The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารรายงานคุณภาพชีวิตคนชุมตาบง จากข้อมูล จปฐ.ปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานคุณภาพชีวิตคนชุมตาบงจากข้อมูลจปฐ.ปี2565

เอกสารรายงานคุณภาพชีวิตคนชุมตาบง จากข้อมูล จปฐ.ปี 2565

Keywords: จปฐ,ชุม,รายงานคุณภาพชีวิต, ปี2565

รายงานคณุ ภาพชีวิตคนชุมตาบง ประจาปี 2565

จากขอ้ มูลความจาเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) อาเภอชมุ ตาบง จงั หวัดนครสวรรค์

สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์
โทรศัพท์ 056 293160



คำนำ

ความจา่ เปน็ พน้ื ฐาน หมายถึง ความต้องการขัน้ ตา่ ทป่ี ระชาชนทกุ คน หรือทุกหมูบ่ ้าน/
ชมุ ชนควรจะมีหรอื ควรจะเปน็ เพอ่ื ให้มีชีวติ อยู่อย่างปกตสิ ขุ พอสมควร (พออยพู่ อกิน) ในช่วงเวลาหน่ึงๆ

ฉะนั้น การที่จะท่าให้คนไทยมีคุณภาพที่ดีได้นั้น ทุกคนต้องผ่านเกณฑ์ความจ่าเป็น
พื้นฐาน (จปฐ.) ทุกตัวชี้วัดเป็นอย่างน้อย ซึ่งการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เป็นกจิ กรรมหนึ่งของกระบวนการ
ความจา่ เปน็ พน้ื ฐาน ที่จะทา่ ให้แต่ละครัวเรือนทราบว่าตกเกณฑ์ จปฐ.เรอ่ื งใด ซ่ึงสมาชิกในครวั เรือนทุก
คนต้องช่วยกันแก้ไข และถ้ามองในภาพรวมของหมู่บ้าน/ชุมชน ต่าบล อ่าเภอ และจังหวัด จะท่าให้
ทราบว่ายังไม่บรรลุเป้าหมาย จปฐ. เรื่องใด หน่วยงาน/กลุ่ม/องค์กรท่เี ก่ียวข้องและรบั ผิดชอบในเรื่อง
นั้นๆ ตอ้ งน่าขอ้ มูลนไ้ี ปวางแผนแก้ไขปัญหาและพฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนใหด้ ขี น้ึ

รายงานคุณภาพชีวิตของคนชุมตาบง จากข้อมูลความจ่าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
นี้เป็นเอกสารที่น่าเสนอผลการจัดเกบ็ และวิเคราะห์ข้อมลู จปฐ.ปี 2565 ซง่ึ ท่าให้ทราบถงึ คุณภาพชีวิต
ของประชาชนในชนบททง้ั ในระดับครัวเรอื น หมู่บ้าน/ชมุ ชน ตา่ บล และอ่าเภอ โดยมีเคร่ืองชีว้ ัดข้อมูล
ความจ่าเป็นพ้ืนฐาน จ่านวน 5 หมวด 31 ตัวชี้วดั โดยตัวช้วี ัดที่ไม่บรรลเุ ป้าหมาย คอื ปญั หาทค่ี วรได้รับ
การแก้ไขจากประชาชนเอง ครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน รวมท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
หน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ งทุกระดบั

ส่านักงานพัฒนาชุมชนอ่าเภอชุมตาบง ในฐานะเลขานุการคณะท่างานบริหารการ
จัดเก็บข้อมูลความจ่าเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) หวังเป็นอย่างยิ่งว่า “รายงานคุณภาพชีวิตของคนชุมตาบง
จากข้อมูลความจ่าเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ปี 2565” จะช่วยให้ประชาชน ครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน
หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาชนบท ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ัง
กลมุ่ /องค์กร นิสติ /นักศกึ ษา และประชาชน ได้เห็นความสา่ คัญของข้อมูล จปฐ. และน่าไปใช้ประโยชน์
ในการวางแผนแก้ไขปัญหาและพฒั นาคุณภาพชีวติ ของคนชัยนาท ใหด้ ียงิ่ ขน้ึ ต่อไป

ส่านักงานพัฒนาชมุ ชนอ่าเภอชมุ ตาบง
สงิ หาคม 2565

บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหำร

ผลการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ปี 2565 ซ่ึงจัดเก็บข้อมูลจากทุกครัวเรือน
ในเขตชนบท (เขต อบต. และเทศบาลตาบลที่ยกฐานะมาจาก อบต.) ซึ่งมีผู้อาศัยอยู่จริงเกิน 6 เดือน
อาเภอชุมตาบง จานวนครัวเรอื น จาก 23 หมบู่ ้าน 2 ตาบล โดยมีประชากรทงั้ หมด 10,370 คน แยกเป็นเพศชาย
5,027 คน คิดเปน็ 48.48 % เพศหญงิ 5,343 คน คิดเปน็ 51.52 % พบวา่ ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตตามเครื่องชีว้ ัด
ข้อมูล จปฐ. จานวน 5 หมวด 31 ตวั ชี้วัด ดังนี้

ข้อมลู ทัว่ ไปของคนอำเภอชุมตำบง
1. ครัวเรอื นในเขตชนบทอาเภอชมุ ตาบง จงั หวัดนครสวรรค์ มีท้งั หมด 3,701 ครวั เรือน
2. จานวนประชากร ที่อาศัยอยู่จริงในเขตชนบท มีท้ังหมด 10,370 คน ส่วนใหญ่มีช่วงอายุ

60 ปขี น้ึ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 23.57 รองลงมาคือชว่ งอายุ 35ปี – 49ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 20.24
3. การนับถือศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99.66 รองลงมาคือคริสต์

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.33
4. ระดับการศึกษา ส่วนใหญ่จบการศึกษาไม่เกินชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 คิดเป็นร้อยละ 47.31

รองลงมาคือ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (มศ.1-3, ม.1-3) คดิ เป็นร้อยละ 17.16
5. อาชีพ จากข้อมูล จปฐ. ปี 2565 พบว่าอาชีพสว่ นใหญ่คืออาชพี เกษตร-ทานา จานวน 2,724 คน

คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.27 รองลงมาคืออาชพี รบั จา้ งท่ัวไป จานวน 2,560 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.69 ท้ังน้ี การจดั เก็บ
ข้อมลู ด้านอาชีพ จัดเก็บเปน็ รายคนในหน่ึงครอบครัว ดงั น้ัน เม่ือประมวลผลภาพรวมทัง้ จงั หวัด จึงอาจมีอาชพี อื่น
มากกว่าเกษตรกรรมกเ็ ปน็ ได้

6. รายได้ของครัวเรือน รายไดบ้ คุ คลเฉล่ยี 69,603.99 บาท/คน/ปี
7. รายจา่ ยของครวั เรือน รายจ่ายบคุ คลเฉลีย่ 41,67.27 บาท/คน/ปี
8. ระดับความสุขเฉล่ียของคนในครัวเรอื น มรี ะดับความเฉล่ียอยูท่ ี่ 8.20

คณุ ภำพชวี ิตของคนอำเภอชุมตำบง
หมวดท่ี 1 สุขภาพ (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยด)ี มี 7 ตัวชี้วัด พบว่าจานวนเด็กและครัวเรือน

ทสี่ ารวจทง้ั หมด ผา่ นเกณฑ์ตวั ชี้วดั ท้ัง 7 ตัวชว้ี ัด คิดเปน็ 100%
หมวดที่ 2 สภาพแวดลอ้ ม (คนไทยมบี ้านอาศัยและสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม) มี 7 ตวั ช้วี ัด พบว่า

จานวนครัวเรือนทส่ี ารวจท้งั หมด ผ่านเกณฑ์ตวั ชี้วัดทงั้ 7 ตัวชี้วดั คดิ เปน็ 100%
หมวดท่ี 3 การศกึ ษา (คนไทยมกี ารศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชวี้ ดั พบว่าจานวนคนท่ีสารวจ

