Prasoet Choeibamrung
44 8201007476 6382055300049 Mr. Somkiad Mueangthai
45 8201007567 6382065300008 Miss. Sutida Sereeruangrong
46 8201007717 6382045300026 Mrs. Saengjan Khongnam
6382045300027
47 8201012845 6382055300020 Mr. Wanchai Suwanvaree
48 8201012846 6382055300036 Mr. Prasoet Choeibamrung
49 8201012951 6382055300030 Mr. Aegarach Ritpho
50 8201012967 6382075300023 Miss Arunee Sukputtanasrikul
51 8201013075 6382065300036 Mr. Bunpha Itsarangkun
52 8201013080 6382065300007 Miss. Sutida Sereeruangrong
53 8201013136 6382045300033 Mr. Kamai Bunkar
54 8201013197 6382045300064 Mr. Somvong Chaihaw
55 8201013204 6382055300029 Mr. Aegarach Ritpho
56 8201013213 6382045300066 Mr. Somchai Roojak
|
ตารางท่ี 14 (ตอ่ )
No. Farm Marine shrimp Name Farm Farm
address
registration culture address
Phangnga
number certificate Phangnga
Phangnga
number Phangnga
Phangnga
57 8201013217 6382085300007 Mr. Suttiwut Ekthaweewattanadet Thai Mueang Phangnga
Phangnga
58 8201013219 6382015300046 Miss. Nida Huthajuta Mueang Phangnga
Phangnga
6382015300047 Phangnga
Phangnga
59 8201013222 6382075300040 Mr. Sahaphol Sae-tae Thap Put Phangnga
Phangnga
6382075300041 Phangnga
Phangnga
60 8201006003 6382015300045 Mrs. Parwana Boonvorashot Mueang Phangnga
Phangnga
61 8201006370 6382075300009 Mr. Anon Chinakan Thap Put Phangnga
Phangnga
62 8201001596 6382075300025 Mr. Sarod Liamchat Thap Put Phangnga
63 8201007441 6382075300035 Mr. Klai Chidchua Thap Put
64 8201003528 6382065300030 Miss Kalyakorn Pinthong Khura Buri
65 8201013319 6382075300020 Mrs. Thachakorn Kaewnoi Thap Put
66 8201013345 6382075300027 Mr. Khomjak Oammarawachirakun Thap Put
67 8201006391 6382045300057 Mr. Rungrote Phimanprom Takua Thung
68 8201000217 6382085300003 Miss Porporn Niranviroj Thai Mueang
69 8201013327 6382045300006 Mr. Phairat Bamrung Takua Thung
70 8201013120 6382055300047 Mr. Wichet Mangcharoen Takua Pa
71 8201013283 6382055300009 JERRY & SON COMPANY LIMITED Takua Pa
72 8201013375 6382045300055 Mr. Jadet Mathuros Takua Thung
73 8201012961 6382065300014 Mr. Prawet Pusitpokai Khura Buri
74 8201013435 6382045300013 Mr. Wattana Rangsinara Takua Thung
งานออกหนังสือกำกบั การจำหน่ายสัตวน์ ำ้ (Movement Document; MD)
ในปีงบประมาณ 2563 หน่วยตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตวน์ ำ้ ได้ให้บริการออกหนังสือการจำหน่าย
สัตว์น้ำ (MD) จำนวน 1,419 ฉบับ ดังนี้ แยกเป็นกุ้งขาว จำนวน 1,081 ฉบับ คิดเป็น 76.18 เปอร์เซ็นต์
ปริมาณที่จับ 326,699,955 กิโลกรัม กุ้งกุลาดำ จำนวน 338 ฉบับ คิดเป็น 23.82 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณที่จับ
1,069,923 กิโลกรัม รายละเอียดดงั ตารางที่ 15
ตารางที่ 15 การออกหนังสือกำกบั การจำหนา่ ยสตั ว์นำ้ (MD) ปีงบประมาณ 2563
เดอื น กุ้งขาว กุง้ กลุ าดำ
ฉบบั จำนวน (kg) ฉบับ จำนวน (kg)
ต.ค.62 80 333,500 38 124,655
