The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การทดสอบโดยวิธีทำลายสภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by seua.ratchakru, 2019-09-18 00:38:12

การทดสอบโดยวิธีทำลายสภาพ

การทดสอบโดยวิธีทำลายสภาพ

DESTRUCTIVE TESTING
งานทดสอบแบบทาลายสภาพ

2103-2003

จดุ ประสงค์รายวชิ า

1. เข้าใจในหลักการทดสอบวัสดุและงานเช่ือมแบบ
ทาลายสภาพ

2. สามารถปฏิบัติงานทดสอบวัสดุและงานเชื่อมแบบ
ทาลายสภาพ

3. มีกจิ นิสัยท่ีดีในการทางาน รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
รักษาความสะอาดและความปลอดภัย

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการเบือ้ งต้น การทดสอบ
ตรวจสอบวสั ดุและงานเชื่อมโดยการทาลายสภาพ

2. ทดสอบแรงกระแทก ทดสอบความแข็ง ทดสอบแรง
ดงึ วัสดุและงานเช่ือมได้ตามหลกั การ

คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้ นการ
ทดสอบ ตรวจสอบวัสดุและงานเชื่อม โดยการทาลาย
สภาพด้วยด้วยวิธีการตีหัก กดหัก ดัดโค้ง ทดสอบแรง
กระแทก ทดสอบความแข็ง ทดสอบแรงดึงโดยใช้อุปกรณ์
ถูกต้องตามหลกั ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั

การวดั และประเมนิ ผล

การวัดผล คะแนน

จิตพสิ ัย 20%

คะแนนเกบ็ ระหว่างเรียน 50%

สอบกลางภาค 10%

สอบปลายภาค 20%

รวมคะแนนท้งั หมด 100%

การวดั และประเมินผล

ผลการเรียน คะแนน

เกรด 4 80-100%

เกรด 3.5 75-79%
เกรด 3 70-74%
เกรด 2.5 65-69%
เกรด 2 60-64%

เกรด 1.5 55-59%

เกรด 1 50-54%

เกรด 0 0-49%

เกรด ขร. หมายถงึ เวลาเรียนไม่ครบ 80%

เกรด มส. หมายถงึ ส่งงานไม่ครบตามวตั ถุประสงค์การเรียนรู้

การทดสอบและการตรวจสอบ

การควบคุมคณุ ภาพของผลิตภณั ฑใ์ นงานอตุ สาหกรรม
จะตอ้ งมีการตรวจสอบผลิตภณั ฑ์ เพอ่ื ให้ไดม้ าตรฐาน
โดยวธิ ีการ 2 วิธี คือ
การทดสอบ (Testing ) หมายถึง การปฏบิ ตั ิการทดสอบ
ทสี่ ามารถระบคุ า่ ออกมาได้อาจเป็นตวั เลข หรือสญั ลกั ษณ์
ทสี่ ามารถแสดงคณุ สมบตั ดิ ้านตา่ ง ๆ ของวสั ดไุ ด้
การตรวจสอบ ( Inspection ) หมายถึง การปฏบิ ตั กิ าร
ตรวจสอบ ทส่ี ามารถระบเุ พยี งวา่ เกดิ ข้อบกพร่อง
ตาหนิ หรือความเสยี หาย ทงั้ นีเ้พือ่ ตดั สนิ ใจว่ายงั ใช้
งานได้หรือไม่

การทดสอบและการตรวจสอบ

ข้อบกพร่อง (Defect) หมายถงึ ส่ิงท่ีเกิดขนึ ้ กบั วสั ดุ
แล้วทาให้ชนิ ้ งาน มีคณุ สมบตั ิในการใช้งานท่ีด้อยลง และ
อาจทาให้เกิดความเสยี หายตามมาได้

ความเสยี หาย ( Damage ) หมายถงึ ส่งิ ที่เกิดขึน้ กบั
วสั ดแุ ล้ว ทาให้ชนิ ้ งานใช้ไมไ่ ด้

วตั ถปุ ระสงค์ของการทดสอบ

 เพื่อเพ่ิมความเชื่อมน่ั ของผลิตภณั ฑ์
 เพ่ือปรับปรุงวสั ดุและเทคนิคการผลิต
 เพื่อลดตน้ ทนุ การผลิต
 เพ่ือความปลอดภยั ในการใชง้ านของผบู้ ริโภค

ประโยชน์ของการทดสอบและตรวจสอบในวงการ
อตุ สาหกรรม

 ทาใหพ้ ฒั นาเทคนิควธิ ีการทาชิ้นงาน หรืองานใหม้ คี ุณภาพ
ดีตามตอ้ งการได้

 ทาใหผ้ ใู้ ชเ้ กดิ มคี วามเช่ือมน่ั ในการใชผ้ ลิตภณั ฑ์ (ทาใหเ้ พม่ิ
ปริมาณการขาย)

 ทาใหป้ ระหยดั ข้ึน สินคา้ มีราคาถกู ลง เพราะสามารถคดั
ของเสียออกจากข้นั ตอนการผลิต ไม่ใช่วา่ รูว้ า่ เสียเม่ือผา่ น
การดาเนินการในข้นั ตอนสุดทา้ ย

 ทาใหม้ ีความปลอดภยั ต่อชีวติ และทรัพยส์ ิน
 ทาใหโ้ รงงานท่ีนาระบบการทดสอบและตรวจสอบมาใช้

สามารถปฏิบตั งิ านอยา่ งตอ่ เน่ือง ลดการเสี่ยงในการที่ตอ้ ง
หยดุ โรงงานซ่อมในเวลาท่ีไมไ่ ดว้ างแผนไว้