ทง้ั หมด ผ่านเกณฑ์ตวั ชี้วัดท้งั 5 ตัวชี้วัด คดิ เปน็ 100%

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตคนอาเภอชมุ ตาบง ปี 2565 หน้า ก

หมวดที่ 4 การมีงานทาและรายได้ (คนไทยมงี านทาและมรี ายได้) มี 4 ตัวช้ีวดั พบว่าจานวนคนและครัวเรือนท่ี
สารวจท้งั หมดใน 4 ตวั ชีว้ ัด ไมผ่ ่านเกณฑ์ตัวชีว้ ัด

ขอ้ 21 คนอายุ 60 ปขี ้ึนไป มีอาชพี และรายได้ จานวน 3 คน คดิ เป็น 0.12%
ข้อ 22 รายไดเ้ ฉลยี่ ของคนในครวั เรือน มีรายได้ต่ากว่า 40,000 บาท/คน/ปี

จานวน 10 ครวั เรือน คดิ เปน็ 0.27%
หมวดท่ี 5 ค่านิยม (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 8 ตัวชี้วัด พบว่าจานวนคนและครัวเรือนท่ีสารวจ
ทั้งหมดใน 8 ตวั ชี้วดั ไม่ผ่านเกณฑต์ ัวชวี้ ัด

ข้อ 24 คนในครัวเรือนไม่ดม่ื สรุ า จานวน 509 คน คดิ เปน็ 4.91%
ข้อ 25 คนในครวั เรือนไม่สูบบุหรี่ จานวน 426 คน คิดเปน็ 4.11%

ตำรำงเปรยี บเทียบผลกำรจัดเก็บขอ้ มูลควำมจำเป็นพื้นฐำน ปี 2564 - 2565

ลาดบั รายการ ปี 2564 ปี 2565

1 จานวนครวั เรอื นทจ่ี ัดเกบ็ ขอ้ มูล จปฐ. (ครวั เรอื น) 3,721 3,701

2 จานวนประชากรรวม (คน) 11,904 10,370

3 จานวนครัวเรอื นท่ผี ่านเกณฑ์รายได้ (ครวั เรอื น) 3,704 3,691

4 จานวนครวั เรือนทไี่ ม่ผา่ นเกณฑ์รายได้ (ครัวเรือน) 17 10

5 รายไดเ้ ฉลยี่ ต่อคนต่อปี (บาท) * 60,441.07 69,03.99

6 รายจา่ ยเฉลย่ี ต่อคนตอ่ ปี (บาท) 35,009.40 41,46727

หมายเหตุ * สาหรบั ข้อมลู รายไดเ้ ฉล่ียตอ่ คนต่อปี ปี 2564 คอื รายไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 38,000 บาทตอ่ คนตอ่ ปี

และปี 2565 คอื รายได้ไมน่ อ้ ยกวา่ 40,000 บาทต่อคนตอ่ ปี

ตารางเปรียบเทียบจานวนครัวเรอื น ปี 2564 - 2565

ตาบล จานวนครัวเรอื น (ครัวเรือน)

ปี 2564 ปี 2565

ชุมตาบง 2,206 2,207

ปางสวรรค์ 1,515 1,494

รวมอาเภอ 3,721 3,701

ตารางเปรียบเทยี บจานวนประชากร ปี 2564 - 2565

อาเภอ จานวนประชากร (คน)

ปี 2564 ปี 2565

ชมุ ตาบง 6,811 5,786

ปางสวรรค์ 5,093 4,584

รวมอาเภอ 11,904 10,370

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ิตคนอาเภอชุมตาบง ปี 2565 หน้า ข

ตารางเปรยี บเทยี บครัวเรอื นท่มี ีรายได้ผา่ นเกณฑ์ ปี 2564 - 2565

อาเภอ ครวั เรือนท่มี รี ายได้ผ่านเกณฑ์ (ครัวเรือน)

ชุมตาบง ปี 2564 (38,000 บาท/คน/ปี) ปี 2565 (40,000 บาท/คน/ปี)
ปางสวรรค์
รวมอาเภอ 2,200 2,201
1,504 1,490
3,704 3,691

ตารางเปรยี บเทียบครัวเรอื นทมี่ รี ายไดไ้ ม่ผา่ นเกณฑ์ ปี 2564 – 2565

อาเภอ ครัวเรือนท่มี รี ายไดไ้ มผ่ า่ นเกณฑ์ (ครวั เรอื น)
ปี 2564 (38,000 บาท/คน/ป)ี ปี 2565 (40,000 บาท/คน/ป)ี
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์ 66
รวมอาเภอ 11 4
17 10

ตารางเปรยี บเทียบรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อคนต่อปี ปี 2564 – 2565

อาเภอ รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ คนตอ่ ปี (บาท)

ชุมตาบง ปี 2564 (38,000 บาท/คน/ปี) ปี 2565 (40,000 บาท/คน/ป)ี
ปางสวรรค์
รวมอาเภอ 59,591.30 64,288.45

61,57750 76,313.35

60,441.07 69,603.99

ตารางเปรียบเทียบจานวนตัวชวี้ ัดท่บี รรลุเป้าหมาย จปฐ.ปี 2564 – 2565

อาเภอ จานวนตัวชีว้ ัดท่ีบรรลุเป้าหมาย (ตัวชีว้ ัด)

ชุมตาบง ปี 2564 (31 ตวั ช้ีวัด) ปี 2565 (31 ตวั ชี้วดั )
ปางสวรรค์
รวมอาเภอ 25 27

25 27

24 27

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง ปี 2565 หน้า ค

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง ปี 2565 หนา้ ง

สารบัญ หนา้
ก-ค
คำนำ 1-5
บทสรุปสำหรับผู้บรหิ ำร 6-10
สำรบญั
สว่ นท่ี 1 บทนำ 11-28
สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ทั่วไปคนอำเภอชุมตำบง
29-30
- จำนวนครัวเรอื น
- จำนวนประชำกร จำแนกตำมเพศ 31-32
- จำนวนประชำกร จำแนกตำมช่วงอำยุ 33
- จำนวนประชำกร จำแนกตำมระดับกำรศกึ ษำ
- จำนวนประชำกร จำแนกตำมประเภทอำชีพ
- จำนวนประชำกร จำแนกตำมศำสนำ
สว่ นที่ 3 รำยงำนคุณภำพชีวิตคนอำเภอชุมตำบง
- หมวดท่ี 1 สขุ ภำพ (ตวั ชวี้ ัดที่ ๑-๗)
- หมวดท่ี 2 สภำพแวดล้อม (ตัวช้ีวดั ที่ 8-14)
- หมวดท่ี 3 กำรศกึ ษำ (ตวั ชี้วัดที่ 15-19)
- หมวดท่ี 4 กำรมีงำนทำและรำยได้ (ตวั ช้ีวัดท่ี 20-23)
- หมวดท่ี 5 ค่ำนยิ ม (ตวั ช้วี ัดที่ 24-31)
สว่ นท่ี 4 รำยได้และรำยจ่ำยของคนอำเภอชมุ ตำบง
- รำยได้เฉล่ีย
- รำยจ่ำยเฉล่ยี
- ครัวเรอื นยำกจน
ส่วนท่ี 5 ปญั หำท่ีควรไดร้ บั กำรแก้ไขของคนอำเภอชุมตำบง
- จำนวนตัวช้ีวัดท่ีไมบ่ รรลเุ ป้ำหมำย
ระดับควำมสุขเฉลี่ยของคนอำเภอชมุ ตำบง
ภำคผนวก
- สรุปผลกำรจัดเก็บขอ้ มลู จปฐ. ระดบั อำเภอ
- สรปุ ผลกำรจดั เกบ็ ข้อมลู จปฐ. ระดบั ตำบล
- จำนวนประชำกร จำแนกรำยตำบล
- จำนวนครัวเรอื น ประชำกร จำแนกรำยหมบู่ ้ำน