พ.ย.62 99 322,040,000 28 72,918
ธ.ค.62 99 440,793 29 74,810
ม.ค.63 80 393,100 90 233,240
ก.พ.63 58 274,029 49 156,500
ม.ี ค.63 95 534,313 31 86,300
เม.ย.63 70 329,760 26 70,220
พ.ค.63 65 279,646 18 73,900
มิ.ย.63 88 388,436 10 43,600
ก.ค.63 82 377,940 8 38,580
ส.ค.63 128 744,717 1 52,950
ก.ย.63 137 897,221 10 42,250
รวม 1,081 326,699,955 338 1,069,923
งานหนังสือกำกับการจำหน่ายลกู พนั ธุส์ ตั วน์ ้ำ (Fry Movement Document; FMD)
ในปีงบประมาณ 2563 หนว่ ยตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ำได้ให้บริการออกหนังสือการจำหน่าย
สัตว์น้ำ (FMD) จำนวน 1,968 ฉบับ ดังนี้ แยกเป็นกุ้งขาว จำนวน 1,948 ฉบับ คิดเป็น 98.98 เปอร์เซ็นต์
โดยแบ่งเป็นกุ้งขาวระยะนอเพลียส จำนวน 3,151,910,000 ล้านตัว และกุ้งขาวระยะ PL จำนวน
1,029,871,510 ล้านตัว กุ้งกุลาดำ จำนวน 20 ฉบับ คิดเป็น 1.02 เปอร์เซ็นต์ โดยแบ่งเป็นกุ้งกุลาดำ
ระยะนอเพลียส จำนวน 7,000,000 ล้านตวั และกุ้งกุลาดำระยะ PL จำนวน 9,300,000 ลา้ นตวั รายละเอยี ด
ดังตารางท่ี 16
|
ตารางท่ี 16 การออกหนังสือกำกับการจำหน่ายลูกพันธ์ุสัตวน์ ้ำ (FMD) ปีงบประมาณ 2563
กุง้ ขาว กุ้งกลุ าดำ
นอเพลยี ส
เดือน ฉบับ จำนวน (ล้านตวั ) กงุ้ PL นอเพลยี ส กงุ้ PL
104 234,000,000 จำนวน (ลา้ นตวั )
ต.ค.62 88 139,000,000 ฉบับ จำนวน (ล้านตวั ) จำนวน (ล้านตัว)
พ.ย.62 126 114,000,000 50,730,000
ธ.ค.62 110 123,000,000 54,130,600 2- 1,600,000
ม.ค.63 109 119,000,000 69,130,000
ก.พ.63 104 917,500,000 62,751,200 2- 900,000
ม.ี ค.63 109 91,000,000 47,974,000
เม.ย.63 110 96,010,000 58,615,000 -- -
พ.ค.63 181 311,500,000 51,710,000
มิ.ย.63 221 568,300,000 53,110,000 3- 1,300,000
ก.ค.63 206 438,600,000 81,531,000
ส.ค.63 480 - 87,325,000 3- 1,300,000
ก.ย.63 97,955,000
รวม 1,948 3,151,910,000 314,909,710 -- -
1,029,871,510 -- -
-- -
1- 600,000
2- 600,000
5 7,000,000 2,000,000
2- 1,000,000
20 7,000,000 9,300,000
การให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงามีการให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ ได้แก่ ค่าปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในน้ำ ค่าความเค็ม ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
ค่าความเป็นด่าง ค่าปริมาณไนไตรท์ ค่าปริมาณไนเตรท ค่าปริมาณแอมโมเนีย ค่าไนโตรเจนรวม
ค่าฟอสฟอรัสรวม เป็นต้น โดยในปีงบประมาณ 2563 มีจำนวนการให้บริการแก่เกษตรกรในพื้นที่
ทั้งสิ้น จำนวน 160 ราย (ตารางที่ 17) และในปีงบประมาณ 2564 ได้มีการให้บริการทั้งสิ้น จำนวน 157 ราย
(ตารางท่ี 18)
ตารางท่ี 17 การให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำแก่เกษตรกร ภายในหน่วยงานและหน่วยงานอื่นๆ
ประจำปีงบประมาณ 2563
เดอื น พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
160
จำนวนที่ 12 13 12 14 13 12 12 13 15 14 15 15
ใหบ้ รกิ าร (ราย)
ตารางท่ี 18 การให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำแก่เกษตรกร ภายในหน่วยงานและหน่วยงานอื่นๆ
ประจำปีงบประมาณ 2564
เดือน พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
157