- รำยงำนครัวเรอื นทต่ี กเกณฑ์ตัวชี้วดั (แผน่ ซดี ี)
- คณะผู้จัดทำ

ส่วนที่ 1

บทนำ

ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในระดบั ครัวเรือนท่ีจัดเก็บจากทุกครัวเรือน
ทีอ่ าศัยอยู่จริงในเขตชนบท ท่ีแสดงถึงความจาเป็นพ้ืนฐานข้ันต่าของคนในครัวเรือนท่ีควรจะเป็น เพ่ือให้มีชีวิตอยู่
อย่างปกติสุขพอสมควร (พออยู่พอกิน) และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเองว่า ในขณะน้ีคุณภาพชีวิต
ของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้านอยู่ในระดับใด มีปัญหาท่ีจะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม ซึ่งครัวเรือนแต่ละครัวเรือนก็ต้องช่วยกัน
ดาเนินการแก้ไขในส่วนที่ดาเนินการเองได้ แต่หากไม่สามารถดาเนินการเองได้ ก็ให้ขอรับการสนับสนุนจาก
โครงการขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (อปท.) สว่ นราชการ หรือระดบั รัฐบาลต่อไป

ปี 2525 สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ กาหนดรูปแบบลกั ษณะ
สังคมไทยและคนไทยที่พึงประสงค์ในอนาคต โดยกาหนดเป็นเครื่องช้ีวัด จปฐ.ของคนไทย โดยสรุปว่า “การมี
คุณภาพชวี ติ จะต้องผ่านเกณฑ์ จปฐ. ทุกตวั ชีว้ ัด”

ปี 2528 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมัติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2528 ให้มกี ารดาเนนิ โครงการ
ปีรณรงค์คุณภาพชีวิต และประกาศให้เป็น “ปีรณ รงค์คุณ ภาพชีวิตของประชาชนในชาติ” (ปรช.)
(20 สิงหาคม 2528 – 31 ธันวาคม 2530) โดยใชเ้ ครือ่ งช้วี ดั จปฐ. 8 หมวด 32 ตวั ชี้วดั

ปี 2532 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มีมติเมื่อวันท่ี 15 กันยายน 2532
ให้กรมการพฒั นาชมุ ชน จดั เก็บขอ้ มลู จปฐ. เป็นประจาทุกปี ต้ังแต่ พ.ศ. 2533 โดยมีการปรับปรุงเครื่องช้ีวัดขอ้ มูล
จปฐ.ทุก 5 ปี ใหส้ อดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

ปี 2536 คณะรัฐมนตรี มีมติเม่ือวันท่ี 21 กันยายน 2536 “ให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาชนบท นาข้อมูล กชช.๒ค. และข้อมูล จปฐ. ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาชนบททุกระดับ การ
กาหนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติ รวมทัง้ การอนุมตั ิโครงการและการตดิ ตามการพฒั นาชนบทดว้ ย”

ปี 2544 ปรับปรุงเคร่ืองชี้วัดข้อมูล จปฐ. เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) เป็น 6 หมวด 37 ตัวชี้วัด และคณะกรรมการอานวยงานพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิตของประชาชน (พชช.) มีมติเมอ่ื วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 ให้กรมการพฒั นาชุมชน รบั ผดิ ชอบประสาน
การจดั เก็บข้อมลู จปฐ. ในเขตเมอื ง โดยใช้เครื่องชีว้ ัดเชน่ เดยี วกบั เขตชนบท (มติเมื่อ 31 พฤษภาคม 2545)

ปี 2555 อยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
มเี คร่อื งชี้วัด 5 หมวด 30 ตัวช้วี ดั

ปี 2560 อยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
มเี ครอื่ งช้วี ดั 5 หมวด 31 ตวั ชวี้ ัด

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตอาเภอชมุ ตาบง จงั หวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 1

ปี 2565 อยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
ซ่ึงขยายอีก 1 ปี ถึง พ.ศ. 2565 มีเครื่องชี้วัด 5 หมวด 31 ตัวช้ีวัด และกระบวนการจัดเก็บปี 2565 เป็นการ
จดั เกบ็ ดว้ ยเครื่องมืออเิ ล็กทรอนกิ ส์

หลกั กำรสำคญั ของ จปฐ.
1. การนาเคร่ืองช้ีวัด จปฐ. มาใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน เพ่ือให้
ประชาชนทราบถึงสภาพความเป็นอยขู่ องตนเองและชุมชนว่าบรรลุตามเกณฑ์ความจาเปน็ พนื้ ฐานแล้วหรือไม่
2. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโดยผ่านกระบวนการ จปฐ. ซ่ึงเริ่มต้ังแต่การ
จัดเก็บข้อมูล และการนาข้อมูลที่จัดเก็บได้พร้อมท้ังข้อมูลการประเมินผลการดาเนินงานท่ีผ่านมาใช้ประโยชน์ใน
การวิเคราะห์ข้อมูล การกาหนดปัญหา ความต้องการท่ีแท้จริงของชุมชน ตลอดจนคน้ หาสาเหตุและแนวทางแก้ไข
ปญั หาที่เกดิ ขน้ึ
3. การนาขอ้ มลู จปฐ. มาเปน็ แนวทางในการคดั เลือกโครงการตา่ งๆ ของรฐั ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพ
ปัญหาที่แท้จริงของชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รวมท้ังมีการ
ประสานระหว่างสาขาในด้านการปฏบิ ตั มิ ากข้ึน
วตั ถุประสงค์
เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเองและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี
อย่างน้อยผา่ นเกณฑ์ความจาเปน็ พื้นฐาน โดยมีเคร่ืองชวี้ ดั ข้อมลู จปฐ. เป็นเครื่องมอื
จดุ มุง่ หมายของการใช้ จปฐ.
1. ม่งุ กระตนุ้ ให้ประชาชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมตงั้ แตก่ ารรบั รูเ้ รือ่ งคณุ ภาพชวี ติ โดยใช้เครื่องชว้ี ดั จปฐ.
เป็นตัวบ่งช้ี ส่งเสริมประสิทธิภาพขององค์กรประชาชนในการจัดเก็บข้อมูล กาหนดปัญหาของหมู่บ้าน
หาสาเหตุและแนวทางแก้ไขปญั หา รวมทั้งวางแผนงาน/โครงการ ในการแก้ไขปัญหาของหมู่บา้ นไดอ้ ย่างถกู ต้อง
2. ใช้เป็นเคร่ืองกาหนดเป้าหมายในการพัฒ นา โดยประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จะยึดเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนา ซ่ึงไดแ้ ก่ เครื่องชี้วัดทยี่ ังไม่บรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ เพอื่ จะได้หาแนวทางแก้ไข
จัดทาโครงการ กิจกรรมต่างๆ ในการท่ีจะแก้ไขปัญหาน้ันๆ หรือสามารถทาให้บรรลุเป้าหมายได้ในระยะเวลาท่ี
กาหนด
3. ใช้ในการประเมินผลการพัฒนา โดยสามารถวัดผลการดาเนินงานพัฒนาชนบทในแต่ละปีว่า
สามารถยกมาตรฐานคุณภาพชีวิตได้มากน้อยเพียงใด ในเรื่องอะไรบ้าง และยังจะต้องเน้นในเรื่องอะไรต่อไปอีก
โดยใช้เคร่ืองช้ีวัด จปฐ. เป็นตัวกาหนด จะเห็นได้ว่าหัวใจของการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ที่แท้จริงอยู่ที่ “ประชาชน”
ทีส่ ามารถทราบปัญหาของ “ตนเอง” เวลาท่จี ัดเก็บขอ้ มูล จปฐ. ประชาชนจะทราบทนั ทีว่า “เขามคี ุณภาพชีวิตเป็น

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ อาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 2

อย่างไร ขาดข้อใด” โดย จปฐ. เป็นเสมือนวัฎจักรที่สามารถช่วยในการปรับปรุงตนเอง คาว่า “ตนเอง” ในที่น้ียัง
หมายรวมถงึ หมูบ่ ้าน/ชุมชน ตาบล อาเภอและจังหวัด” อีกด้วย เพราะการจัดเก็บและประมวลผล จปฐ. จะมีการ
นาขอ้ มูลมาสรุปภาพรวมในแตล่ ะระดับ ต้งั แตห่ มู่บา้ น/ชมุ ชน ตาบล อาเภอ จังหวดั ภาค และประเทศ