จำนวนท่ี 14 14 12 12 13 16 14 15 13 14 15 15
ใหบ้ ริการ (ราย)
|
กจิ กรรมย่อย: การเฝ้าระวังคุณภาพนำ้ จากแหล่งน้ำธรรมชาติ (Mo.3)
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ังพังงา ได้ดำเนินการตรวจคุณภาพน้ำในเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ังจังหวัดพังงา ในปีงบประมาณ 2563
มีแผนการตรวจท่ี 252 ตวั อยา่ ง และไดม้ กี ารปฏบิ ตั ิงานได้ตามเป้าหมายเรยี บร้อยแล้ว มีรายละเอยี ดดงั ตารางที่ 19
ตารางท่ี 19 คุณภาพน้ำในการตดิ ตามเฝ้าระวังเขตเลี้ยงสัตวน์ ้ำชายฝั่งปีงบประมาณ 2563
จดุ เก็บน้ำ Temp Salinity pH DO พารามิเตอร์ TP TAN TSS BOD
30±0.58 32±2.00 7.70±0.18 4.79±0.68 TN 0.03±0.00 0.05±0.01 28.33±9.07 2.29±0.47
คลองบางเตย 30±0.58 34±1.53 7.75±0.18 4.91±1.31 0.04±0.01 0.03±0.01 24.67±6.66 2.67±0.55
คลองบางพฒั น์ 30±0.58 34±0.58 7.76±0.15 5.62±1.28 0.20±0.11 0.03±0.00 0.02±0.01 17.00±8.72 1.96±0.20
คลองบ้านเกาะเคีย่ ม 30±0.58 29±5.52 7.42±0.18 5.28±1.08 0.22±0.07 0.06±0.03 0.06±0.04 12.33±6.43 1.94±0.50
คลองมะรยุ่ 30±1.15 33±1.53 7.31±0.08 5.75±0.18 0.23±0.07 0.04±0.01 0.03±0.01 22.67±10.97 2.22±0.99
คลองบอ่ แสน 30±1.73 27±11.27 7.58±0.37 5.85±0.18 0.46±0.22 0.15±0.21 0.03±0.03 30.00±18.03 2.85±1.04
ขมุ เหมืองสามชอ่ ง 30±1.73 32±2.08 7.41±0.13 4.91±0.18 0.26±0.07 0.03±0.01 0.02±0.01 14.67±2.52 1.17±032
คลองสามช่องเหนือ 30±1.15 32±1.73 7.85±0.17 5.17±0.18 0.21±0.11 0.10±0.09 0.12±0.09 10.00±6.00 2.66±1.04
บ้านในไร่ 32±0.58 30±0.58 7.43±0.10 5.47±0.18 0.20±0.05 0.03±0.02 0.04±0.00 36.67±13.01 2.29±0.89
คลองเกาะนก 30±1.15 33±0.58 7.88±0.16 4.78±0.18 0.33±0.12 0.04±0.02 0.07±0.05 22.33±13.32 2.89±1.28
ท่าเรอื น้ำเคม็ 30±1.15 32±1.15 7.59±0.16 5.07±0.18 0.42±0.09 0.04±0.03 0.15±0.15 29.33±8.96 2.77±0.49
ท่าเรอื คุระบรุ ี 30±1.00 26±6.02 7.75±0.42 6.09±0.18 0.32±0.03 0.08±0.06 0.16±0.26
ทงุ่ นาดำ 0.45±0.16 - -
0.58±0.37
ในปีงบประมาณ 2564 ศูนย์ฯ ได้ดำเนินการตรวจติดตามและเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมในแหล่งน้ำธรรมชาติเพ่ือการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ัง โดยมี
แผนการดำเนินงาน 504 ตัวอย่าง และได้ปฏิบัติงานสำเร็จลุล่างตามแผนงานที่วางไว้ คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ยังมีการปฏิบัติงานเก็บตัวอย่างน้ำ
ในเขตเพาะเลีย้ งสัตวน์ ำ้ ชายฝ่งั จงั หวัดพังงา โดยมแี ผนการดำเนนิ งาน 168 ตัวอยา่ ง และไดม้ ีการปฏิบัตงิ านได้ตามเปา้ หมายเรียบรอ้ ยแลว้ มีรายละเอียดดงั ตารางที่ 20
ตารางท่ี 20 คุณภาพน้ำในการติดตามเฝ้าระวงั เขตเลยี้ งสัตวน์ ้ำชายฝง่ั ปีงบประมาณ 2564
จดุ เก็บน้ำ Temp Salinity pH พารามิเตอร์ TN TP TAN
29.67±1.23 28.92±3.34 7.59±0.22 DO 0.40±0.12 0.04±0.03 0.07±0.02
คลองบ้านเกาะเค่ียม 29.42±1.24 25.92±5.05 7.49±0.22 0.39±0.12 0.05±0.05 0.06±0.01
คลองมะรยุ่ 29.33±1.07 26.67±4.25 7.51±0.29 6.41±0.90 0.43±0.36 0.04±0.04 0.05±0.02
คลองสามชอ่ งเหนือ 29.08±1.24 25.58±6.68 7.79±0.34 6.34±0.58 0.37±0.13 0.05±0.04 0.05±0.01
บา้ นในไร่ 29.58±1.44 26.17±7.53 7.89±0.24 6.05±0.93 0.35±0.10 0.05±0.04 0.05±0.02
บา้ นน้ำเค็ม 29.17±1.40 27.17±5.69 7.61±0.39 6.47±0.86 0.43±0.21 0.08±0.08 0.05±0.03
ทงุ่ นางดำ 7.08±0.75
6.54±1.11
โครงการคลินกิ เกษตรเคลื่อนท่ี
ในปีงบประมาณ 2563 - 2564 ศนู ย์วิจัยและพฒั นาการเพาะเล้ียงสัตว์น้ำชายฝัง่ พังงาได้จัดโครงการ
คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ โดยมีกิจกรรมด้านคลินิก ได้แก่ การให้คำปรึกษา ตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยและ
การให้บริการ ซึ่งในคลินิกมีกิจกรรมดังน้ี คือ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพ การตรวจ - แนะนำรักษาโรคสัตว์น้ำ
การให้คำแนะนำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำโดยนักวชิ าการจากสำนักงานประมงจงั หวัดพร้อมกับเจา้ หนา้ ที่ของศูนย์ฯ
มีรายละเอยี ดดงั ตารางที่ 21
ตารางที่ 21 การให้บริการโครงการคลนิ ิกเกษตรเคล่ือนที่ ในปีงบประมาณ 2563 - 2564
ครงั้ ท่ี วนั /เดือน/ปี สถานที่ ท่อี ยู่
ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลตำบลบางนายสี 72/3 หมทู่ ี่ 9 ตำบลบางนายสี
1 16 ธันวาคม 2562 อำเภอตะก่วั ป่า จังหวดั พงั งา
ศนู ยศ์ กึ ษาวจิ ัย ศลิ ปกรรม วัฒนธรรม บ้านท่าดา่ น ตำบลเกาะปันหยี
2 22 กรกฎาคม 2563 และประเพณแี ห่งอนั ดามัน จังหวดั พงั งา อำเภอเมือง จงั หวัดพงั งา
ปีงบประมาณ 2564 ตำบลลำภี อำเภอทา้ ยเหมือง
1 23 ธันวาคม 2563 จังหวัดพังงา
การใหบ้ ริการโครงการคลนิ กิ เกษตรเคลอ่ื นที่
โครงการ : ระบบส่งเสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่
กิจกรรม : ระบบส่งเสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่
แปลงใหญ่กลมุ่ ผเู้ ล้ยี งกุ้งขาว หมู่ 3, 4, 5, 6, 7 และ 9 ตำบลบางเตย, หมู่ 3 และ 4
ตำบลตากแดด อำเภอเมอื ง, หมู่ 7 ตำบลมะรยุ่ อำเภอทับปดุ จงั หวดั พังงา)
ผลการดำเนินงาน
กจิ กรรมพัฒนาองคค์ วามรู้
• ถ่ายทอดความรูใ้ ห้เกษตรกรด้านการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ/ลดตน้ ทุน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงา ดำเนินการจัดอบรม/ส่งเสริมและสาธิต
ให้ความรู้แก่เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ รูปแบบการดำเนินงานโครงการฯ จะเน้นการรวมกลุ่มของเกษตรกร
ในพื้นที่ที่มีการวางระบบการผลิตและการบริหารจัดการในแนวทางเดียวกัน เพื่อประหยัดต้นทุนและ
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งเกษตรกรยังคงเป็นเจ้าของพื้นที่และทำการผลิตเองโดยมีเจ้าหน้าที่ของ
กรมประมงร่วมเป็น “ผู้จัดการแปลง” มีหน้าที่ประสาน สนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการพัฒนาให้
เกษตรกรสมาชิกในแปลงใหญ่มาร่วมกันกำหนดเป้าหมายการผลิต การถ่ายทอดเทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตทุกขั้นตอนจนถึงการเชื่อมโยงตลาดกับภาคเอกชนแบบประชารัฐ และส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกร
มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยจัดโครงการฝึกอบรม หลักสูตร “เสริมสร้างศักยภาพ
การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล และลดต้นทุนการผลิต” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าประมง ส่งเสริมให้มี