ประโยชนใ์ นกำรใช้ จปฐ. เปน็ เครื่องมอื พัฒนำคุณภำพชีวติ
ระดับชาติ
ใช้เป็นเครื่องมือในการกาหนดนโยบายพัฒนาด้านสังคม โดยกระทรวง กรมหรอื หน่วยงานต่างๆ
ยดึ หลักการการจัดสรรทรัพยากร เพ่ือใหส้ อดคล้องหรอื สนองตอบตามความตอ้ งการของประชาชนอย่างแทจ้ รงิ
ระดบั บริหารและปฏบิ ัตกิ าร
ภาครัฐ สามารถทราบถึงปัญหาท่ีแท้จริงของประชาชนว่า ครัวเรือน หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ
จังหวัดใด มีปัญหาเร่ืองอะไร เพื่อสามารถวางแผนการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้ตรงกับปัญหาท่ีประชาชนต้องการ
สาหรับภาคเอกชน สามารถนาข้อมูลจาก จปฐ. มาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนในการบริหารจัดการ เพื่อลงทุน
ทางธุรกิจได้
ระดับประชาชน
ประชาชนสามารถทราบว่า “ตนเองมีคุณภาพชีวิตเป็นอย่างไร ผ่านเกณฑ์หรือไม่ผ่านเกณฑ์
ใดบ้าง” ทั้งนี้ ไม่จาเป็นเสมอไปว่าคนรวยหรือคนที่อยู่ในเมืองใหญ่ จะมคี ุณภาพชวี ิตที่ดเี พราะคณุ ภาพชีวิตที่ดีนั้น
ไม่ได้วัดที่รายได้อย่างเดียว และสามารถวิเคราะห์ได้ว่าปัญหาเหล่าน้ัน มีปัญหาใดบ้างที่สามารถแก้ไขด้วยตนเอง
ร่วมมือกับรฐั /ทอ้ งถิน่ หรอื รฐั /ทอ้ งถ่ินเป็นผูด้ าเนินการให้

การจดั ทาเคร่ืองชี้วดั จปฐ. ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
ตัวชี้วัดท่ีใช้วัดคุณภาพชีวิตในปี 2565 นี้ เป็นตัวชี้วัดท่ีปรับปรุงให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซ่ึงขยายอกี 1 ปี ถงึ พ.ศ. 2565 เป็นการจัดเกบ็ ดว้ ย
เครือ่ งมืออิเล็กทรอนกิ ส์ กาหนดไว้ 5 หมวด 31 ตวั ช้วี ัด ดังน้ี

หมวดที่ 1 สขุ ภาพ (คนไทยมสี ุขภาพและอนามยั ดี) มี 7 ตวั ชว้ี ัด

ลาดับ ตวั ช้ีวดั ขอ้ มูลความจาเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) ปี 2565 หนว่ ย
ที่
คน
1 เดก็ แรกเกดิ มีนา้ หนัก 2,500 กรมั ขึ้นไป คน

2 เดก็ แรกเกดิ ได้กนิ นมแมอ่ ยา่ งเดยี วอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื นแรกตดิ ตอ่ กนั

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ อาเภอชมุ ตาบง จงั หวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 3

3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริม คน
ภูมคิ มุ้ กนั โรค

4 ครัวเรอื นกินอาหารถูกสุขลกั ษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน ครวั เรอื น

5 ครัวเรือนมีการใช้ยาเพ่ือบาบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วย เบื้องต้นอย่าง ครัวเรือน
เหมาะสม

6 คนอายุ 35 ปขี ้นึ ไป ได้รบั การตรวจสุขภาพประจาปี คน

7 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกาลงั กายอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที คน

หมวดท่ี 2 สภาพแวดลอ้ ม (คนไทยมีบา้ นอาศยั และสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม) มี 7 ตัวชวี้ ัด

ลาดับ ตวั ชว้ี ดั ข้อมูลความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) ปี 2565 หนว่ ย
ที่

8 ครัวเรอื นมีความม่นั คงในที่อยอู่ าศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน

9 ครวั เรอื นมีน้าสะอาดสาหรบั ดมื่ และบริโภคเพียงพอตลอดปี ครัวเรือน

10 ครวั เรือนมนี ้าใช้เพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลติ รต่อวนั ครัวเรอื น

11 ครวั เรือนมกี ารจดั บ้านเรอื นเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย สะอาด และถกู สุขลักษณะ ครวั เรอื น

12 ครวั เรอื นไม่ถกู รบกวนจากมลพษิ ครวั เรือน

13 ครวั เรือนมีการป้องกันอุบัตภิ ัยและภยั ธรรมชาติอย่างถูกวธิ ี ครัวเรือน

14 ครัวเรอื นมีความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ิน ครัวเรือน

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ อาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 4

หมวดที่ 3 การศึกษา (คนไทยมีการศกึ ษาทเี่ หมาะสม) มี 5 ตัวชี้วดั

ลาดบั ตวั ช้วี ดั ขอ้ มูลความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) ปี 2565 หนว่ ย
ที่

15 เดก็ อายุ 3-5 ปเี ต็ม ได้รบั บริการเล้ียงดเู ตรียมความพร้อมก่อนวยั เรียน คน

16 เดก็ อายุ 6-14 ปี ไดร้ ับการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี คน

17 เด็กจบช้นั ม.3 ได้เรยี นตอ่ ชนั้ ม.4 หรอื เทยี บเท่า คน

18 คนในครัวเรือนทีจ่ บการศึกษาภาคบังคบั 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยงั ไม่มีงาน คน
ทา ไดร้ บั การฝึกอบรมด้านอาชพี

19 คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขยี นภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ทกุ คน คน

หมวดที่ 4 การมีงานทาและรายได้ (คนไทยมีงานทาและมีรายได้) มี 4 ตวั ชี้วัด

ลาดบั ตวั ช้วี ดั ข้อมูลความจาเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) ปี 2565 หน่วย
ที่

20 คนอายุ 15-59 ปี มอี าชีพและรายได้ คน

21 คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มอี าชพี และรายได้ คน

22 รายได้เฉล่ียของคนในครวั เรอื นตอ่ ปี (ไมต่ ่ากว่า 40,000 บาท) ครวั เรอื น

23 ครวั เรือนมกี ารเกบ็ ออมเงนิ ครวั เรือน

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ อาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 5

หมวดท่ี 5 ค่านิยม (คนไทยประพฤติดแี ละมีคณุ ธรรม) มี 8 ตัวชีว้ ดั

ลาดับ ตวั ช้วี ดั ข้อมลู ความจาเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2565 หนว่ ย
ท่ี

24 คนในครวั เรือนไมด่ ืม่ สรุ า คน

25 คนในครวั เรอื นไมส่ บู บหุ ร่ี คน

26 คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1 คร้ัง คน

27 ผูส้ ูงอายุ ไดร้ ับการดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน คน

28 ผพู้ ิการได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน คน

29 ผูป้ ว่ ยโรคเรื้อน ได้รับการดแู ลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน คน

30 ครัวเรือนมีส่วนร่วมทากิจกรรมสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของหมู่บ้าน/ชุมชน ครวั เรอื น
หรอื ภาครฐั

31 ครอบครัวมีความอบอ่นุ ครัวเรอื น

เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ อาเภอชมุ ตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 6

สว่ นท่ี 2

ข้อมูลท่ัวไปของคนอำเภอชุมตำบง

คุณภาพชีวิตของคนอาเภอชุมตาบง ปี 2565 ที่ได้นาเสนอในส่วนนี้เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูล

จปฐ. ซ่งึ จดั เกบ็ จากทุกครัวเรอื นที่อาศยั อยู่จรงิ เกนิ 6 เดอื น ในเขตชนบทจาก 2 ตาบล 23 หมู่บ้าน พบว่า

ครวั เรือนท้งั หมด จานวน 3,701 ครวั เรอื น

ประชาชนท่ีอาศยั อยู่จรงิ จานวน 10,370 คน

ตารางท่ี 1 แสดงจานวนครัวเรือน ประชากร แยกรายตาบล

ตาบล จานวนครัวเรือน ประชากร ประชากร ประชากร
(ครวั เรือน) ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)

ชมุ ตาบง 2,207 2,794 2,992 5,786

ปางสวรรค์ 1,494 2,233 2,351 4,584

รวมอาเภอ 3,701 5,027 5,343 10,370

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนประชำกร แยกตำมเพศ
ประจำปี 2564 - 2565

จำนวนประชำชกร 100.00%
80.00%
60.00% ชาย หญงิ
40.00% 49.14% 50.86%
20.00%
48.48% 51.52%
ปี 2564
ปึ 2565

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ คน อาเภอชุมตาบง จงั หวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 6

ตารางท่ี 2 แสดงจานวนประชากรจาแนกตามชว่ งอายุ

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนประชำกรจำแนกตำมช่วงอำยุ
ปี 2564 - 2565

จำนวนประชำกร (คน) 5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

0 หนา้ 7
แรกเกดิ - 5 ปี 6 ปีเตม็ -34 ปี 35 - 59 ปี 60 ปีขน้ึ ไป

เอกสารรายปงี า2น5ค64ณุ ภาพชวี 3ติ 9ค4น อาเภอชุมตา4บ,3ง8จ6ังหวดั นครสว4ร,ร7ค0์6ปี 2565 2,418

ปี 2565 301 3,517 4,108 2,444

ชว่ งอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม
คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ
1 เดอื น ถงึ 5 เดือน 3 0.03 4 0.04 7 0.07
6 เดอื น ถงึ 1 ปี 0 เดือน 13 0.13 7 0.07 20 0.19
1 ปี 1 เดอื น – 2 ปี 43 0.41 40 0.39 83 0.80
3 ปี – 5 ปี 113 1.09 78 0.75 191 1.84
6 ปี – 12 ปี 475 4.58 495 4.77 970 9.35
13 ปี – 14 ปี 145 1.40 139 1.34 284 2.74
15 ปี – 18 ปี 263 2.54 296 2.85 559 5.39
19 ปี – 25 ปี 392 3.78 377 3.64 769 7.42
26 ปี – 34 ปี 462 4.46 473 4.56 935 9.02
35 ปี – 49 ปี 1,013 9.77 1,086 10.47 2,099 20.24
50 ปี – 59 ปี 955 9.21 1,054 10.16 2,009 19.37
60 ปีขนึ้ ไป 1,150 11.09 1,294 12.48 2,444 23.57
5,027 48.48 5,343 51.52 10,370 100
รวม

ตารางที่ 3 แสดงจานวนประชากร จาแนกตามระดับการศึกษา

ระดบั การศึกษา เพศชาย เพศหญิง รวม
คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
494 4.76 819 7.90
ไมเ่ คยศึกษา 325 3.13 57 0.55 153 1.48
386 3.72 712 6.87
อนบุ าล/ศูนยเ์ ดก็ เลก็ 96 0.93 2,479 23.91 4,906 47.31
816 7.87 1,779 17.16
ต่ากว่าช้นั ประถมศึกษา(ป.4,ป.7, ป.6) 326 3.14 761 7.34 1,390 13.40
97 0.94 201 1.94
ประถมศึกษา (ป.4,ป.7, ป.6) 2,427 23.40 239 2.30 383 3.69
14 0.14 27 0.26
มธั ยมศึกษาตอนตน้ (มศ.1-3, ม.1-3) 963 9.29 5,343 51.52 10,370 100

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (มศ.4-5, ม.4-6,ปวช.) 629 6.07 หน้า 8

อนุปริญญา หรอื เทียบเท่า 104 1.00

ปรญิ ญาตรี หรอื เทยี บเทา่ 144 1.39

สูงกว่าปริญญาตรี 13 0.13

รวม 5,027 48.48

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คน อาเภอชุมตาบง จงั หวัดนครสวรรค์ ปี 2565

กรำฟเปรยี บเทยี บระดบั กำรศกึ ษำสงู สุด 3 อนั ดับแรก
ปี 2564 - 2565

จำนวนประชำกร (%) 50.00%
40.00%
30.00% ประถมศกึ ษา มัธยมต้น มธั ยมปลาย
20.00% (มศ.1-3, ม.1-3) (มศ.4-5, ม.4-6,ปวช.)
10.00%
0.00% 18.12% 13.01%

ปี 2564 46.35% 17.16% 13.40%
ปี 2565 47.31%

ตารางท่ี 4 แสดงจานวนประชากร จาแนกตามประเภทอาชีพ

ประเภทอาชีพ เพศ รวม (คน) ร้อยละ
ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) รอ้ ยละ 2,067 19.93
707 6.82
กาลงั ศึกษา 992 9.57 1,075 10.37 2,724 26.27
1,261 12.16
ไมม่ อี าชพี 272 2.62 435 4.19 26 0.25
0.03
เกษตร-ทานา 1,388 13.38 1,336 12.88 3 0.07
7 1.10
เกษตร-ทาไร่ 673 6.49 588 5.67 114

เกษตร-ทาสวน 10 0.10 16 0.15

เกษตร-ประมง 2 0.02 1 0.01

เกษตร-ปศุสัตว์ 5 0.05 2 0.02

พนักงาน-รับราชการ 54 0.52 60 0.58

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ คน อาเภอชมุ ตาบง จงั หวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 9

พนักงาน-รัฐวิสาหกจิ 6 0.06 4 0.04 10 0.10
พนกั งานบริษัท 16 0.15 25 0.24 41 0.40
รบั จา้ งท่วั ไป 1,273 12.28 1,287 12.41 2,560 24.69
คา้ ขาย 201 1.94 282 2.72 483 4.66
ธรุ กจิ สว่ นตวั 30 0.29 29 0.28 59 0.57
อาชีพอนื่ ๆ 105 1.01 203 1.96 308 2.97
5,027 48.48 5,343 51.52 10,370 100
รวม

กรำฟเปรียบเทียบอำชพี สูงสุด 3 อันดับแรก
ปี 2564-2565

จำนวนประชำกร (%) 30.00% เกษตร-ทานา รับจา้ งท่วั ไป กาลังศกึ ษา
20.00% 18.78% 27.57% 20.33%
10.00%
0.00% 26.27% 24.69% 19.93%

ปี 2564
ปี 2565

ตารางที่ 5 แสดงจานวนประชากร จาแนกตามศาสนา

ศาสนา ชาย (คน) รอ้ ยละ เพศ รวม (คน) รอ้ ยละ
5,008 48.29 หญงิ (คน) รอ้ ยละ 10,335 99.66
พทุ ธ 19 0.18 0.33
ครสิ ต์ 5,327 51.37 34
อิสลาม 0 0 15 0.14 0 0
ซกิ ส์ 0 0 00 0 0
ฮนิ ดู 0 0 00 0 0
00

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ คน อาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 10

อื่นๆ 00 1 0.01 1 0.01

รวม 5,027 48.48 5,343 51.52 10,370 100

จำนวนประชำกร กรำฟเปรยี บเทียบกำรนับถือศำสนำสงู สดุ 3 อนั ดับแรก

100.00%
80.00%
60.00%
40.00%
20.00%
0.00%

พทุ ธ คริสต์ อืน่ ๆ
ปี 2564 99.50% 0.49% 0.01%
ปี 2565 99.66% 0.33% 0.01%

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตคน อาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 11

สว่ นท่ี 3

รำยงำนคุณภำพชวี ิตของคนอำเภอชมุ ตำบง

ตางรางท่ี 6 แสดงตัวชี้วัดหมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมสี ุขภาพและอนามัยด)ี มี 7 ตัวชีว้ ัด