การรวมกลุ่มของเกษตรกรรายย่อยให้เกิดอำนาจในการต่อรองด้านการตลาด และสร้างศักยภาพในการแข่งขัน
ทางด้านการตลาดทั้งในและต่างประเทศ กลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อส่งเสริม
ให้เกษตรกรผลิตกุ้งทะเลให้มีคุณภาพ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการฟาร์มให้สามารถลดต้นทุน
ในด้านต่างๆ ของระบบการเล้ียง และสามารถพัฒนาการเพาะเล้ียงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืน ดำเนินการอบรม
เป็นเวลา 1 วัน ในวนั ที่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ หอ้ งประชุมศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ังพังงา
ตำบลท้ายหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โดยมีเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลที่เข้าร่วมโครงการฯ
จำนวน 29 ราย
กิจกรรมสนับสนุนปจั จัยการผลติ
1. สนบั สนุนจลุ นิ ทรีย์ ปม.1
- แจกจ่ายหัวเชอ้ื จลุ ินทรยี ์ ปม.1 (สตู รผง) ใหแ้ กเ่ กษตรกรท่ีขา้ รว่ มโครงการฯ
ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำชายฝ่งั พังงา ดำเนินการแจกจ่ายหัวเช้ือจุลินทรีย์ ปม.1
(สูตรผง) ให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ 31 ราย ในเดือนกรกฎาคม 2563 เพื่อใช้ในการปรับปรุงสภาพ
ดนิ และน้ำ และช่วยลดความเส่ยี งจากการเกิดโรคให้แกเ่ กษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ เปน็ จำนวน 1,500 ซอง
| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ ชายฝงั่ พงั งา
3. งานผลิตพนั ธ์ุสตั วน์ ้ำ
แผนงาน : พ้ืนฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ผลผลติ : พฒั นาศกั ยภาพดา้ นประมง (ผลติ ลูกพนั ธุส์ ัตว์นำ้ )
โดยมเี ป้าหมายในการดำเนนิ งานเพือ่ บริหารจดั การทรพั ยากรชายฝ่ังและสง่ิ แวดลอ้ มให้มคี วามอุดมสมบรู ณ์
ตลอดไป ชาวประมงใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีอาชีพที่ยั่งยืน และมีผลผลิต
เพิ่มมากข้ึน
ตารางที่ 22 เป้าหมายในการผลติ ลกู พันธ์สุ ตั ว์น้ำ ปงี บประมาณ 2563 - 2564
ชนิดสัตวน์ ำ้ 2563 2564
ก้งุ แชบ๊วย เปา้ หมาย (ตัว) ผลติ และปลอ่ ย (ตวั ) เปา้ หมาย (ตวั ) ผลติ และปลอ่ ย (ตัว)
ปลากะพงขาว
3,500,000 4,700,000 6,010,000 6,010,000
ปทู ะเล 100,000 104,200 100,000 101,000
หอยทะเล 3,482,000 3,482,000
30,000 - -
30,000
150,000 150,000
รวมทัง้ สน้ิ 7,112,000 8,316,200 6,165,000 6,166,000
ตารางท่ี 23 สรุปการปลอ่ ยพันธส์ุ ตั ว์น้ำ ปีงบประมาณ 2563
ว/ด/ป ชนิดสตั ว์น้ำ จำนวน สถานท่ีปล่อยพนั ธสุ์ ตั ว์นำ้
(ตัว)
16 ต.ค. 62 ปลากะพงขาว 10,000 สถานท่ี หมู่ ตำบล อำเภอ จงั หวดั
5 ธ.ค. 62 กงุ้ แชบ๊วย 3,000,000 บา้ นขนมิ พงั งา
6 ธ.ค. 62 กุ้งแชบ๊วย 500,000 ชายหาดเกาะยาว 7 ท่งุ มะพร้าว ทา้ ยเหมอื ง พงั งา
11 ธ.ค 62 หอยทะเล 30,000 คลองทา่ ดนิ แดง พงั งา
14 ธ.ค 62 ปลากะพงขาว 10,000 คลองท่าดินแดง 1 เกาะยาวน้อย เกาะยาว พงั งา
15 ม.ค. 63 ปลากะพงขาว 80,000 เกาะคอเขา พังงา
21 ก.พ. 63 ปลากะพงขาว คลองเจรญิ 4 ลำแก่น ท้ายเหมอื ง พังงา
16 มี.ค. 63 ปลากะพงขาว 1,000 คลองน้ำเคม็ พงั งา
200 ศนู ยเ์ รยี นรกู้ สกิ รรม 4 ลำแก่น ท้ายเหมือง พงั งา
5 มิ.ย. 63 ปูทะเล ตามรอยพอ่ โคกหนอง