จานวนทส่ี ารวจ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์
จานวน รอ้ ยละ
ตัวชวี้ ัด ทั้งหมด จานวน ร้อยละ

1. เดก็ แรกเกิดมีน้าหนัก 2,500 กรัมขึน้ ไป 27 คน 27 100 - -

2.เดก็ แรกเกิดไดก้ ินนมแม่อยา่ งเดียวอยา่ งนอ้ ย 6 เดือนแรกติดต่อกัน 20 คน 20 100 - -

3. เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ไดร้ บั การฉดี วัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสรา้ ง 1271 คน 1,271 100 - -
เสริมภูมิคมุ้ กันโรค

4. ครวั เรือนกินอาหารถูกสขุ ลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน 3,701 คร. 3,701 100 - -

5ครัวเรอื นมีการใชย้ าเพ่ือบาบดั บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบอ้ื งต้นอยา่ งเหมาะสม 3,701 คร. 3,701 100 - -

6. คนอายุ 35 ปีข้ึนไป ได้รบั การตรวจสขุ ภาพประจา 6,553 คน 6,553 100 - -
7. คนอายุ 6 ปขี ึ้นไป ออกกาลงั กายอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที 10,069 คน 10,069 100 - -

ตวั ช้ีวดั ท่ี 1 เด็กแรกเกดิ มีน้าหนัก 2,500 กรมั ข้ึนไป

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทีย่ ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตัวช้วี ัดที่ 1
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์

ปี 2564 ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 11

ตัวชว้ี ัดที่ 2 เดก็ แรกเกิดไดก้ ินนมแม่อย่างเดียวอยา่ งน้อย 6 เดอื นแรกตดิ ตอ่ กนั

กรำฟเปรยี บเทยี บจำนวนท่ียงั ไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ช้ีวดั ท่ี 2
ปี 2564 - 2565

1

จำนวนคน

0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

ตวั ช้วี ดั ท่ี 3 เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ไดร้ ับการฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสรา้ งเสริมภูมคิ มุ้ กันโรค

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทย่ี งั ไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ชี้วัดท่ี 3
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 12

ตัวชว้ี ัดที่ 4 ครวั เรอื นกนิ อาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐาน

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนทย่ี งั ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ตัวชวี้ ดั ที่ 4
ปี 2564 - 2565

1

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

ตัวชี้วดั ที่ 5 ครวั เรอื นมีการใชย้ าเพ่ือบาบดั บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบื้องตน้ อย่างเหมาะสม

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตคนอาเภอชมุ ตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 13

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนท่ียังไม่ผ่ำนเกณฑ์ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5

ปี 2564 - 2565

1

จำนวนค ัรวเรือน 0 ปางสวรรค์
ชมุ ตาบง

ปี 2564 ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 6 คนอายุ 35 ปีข้นึ ไป ได้รับบรกิ ารตรวจสขุ ภาพประจาปี

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนที่ยงั ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ตัวชี้วัดที่ 6

ปี 2564 - 2565

1

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ิตคนอาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 14

ตัวช้วี ดั ท่ี 7 คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ออกกาลงั กายอย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วนั วันละ 30 นาที

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนทีย่ งั ไม่ผ่ำนเกณฑ์ ตัวชี้วดั ท่ี 7

จำนวนคน 1 ปี 2564 - 2565

0.5
0

ชุมตา ปาง
บง สวรรค์

ปี 2564 ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

ตารางท่ี 7 แสดงตัวชี้วัดหมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม (คนไทยมีบ้านอาศยั และสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 7 ตวั ช้วี ัด

จานวนท่สี ารวจ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ า่ นเกณฑ์
จานวน ร้อยละ
ตัวช้ีวดั ทัง้ หมด จานวน รอ้ ยละ

8. ครวั เรือนมีความมั่นคงในที่อยอู่ าศยั และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร 3,701 คร. 3,701 100 - -

9. ครวั เรือนมนี า้ สะอาดสาหรับดื่มและบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี 3,701 คร. 3,701 100 - -

10. ครัวเรือนมนี า้ ใชเ้ พียงพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 45 ลติ รต่อวัน 3,701 คร. 3,701 100 - -
11. ครวั เรอื นมกี ารจดั บ้านเรอื นเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด และถูก
สขุ ลกั ษณะ 3,701 คร. 3,701 100 - -
12. ครัวเรือนไม่ถกู รบกวนจากมลพษิ
13. ครัวเรือนมีการป้องกนั อบุ ตั ิภยั และภัยธรรมชาติอย่างถูกวธิ ี 3,701 คร. 3,701 100 - -
14. ครัวเรือนมีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ 3,701 คร. 3,701 100 - -
3,701 คร. 3,701 100 - -

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 15

ตวั ชี้วดั ท่ี 8 ครวั เรอื นมีความม่นั คงในทอ่ี ยู่อาศยั และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนท่ียังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ช้วี ัดท่ี 8
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนค ัรวเ ืรอน0.5

0 ปางสวรรค์
ชมุ ตาบง

ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
ปี 2564 0 0
ปี 2565 0 0

ตวั ชี้วดั ท่ี 9 ครวั เรอื นมนี า้ สะอาดสาหรับดม่ื และบริโภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 5 ลติ รต่อวนั

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 16

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนทย่ี ังไม่ผ่ำนเกณฑ์ ตัวชี้วดั ท่ี 9

ปี 2564 - 2565

จำนวนค ัรวเ ืรอน 1
0.5

0

ชมุ ตา ปาง
บง สวรรค์

ปี 2564 ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

ตัวชว้ี ดั ที่ 10 ครวั เรอื นมนี ้าใชเ้ พียงพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 45 ลติ รต่อวัน

จำนวนค ัรวเ ืรอน กรำฟเปรยี บเทยี บจำนวนทย่ี งั ไม่ผ่ำนเกณฑ์ ตวั ชี้วดั ที่ 10
1 ปี 2564 - 2565

0
ชมุ ตา ปาง
บง สวรรค์

ปี 2564 ชุมตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

ตัวช้วี ัดที่ 11 ครัวเรือนมกี ารจัดบา้ นเรือนเป็นระเบยี บเรยี บร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ หนา้ 17
เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตคนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565

กรำฟเปรยี บเทยี บจำนวนทยี่ ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 11

ปี 2564 - 2565

จำนวนค ัรวเ ืรอน 1
0.5

0

ชมุ ตา ปาง
บง สวรรค์

ปี 2564 ชุมตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

ตวั ชีว้ ัดที่ 12 ครัวเรือนไมถ่ กู รบกวนจากมลพษิ

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนที่ยงั ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ตัวชี้วดั ท่ี 12
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชมุ ตาบง

ปี 2564 ชุมตาบง ปางสวรรค์
ปี 2565 0 0
0 0

ตวั ชวี้ ัดท่ี 13 ครัวเรือนมีการป้องกนั อุบตั ิภัยอยา่ งถูกวิธี หนา้ 18
เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนที่ยงั ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ตัวชว้ี ัดท่ี 13

ปี 2564 - 2565

1

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 14 ครวั เรือนมีความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สนิ

กรำฟเปรยี บเทยี บจำนวนท่ียงั ไมผ่ ่ำนเกณฑ์ ตัวชว้ี ดั ที่ 14
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

ตารางที่ 8 แสดงตวั ชี้วัดหมวดท่ี 3 การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาทีเ่ หมาะสม) มี 5 ตวั ช้วี ัด หนา้ 19
เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565

จานวนท่ี ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ า่ นเกณฑ์
ตวั ชี้วัด สารวจ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ

ทง้ั หมด 191 100 --
1,254 100 --
15. เด็กอายุ 3-5 ปี ไดร้ ับบริการเล้ียงดเู ตรียมความพร้อม 191 คน 40 100 --
ก่อนวยั เรียน 15 100 --
6,371 100
16. เดก็ อายุ 6-14 ปี ไดร้ ับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 1,254 คน --

17. เด็กที่จบชน้ั ม.3 ได้เรยี นต่อชนั้ ม.4 หรือเทยี บเท่า 40 คน

18. คนในครวั เรือนท่ีจบการศกึ ษาภาคบงั คับ 9 ปี ทไ่ี ม่ได้ 15 คน
เรียนต่อและยังไม่มงี านทา ได้รับการฝกึ อบรมดา้ นอาชพี

19. คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคดิ เลขอยา่ ง 6,371 คน
งา่ ยไดท้ ุกคน

ตวั ชี้วดั ท่ี 15 เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รบั บริการเล้ยี งดเู ตรยี มความพร้อมกอ่ นวัยเรียน

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนท่ยี ังไมผ่ ่ำนเกณฑ์ ตวั ช้วี ดั ท่ี 15
ปี 2564 - 2565

1

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 20

ตัวช้ีวดั ที่ 16 เดก็ อายุ 6-14 ปี ไดร้ ับการศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนที่ยงั ไมผ่ ่ำนเกณฑ์ ตวั ชวี้ ดั ที่ 16
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตัวชี้วัดท่ี 17 เดก็ ท่ีจบช้นั ม.3 ไดเ้ รียนตอ่ ชั้น ม.4 หรอื เทียบเท่า

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทยี่ ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ช้ีวัดท่ี 17
ปี 2564 - 2565

1

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 21

ตวั ชี้วัดที่ 18 คนในครัวเรอื นท่ีจบการศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปี ท่ีไม่ได้เรียนต่อและยงั ไม่มงี านทา ได้รบั การฝกึ อบรม
ด้านอาชพี

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนที่ยังไม่ผ่ำนเกณฑ์ ตัวช้ีวดั ที่ 18
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตวั ชวี้ ดั ที่ 19 คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างงา่ ยได้ทกุ คน

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 22

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนทย่ี ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ชี้วดั ท่ี 19

ปี 2564 - 2565

1

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตารางที่ 9 แสดงตัวชีว้ ัดหมวดที่ 4 การมีงานทาและรายได้ (คนไทยมงี านทาและมีรายได้) มี 4 ตัวช้ีวดั

จานวนท่ี ผ่านเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์

ตัวชว้ี ัด สารวจ

ทั้งหมด จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

20. คนอายุ ๑๕-59 ปี มีอาชีพและรายได้ 5,699 คน 5,699 100 - -

21. คนอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มอี าชีพและรายได้ 2,436 คน 2,433 99.88 3 0.12

22.รายไดเ้ ฉลยี่ ของคนในครวั เรอื นต่อปี 3,701 คร 3,691 99.73 10 0.27
23. ครัวเรอื นมกี ารเกบ็ ออมเงิน 3,701 คร 3,701 100 - -

ตวั ช้ีวดั ที่ 20 คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพและรายได้ หน้า 23
เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตคนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนทย่ี ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตัวชว้ี ัดที่ 20
ปี 2564 - 2565

1

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตวั ช้วี ัดที่ 21 คนอายุ 60 ปีข้ึนไป มอี าชีพและรายได้

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทย่ี ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตัวชว้ี ัดท่ี 21
2 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
1 0
2

ตวั ชี้วดั ที่ 22 รายได้เฉลย่ี ของคนในครวั เรือนต่อปี

เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 24

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนท่ียงั ไมผ่ ่ำนเกณฑ์ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 22

ปี 2564 - 2565

20

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 6 ปางสวรรค์
6 11
4

ตวั ชี้วดั ที่ 23 ครัวเรอื นมกี ารเกบ็ ออมเงนิ

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนที่ยังไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ตัวช้วี ดั ท่ี 23
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

ตารางท่ี 10 แสดงตัวชวี้ ดั หมวดท่ี 5 คา่ นยิ ม (คนไทยประพฤติดแี ละมีคุณธรรม) มี 8 ตวั ช้ีวดั หนา้ 25
เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวิตคนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565

ตวั ชวี้ ัด จานวนทีส่ ารวจ ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์
ทัง้ หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
509 4.91
24. คนในครัวเรอื นไม่ด่ืมสรุ า 10,370 คน 9,861 95.09 426 4.11

25. คนในครวั เรือนไม่สูบบหุ รี่ 10,370 คน 9,944 95.89 --

26. คนอายุ ๖ ปีขึ้นไป ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางศาสนาอย่านอ้ ย 10,069 คน 10,069 100 --
สัปดาหล์ ะ ๑ ครัง้
--
27. ผ้สู ูงอายไุ ด้รบั การดูแลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ 2,445 คน 2,445 100
หรอื ภาคเอกชน --

28. ผพู้ ิการไดร้ ับการดูแลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครฐั 82 คน 82 100 --
หรอื ภาคเอกชน --

29.ผ้ปู ่วยโรคเร้ือน ไดร้ บั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน 254 คน 254 100
ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน

30. ครัวเรือนมีส่วนรว่ มทากิจกรรมสาธารณะเพ่ือ 3,701 คร 3,701 100
ประโยชนข์ องชุมชน หรือท้องถิน่

31. ครอบครวั มคี วามอบอุ่น 3,701 คร 3,701 100

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ิตคนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 26

ตัวชว้ี ดั ที่ 24 คนในครวั เรือนไม่ดื่มสุรา

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทย่ี งั ไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตัวช้ีวดั ที่ 24
ปี 2564 - 2565

1000

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 562
ปี 2565 794 285
224

ตัวชี้วดั ท่ี 25 คนในครัวเรอื นไมส่ บู บหุ รี่

กรำฟเปรยี บเทยี บจำนวนทย่ี ังไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ตวั ช้วี ัดที่ 25

ปี 2564 - 2565

1000

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 614 ปางสวรรค์
180 666
246

เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 27

ตัวชี้วดั ท่ี 26 คนอายุ 6 ปีขึน้ ไป ปฏิบตั กิ จิ กรรมทางศาสนาอย่าน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครัง้

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทยี่ ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ช้ีวัดท่ี 26
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตัวชี้วดั ท่ี 27 ผ้สู งู อายุได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนทยี่ ังไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตวั ชว้ี ัดท่ี 27

ปี 2564 - 2565

1

จำนวนคน 0
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 28

ตวั ชีว้ ัดที่ 28 ผู้พิการไดร้ ับการดแู ลจากครัวเรือน ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน

กรำฟเปรยี บเทยี บจำนวนที่ยงั ไม่ผ่ำนเกณฑ์ ตวั ช้วี ัดท่ี 28
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชุมตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตวั ช้วี ัดที่ 29 ผ้ปู ว่ ยโรคเร้ือรัง ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ิตคนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หน้า 29

กรำฟเปรยี บเทียบจำนวนทย่ี งั ไม่ผำ่ นเกณฑ์ ตัวชี้วดั ที่ 29
1 ปี 2564 - 2565

จำนวนคน 0
ชมุ ตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง
ปี 2565 0 ปางสวรรค์
0 0
0

ตัวชวี้ ัดท่ี 30 คนในครัวเรอื นมีสว่ นรว่ มทากิจกรรมสาธารณะเพอื่ ประโยชนข์ องชุมชน หรอื ท้องถ่ิน

กรำฟเปรียบเทียบจำนวนทย่ี ังไมผ่ ่ำนเกณฑ์ ตัวชีว้ ัดท่ี 30
ปี 2564 2565

1

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

ตวั ชวี้ ัดที่ 31 ครอบครวั มีความอบอนุ่ หน้า 30
เอกสารรายงานคุณภาพชวี ิตคนอาเภอชมุ ตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565

กรำฟเปรียบเทยี บจำนวนทย่ี งั ไมผ่ ่ำนเกณฑ์ ตวั ช้ีวดั ท่ี 31

ปี 2564 2565

1

จำนวนค ัรวเ ืรอน 0 ปางสวรรค์
ชุมตาบง
ปางสวรรค์
ปี 2564 ชมุ ตาบง 0
ปี 2565 0 0
0

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ คนอาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 31