17 ม.ิ ย. 63 ปูทะเล 482,000 นาโมเดลบ้านบางคร้งั 3 เกาะคอเขา ตะกัว่ ป่า พงั งา
22 ก.ค. 63 กงุ้ แชบ๊วย 3,000,000 คลองทา่ ดินแดง พงั งา
22 ก.ค. 63 ก้งุ แชบ๊วย คลองบ้านทา่ ไทร 2 ทุ่งมะพร้าว ท้ายเหมอื ง พังงา
1 ก.ย. 63 กงุ้ แชบ๊วย 500,000 คลองทา่ ด่าน พังงา
14 ก.ย. 63 ปลากะพงขาว 200,000 บ้านหินลาด - บางม่วง ตะกวั่ ป่า พังงา
500,000 คลองงา พังงา
คลองครุ ะ 3 บางวนั คุระบรุ ี
3,000
4 ลำแกน่ ท้ายเหมือง
7 บอ่ แสน ทับปดุ
1 เกาะปนั หยี เมอื ง
3 ครุ ะ ครุ ะบุรี
- ถำ้ นำ้ ผุด เมอื ง
5 ครุ ะ คุระบรุ ี
ตารางท่ี 24 สรุปการปล่อยพันธุ์สตั วน์ ำ้ ปีงบประมาณ 2564
ว/ด/ป ชนดิ สัตวน์ ำ้ จำนวน สถานทปี่ ล่อยพนั ธส์ุ ัตว์น้ำ
(ตวั )
20 ต.ค. 63 ปลากะพงขาว 40,000 สถานที่ หมู่ ตำบล อำเภอ จังหวดั
1 พ.ย. 63 ปลากะพงขาว 10,000 คลองบางหว้า พังงา
25 พ.ย. 63 หอยชักตีน 25,000 คลองทับละมุ 9 ครุ ะบรุ ี คุระบรุ ี พังงา
25 พ.ย. 63 หอยชกั ตนี 25,000 บา้ นบางจัน พังงา
1 เม.ย. 64 ปลากะพงขาว 30,000 ท่าเรือคลองเคยี น 5 ลำแก่น ทา้ ยเหมือง พังงา
1 เม.ย. 64 ปลากะพงขาว 20,000 คลองบางคร้งั
22 เม.ย. 64 หอยชกั ตนี 25,000 คลองกระบ่ี 7 หลอ่ ยงู ตะกั่วทงุ่ พงั งา
22 เม.ย. 64 หอยชกั ตีน 25,000 บา้ นบางจัน
28 พ.ค. 64 ปลากะพง ท่าเรอื บ้านย่านสะบา้ 4 คลองเคยี น ตะกั่วทุ่ง กระบี่
1,000 ศนู ยร์ าชการจังหวดั พังงา
16 มิ.ย. 64 กงุ้ แชบ๊วย พังงา 3 บางวัน คุระบรุ ี พงั งา
24 ม.ิ ย. 64 ก้งุ แชบ๊วย 1,000,000 คลองงา พังงา
15 ก.ค. 64 กุ้งแชบ๊วย 510,000 บา้ นเกาะแกว้ 7 ไสไทย เมอื ง
29 ก.ค. 64 กงุ้ แชบ๊วย 500,000 แหลมปะการัง พงั งา
19 ส.ค. 64 กงุ้ แชบ๊วย คลองงา 7 หลอ่ ยูง ตะกว่ั ทุ่ง ภเู กต็
18 ส.ค. 64 หอยชักตีน 1,000,000 คลองงา พังงา
18 ส.ค. 64 หอยชักตนี 1,000,000 คลองบ้านบางจัน 4 คลองเคียน ตะกว่ั ทุ่ง พังงา
24 ส.ค. 64 กุ้งแชบ๊วย บา้ นย่านสะบ้า พงั งา
25,000 คลองไทรมาส - ถำ้ นำ้ พุด เมือง พงั งา
25,000 พังงา
3,000,000 - ถำ้ น้ำพุด เมอื ง พังงา
3 เกาะแกว้ เมือง
2 คกึ คัก ตะกว่ั ป่า
- ถ้ำน้ำพดุ เมอื ง
- ถำ้ นำ้ พุด เมือง
7 หล่อยูง ตะกั่วทงุ่
4 คลองเคยี น ตะก่วั ทงุ่
3 มะรุ่ย ทับปดุ
| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตวน์ ำ้ ชายฝัง่ พังงา
4. กิจกรรมเงนิ ทุนหมุนเวียนในการผลิตพนั ธ์ุกุง้ พนั ธปุ์ ลาและพนั ธุ์สัตวน์ ้ำอ่นื ๆ
ตารางที่ 25 การจำหนา่ ยพันธส์ุ ตั วน์ ำ้ เพอื่ จำหนา่ ยในงบเงินทุนหมุนเวยี น ปีงบประมาณ 2563 - 2564
2563 2564
ชนิดสตั ว์นำ้ ผลการปฏิบตั งิ าน รายไดจ้ ากการจำหน่าย ผลการปฏิบัตงิ าน รายได้จากการจำหนา่ ย
(ตัว) (บาท) (ตัว) (บาท)
ปลากะพงขาว 34,180 200,150 76,170 453,800
ปลากะรงั เสือ 1,325 53,000 - -
ปลาชอ่ นทะเล - - 5,350 107,000
ปูทะเล 1,000 3,000 7,000 21,000
ปลาการต์ ูน 2,227 67,395 2,367 84,060
หอยชักตีน 42,500 42,500 28,500 28,500
หอยตะโกรมกรามขาว - - 69,700 29,300
แพลงก์ตอนพชื หวั เชอ้ื 1,249 ลติ ร 56,205 1,036 ลิตร 46,620
ห้องปฏิบตั ิการ
โรตเิ ฟอร์ - - 500 ล้านตัว 5,000
สาหร่ายพวงอง่นุ 128.50 กโิ ลกรัม 19,275 81 กโิ ลกรัม 12,150
เหด็ ทะเล 8 ดอก 2,200 4 ดอก 1,100
รวม 443,725 788,530
5. งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงาได้มีการดำเนินงานด้านการเผยแพร่
ประชาสัมพนั ธ์ ดังน้ี
• ใหบ้ ริการผูเ้ ข้ามาเย่ยี มชมและศกึ ษาดงู าน
โดยในปีงบประมาณ 2563 ทางศูนย์ฯ ได้เปิดให้บริการผู้เข้ามาเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน และให้ความรู้
แก่ผู้มาทัศนศึกษาให้กับหน่วยงาน คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง จำนวน 762 คน และในปีงบประมาณ
2564 จำนวน 845 คน โดยรายละเอยี ดแสดงในตารางท่ี 26 และ 27 ดังน้ี
ตารางที่ 26 หน่วยงานทเ่ี ขา้ มาเยย่ี มชมและศึกษาดงู าน ปีงบประมาณ 2563
ลำดบั ที่ ว/ด/ป หน่วยงาน สถานะผูเ้ ข้าชม จำนวน
(คน)
1 17 ม.ค. 63 โรงเรยี นวดั นิโครธคณุ ากร คร/ู ผู้ปกครอง/นกั เรยี น 30
2 22 ม.ค 63 โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก คร/ู นกั เรยี น 52
3 6 ก.พ. 63 โรงเรยี นวัดประชมุ ศึกษา ครู/นักเรียน 26
4 7 ก.พ. 63 โรงเรยี นบา้ นคลองเต็ง จังหวัดตรงั ครู/นกั เรยี น 66
5 14 ก.พ. 63 ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบ้านทับละมุ ครู/นกั เรียน 25
6 14 ก.พ. 63 Environmental Education Centre (EEC) คร/ู นกั เรยี น 50
Thailand Co., Ltd
7 17 ก.พ. 63 โรงเรียนขจรเกยี รติ โคกกลอย คร/ู นักเรยี น 42
8 18 ก.พ. 63 โรงเรยี นขจรเกียรติ โคกกลอย ครู/นักเรยี น 42
9 19 ก.พ. 63 โรงเรียนขจรเกยี รติ โคกกลอย ครู/นกั เรียน 54
10 28 ก.พ. 63 โรงเรยี นอนุบาลกะไหล คร/ู นักเรยี น 52
11 5 ม.ี ค. 63 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภูเก็ต คร/ู นักเรยี น 13
12 6 มี.ค. 63 บริษทั กราวด์ พนกั งาน 30
13 9 มี.ค. 63 โรงเรยี นนานาชาตบิ ริติช ภูเกต็ ครู/นกั เรียน 60
14 13 ม.ี ค. 63 โรงเรยี นอนุบาลองค์การบริหารสว่ นตำบล 14
ทงุ่ มะพร้าวอำเภอทา้ ยเหมอื ง จังหวัดพงั งา ครู
15 9 ก.ย. 63 โรงเรยี นโสตศึกษา
16 14 ก.พ. 63 โรงเรียนบ้านทุ่งมะพร้าว คร/ู นักเรยี น 85
17 28 มี.ค. 63 โรงเรยี นวดั ประชมุ ศกึ ษา คร/ู นักเรยี น 25
18 18 เม.ย. 63 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภเู ก็ต คร/ู ผูป้ กครอง/นักเรยี น 16
19 24 ก.ย. 63 วิทยาลยั การอาชีพพังงา นกั ศึกษา 20
คร/ู นักเรยี น 60
รวม 762
| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการเพาะเลีย้ งสตั ว์น้ำชายฝัง่ พงั งา
ตารางท่ี 27 หนว่ ยงานทีเ่ ข้ามาเยย่ี มชมและศึกษาดูงาน ปีงบประมาณ 2564
ลำดบั ท่ี ว/ด/ป หนว่ ยงาน สถานะผู้เข้าชม จำนวน
(คน)
1 19 มี.ค. 64 โรงเรยี นบา้ นเขาลอ่ ม ครู/นักเรยี น 70
2 22 ม.ี ค. 64 โรงเรียนบา้ นคลองเคียน คร/ู นกั เรียน 48
3 23 ม.ี ค. 64 โรงเรียนอนบุ าลกะไหล ครู/นกั เรียน 60
4 29 ม.ี ค. 64 โรงเรียนวดั ไตรมารคสถิตต้ังตรงจติ ร 11 ฯ คร/ู นักเรียน 92
5 2 เม.ย. 64 โรงเรยี นสทุ ธินอนสุ รณ์ คร/ู นักเรยี น 169
6 5 เม.ย. 64 โรงเรยี นวดั ไตรมารคสถิตต้ังตรงจติ ร 11 ฯ ครู/นักเรยี น 100
7 5 เม.ย. 64 โรงเรียนบา้ นคุระ ครู/นักเรยี น/ผู้ปกครอง 146
8 8 เม.ย. 64 โรงเรียนบ้านครุ ะ คร/ู นักเรียน 50
9 9 เม.ย. 64 โรงเรียนอนุบาลองค์การบริหารส่วนตำบลท้าย คร/ู นกั เรยี น 110
เหมืองและศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านพอแดง
845
รวม
• ใหบ้ ริการรบั นักศกึ ษาฝกึ งาน
ในปีงบประมาณ 2563 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงาได้ให้บริการรับ