ส่วนที่ 4

รายไดแ้ ละรายจา่ ยของคนอาเภอชมุ ตาบง จงั หวดั นครสวรรค์

ตารางที่ 11 แสดงรายได้บคุ คลเฉลี่ยของแต่ละตาบลในอาเภอ

ตาบล รายได้บคุ คลเฉล่ยี (บาท/ปี)

ปี 2564 (บาท) ปี 2565 (บาท)

ชมุ ตาบง 59,591.30 64,288.45

ปางสวรรค์ 61,577.50 76,313.35

รายได้บุคคลเฉลยี่ ของอาเภอชุมตาบง 60,441.07 69,603.99

กราฟเปรียบเทยี บรายได้บคุ คลเฉล่ีย แยกรายตาบล
ปี 2564 - 2565

จานวนรายไ ้ด 80,000
60,000
40,000 ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
20,000 59,591 61,578

0 64,288 76,313
ปี 2564
ปี 2565

ตารางที่ 12 แสดงรายจ่ายบุคคลเฉล่ียของแต่ละตาบลในอาเภอ

ตาบล รายได้บุคคลเฉล่ีย (บาท/ปี)

ปี 2564 ปี 2565

ชุมตาบง 34,088.39 38,926.12

ปางสวรรค์ 36,241.08 44,674.74

รายได้บุคคลเฉลี่ยของอาเภอชุมตาบง 35,009.40 41,467.27

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ิตคนอาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 29

กราฟเปรียบเทยี บรายจ่ายบคุ คลเฉลยี่ แยกรายตาบล

ปี 2564 - 2565

จานวนราย ่จาย 50,000

40,000

30,000

20,000

10,000

0 ชุมตาบง ปางสวรรค์
ปี 2564 34,088 36,241

ปี 2565 38,926 44,675

สัดส่วนจานวนครัวเรอื นยากจนจาแนกรายตาบล
ตารางท่ี 13 แสดงสัดสว่ นจานวนครัวเรอื นยากจนทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์ จปฐ. เรอื่ งรายได้เฉล่ยี จาแนกรายตาบล

จานวนครัวเรอื นยากจน (ครวั เรือน)

ตาบล ปี 2564 ปี 2565

(38,000 บาท/คน/ป)ี (40,000 บาท/คน/ปี)

ชมุ ตาบง 6 6

ปางสวรรค์ 11 4

รวม 17 10

เอกสารรายงานคณุ ภาพชีวติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 30

กราฟเปรยี บเทยี บสดั สว่ นของครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ.เรอ่ื งรายได้เฉลี่ย
ปี 2564 - 2565

0.80%

จานวนค ัรวเ ืรอน (%) 0.60%

0.40%

0.20%

0.00% ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
0.27% 0.73%
ปี 2564
ปี 2565 0.27% 0.27%

เอกสารรายงานคุณภาพชีวติ คนอาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2565 หนา้ 31

ส่วนท่ี 5

ปญั หาที่ควรได้รบั การแกไ้ ขของคนอาเภอชมุ ตาบง จงั หวัดนครสวรรค์

ตารางท่ี 14 แสดงสดั ส่วนจานวนตวั ช้ีวัดทไี่ มบ่ รรลุเป้าหมาย

ตาบล จานวนตวั ชีว้ ดั ทไี่ มบ่ รรลเุ ปา้ หมาย (ตวั ช้ีวัด)

ชมุ ตาบง ปี 2564 ปี 2565
ปางสวรรค์
ตวั ชีว้ ัดอาเภอชุมตาบง ท่ีไมบ่ รรลเุ ป้าหมาย 64

64

74

กราฟเปรยี บเทยี บจานวนตวั ช้วี ัดท่ไี มบ่ รรลุเป้าหมาย
ปี 2564 - 2565

10

จานวน ัตว ้ีช ัวด
0
ชมุ ตาบง ปางสวรรค์
ปี 2564 6 6
ปี 2565
4 4

ตวั ชี้วดั ความจาเปน็ พ้นื ฐาน (จปฐ.) ทีไ่ มผ่ ่านเกณฑ์

อาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ มีตัวช้ีวดั ความจาเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) ปี 2565 ท่ไี มผ่ ่านเกณฑ์ จานวน
4 ตัวชี้วัด ดงั น้ี

1) ตัวชี้วดั ท่ี 21 คนอายุ 60 ปีข้นึ ไป มอี าชีพและรายได้ ไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 3 คน
2) ตัวช้ีวัดที่ 22 รายไดเ้ ฉล่ยี ของคนในครัวเรอื นต่อปี ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 10 ครัวเรอื น
3) ตัวชวี้ ดั ที่ 24 คนในครัวเรอื นไมด่ ่มื สุรา ไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 509 คน
4) ตัวช้ีวดั ที่ 25 คนในครวั เรือนไม่สูบบหุ รี่ ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 426 คน

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง ปี 2565 หนา้ 31

ตารางที่ 15 แสดงตวั ช้ีวัดความจาเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) ท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์เรยี งลาดับจากมากไปหาน้อย

ตวั ช้วี ัด จานวนท่ีสารวจ จานวนท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ

24. คนในครวั เรอื นไม่ดม่ื สุรา 10,370 คน 509 คน 4.91
4.11
25 คนในครวั เรอื นไม่สูบบหุ ร่ี 10,370 คน 426 คน 0.27
0.12
22 รายไดเ้ ฉลยี่ ของคนในครวั เรือนต่อปี (ไม่ต่ากวา่ 40,000บาท/คน/ปี) 3,701 คร. 10 คร.

21 คนอายุ 60 ปีขนึ้ ไป มอี าชพี และรายได้ 2,436 คน 3 คน

เอกสารรายงานคุณภาพชวี ติ คนอาเภอชมุ ตาบง ปี 2565 หนา้ 32

เอกสารรายงานคณุ ภาพชวี ติ คนอาเภอชุมตาบง ปี 2565 หนา้ 33

ระดับความสุขของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน

ตารางที่ 17 แสดงระดบั ความสขุ เฉล่ียของคนในครัวเรอื น

ตาบล ระดบั ความสุขเฉลย่ี ของคนในครวั เรือน

ชมุ ตาบง ปี 2564 ปี 2565
ปางสวรรค์
8.53 8.23

8.38 8.20

ความสุขเฉลย่ี ของคนอาเภอชุมตาบง 8.47 8.20

กราฟเปรียบเทยี บระดบั ความสุขเฉล่ียของคนในครวั เรือน

ปี 2564 - 2565

ระ ัดบความ ุสข 8.55
8.50
8.45 ปางสวรรค์
8.40
8.35
8.30
8.25
8.20
8.15
8.10
8.05
8.00

ชมุ ตาบง

ปี 2564 8.53 8.38

ปี 2565 8.23 8.2

เอกสารรายงานคุณภาพชีวิตคนอาเภอชมุ ตาบง ปี 2565 หน้า 34

ครัวเรือนทีต่ กเกณฑร ายตัวชี้วดั
ขอมูลความจำเปนพนื้ ฐาน ระดบั อำเภอ ป 2565

24. คนในครวั เรือนไมดื่มสรุ า

อำเภอ ชมุ ตาบง ช่อื -สกุล หวั หนาครัวเรือน ตกเกณฑ จำนวน 509 คน ใน 384 ครวั เรือน
ตำบล ชมุ ตาบง (คน) จำนวน 224 คน ใน 188 ครวั เรอื น
หมู 02 บา น ตลง่ิ สูง นาย ไทย หมีไข จำนวน 8 คน ใน 6 ครัวเรือน
นาย วนั ชยั พรหมพิทักษ 1
ที่ บา นเลขที่ นาย สุวรรณ เจนเขตกิจ 1 คนในครัวเรอื น
นาย ประหยดั เจนเขตรกิจ 3 รวม ชาย หญงิ
1 128 นาย สำเริง เขยี นเปา 1
2 286 นาง สมควร นกทอง 1 211
3 18/1 1 211
4 224 431
5 174 211
6 247 110
321

หนา 1/26 พิมพเ ม่อื 2022-08-12 16:58:54


Click to View FlipBook Version