นักศึกษาฝึกงาน 1 ครั้ง จำนวน 3 คน และในปีงบประมาณ 2564 ให้บริการรับนักศึกษาฝึกงาน 3 คร้ัง
จำนวน 8 คน โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 28
ตารางที่ 28 รายชื่อสถาบนั การศกึ ษาทีส่ ง่ นักศึกษามาฝึกงานในปีงบประมาณ 2563
ลำดับท่ี สถาบนั การศกึ ษา ระยะเวลา จำนวน (คน)
ปงี บประมาณ 2563
1 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ุราษฎรธ์ านี 20 ก.ค. 63 - 20 ม.ค. 64 3
3
รวม
ปงี บประมาณ 2564
1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 21 ธ.ค. 63 – 4 เม.ย. 64 3
ม.ี ค. 64 - พ.ค. 64 3
2 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกระบ่ี มี.ค. 64 - พ.ค. 64 2
8
3 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพงั งา
รวม
• การจดั นทิ รรศการ
ในปีงบประมาณ 2563 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งพังงาได้จัดนิทรรศการ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ จำนวน 4 ครั้ง และในปีงบประมาณ 2564 ได้จัดนิทรรศการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
จำนวน 2 คร้ัง โดยมีรายละเอยี ดดังตารางที่ 29
ตารางที่ 29 การจดั นทิ รรศการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
คร้งั ท่ี การจัดนิทรรศการ/สถานที่ วนั ท/่ี เดือน/ปี
ปงี บประมาณ 2563
15 - 17 พฤศจกิ ายน 2562
1 งานเปดิ ฤดูกาลทอ่ งเที่ยวประจำปี 2562 ณ เขาหลัก อำเภอตะก่ัวป่า จงั หวัดพงั งา 5 ธนั วาคม 2562
2 นทิ รรศการวันดนิ โลก ศาลากลาง จังหวัดพงั งา
3 งานกาชาดจงั หวดั พังงา บรเิ วณสนามหนา้ ศาลากลาง จังหวัดพงั งา (หลังเกา่ ) 10 – 19 มกราคม 2563
4 งานปล่อยเตา่ ประจำปี 2563 ณ หาดทา้ ยเหมือง อำเภอท้ายเหมอื ง จังหวดั พงั งา 1 - 10 มนี าคม 2563
ปีงบประมาณ 2564
1 นทิ รรศการวันดนิ โลก สถานีพัฒนาที่ดนิ จังหวดั พงั งา 18 ธนั วาคม 2563
2 งานปล่อยเต่าประจำปี 2564 ณ หาดท้ายเหมอื ง อำเภอทา้ ยเหมือง จงั หวัดพังงา 12 -13 เมษายน 2564
| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ ชายฝัง่ พงั งา
ภำพกจิ กรรม
ประจำปีงบประมำณ
2563
รว่ มพธิ ีวำงพำนพุ่มทอง - พุม่ เงินเน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษำ
พระบำทสมเดจ็ พระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสนิ ทร มหำวชริ ำลงกรณฯ
พระวชิรเกล้ำเจำ้ อยู่หวั
ร่วมกจิ กรรมตักบำตรเพ่ือถวำยเป็นพระรำชกศุ ลแด่
พระปรเมนทรรำมำธิบดีศรสี ินทร มหำวชิรำลงกรณฯ
พระวชิรเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั เน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษำ
| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาการเพาะเลยี้ งสตั วน์ ้ำชายฝงั่ พงั งา
รว่ มพิธวี ำงพำนพุ่มดอกไมส้ ดในงำนครบรอบ 48 ปี วันสถำปนำ
มหำวทิ ยำลัยรำมคำแหง สำขำวิทยบริกำร จังหวดั พงั งำ
ร่วมพธิ ีปล่อยพันธ์สุ ัตว์น้ำเฉลิมพระเกยี รตเิ น่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษำ
พระบำทสมเดจ็ พระปรเมนทรรำมำธบิ ดีศรสี ินทรมหำวชิรำลงกรณฯ
พระวชริ เกลำ้ เจำ้ อยู่หวั
| รายงานประจำปี 2563 - 2564 ศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการเพาะเลีย้ งสัตวน์ ้ำชายฝัง่ พงั งา