ประเภทของการทดสอบวัสดุ

การทดสอบวสั ดุอาจแบ่งได้ 3 ประเภท ดงั น้ี คอื
 การทดสอบวสั ดุ โดยวธิ ีการทาลาย ( Destructive test )

 การทดสอบวสั ดุ กง่ึ ทาลาย (Semi destructive test )
 การทดสอบวสั ดุ โดยวิธีไม่ทาลาย ( Non destructive

test )

โครงสร้างรายวชิ า งานทดสอบวสั ดุ Material Testing

หลกั การเบอ้ื งตน้ ของ การทดสอบแบบไม่ทาลาย การทดสอบแบบ การตรวจสอบวสั ดุและ การตรวจสอบ วสั ดุและ
การทดสอบวสั ดใุ นงาน ทาลาย งานเชอ่ื มโดย ไมท่ าลาย งานเชอื่ ม โดยทาลาย
การตรวจสอบบนผวิ การทดสอบ
ชา่ งเชอื่ มโลหะ และใกลผ้ วิ ประกายไฟ สภาพ สภาพ
• การทดสอบงาน การทดสอบประกายไฟ
วธิ กี ารทดสอบในงานชา่ ง การตรวจสอบ กอ่ นเชอื่ ม
เชอื่ มโลหะ เชอ่ื มดว้ ยสายตา การทดสอบงานเชอื่ ม
• ความหมายและ • การทดสอบงาน การทดสอบแรงดึง ดว้ ยการดดั งอ

วตั ถุประสงคข์ องการ เชอื่ มดว้ ยน้ ายาแทรก การตรวจสอบ ขณะเชอ่ื ม ดา้ นหน้าดา้ นหลงั
ทดสอบ ซมึ
• ชนิดของการทดสอบ • การทดสอบงาน การทดสอบแบบดดั งอ การทดสอบงานเชอ่ื ม
• สานักงานมาตรฐาน เชอ่ื มดว้ ยอนุภาค แบบ นิก-เบรก
แม่เหลก็ การตรวจสอบ หลงั เชอื่ ม
การทดสอบงานเชอ่ื ม
หลกั การควบคมุ คณุ ภาพงาน การตรวจสอบภายใน การทดสอบความแขง็ การตรวจสอบงานเชอ่ื มดว้ ย ฟิ ลเลทดว้ ยการหกั
เชอ่ื ม ชน้ิ งาน การทดสอบดว้ ยแรง น้ ายาแทรกซมึ
การตรวจสอบงานเชอื่ ม
• วธิ กี ารควบคมุ คณุ ภาพงาน • การตรวจสอบดว้ ย กระแทก แบบมหัพภาค
เชอื่ ม คลน่ื เสียงอลั ทราโซ
นิก การตรวจสอบ
• ขอ้ บกพรอ่ งในงานเชอื่ ม โครงสรา้ งงานเชอื่ ม
• การตรวจสอบดว้ ย
ภาพถ่ายรงั สี มหพั ภาค

สมบตั ขิ องวสั ดุ

จดุ ประสงค์ของการทดสอบโดยวิธีทาลายสภาพ

จดุ ประสงคห์ ลกั ของการทดสอบวสั ดโุ ดยวธิ ีทาลาย มีจุดประสงค์ที่จะ
ทดสอบหาความตา้ นทานของวสั ดุ ในการรับภาระกรรมต่าง ๆ กนั ท้งั
ในดา้ นทางกล ทางความร้อน และทางเคมี ผลทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบจะ
นาไปใชใ้ นการคานวณออกแบบ เพอ่ื หาขนาดทเี่ หมาะสมของชิน้ งาน

การทดสอบวสั ดโุ ดยวธิ ีทาลายสภาพ (Destructive test)

เป็นการทดสอบท่ีใหผ้ ลการตรวจสอบแน่นอนชดั เจน สามารถ
ตรวจสอบสมบตั ิของวสั ดุไดท้ ้งั ทางกล ทางฟิ สิกส์ และเคมี โดยนา
ชิน้ งานมาทาการทดสอบ (Specimen) ตามมาตรฐานทกี่ าหนด สาหรับ
การทดสอบสมบตั ทิ างกล ไดแ้ กก่ ารหาความแขง็ แรง ความเหนียว และ
อ่ืน ๆ ที่ตอ้ งใชแ้ รงภายนอกมากระทาตอ่ วสั ดุ ซ่ึงอาจแบง่ วิธีการใชแ้ รง
เป็น 3 ลกั ษณะ คือ
 การทดสอบโดยใหแ้ รงแบบคงท่ี (Static Load Test )

จะใชแ้ รงกระทาต่อช้นิ ทดสอบในลกั ษณะค่อย ๆ เพิม่ แรงข้ึนเร่ือย ๆ
จนกระทงั่ ชิน้ งานแตกหกั ไป การทดสอบลกั ษณะน้ี ไดแ้ ก่ การทดสอบ
หาคา่ ความตา้ นทานต่อแรงดึง ความตา้ นทานต่อแรงดดั เป็นตน้

การทดสอบวสั ดโุ ดยวธิ ที าลายสภาพ (Destructive test)

 การทดสอบโดยใหแ้ รงแบบเป็นจงั หวะ ( Cyclic load test )
จะใชแ้ รงกระทาตอ่ ชิ้นทดสอบในลกั ษณะเป็นช่วง ๆ ตดิ ต่อกนั ตลอดเวลา
จนกระทง่ั ช้นิ งานแตกหกั ไป การทดสอบลกั ษณะน้ีไดแ้ ก่ การทดสอบหา
ความสามารถในการรับแรงสั่นสะเทอื น (Damping)
 การทดสอบโดยใหแ้ รงแบบทนั ทที นั ใด ( Impact load test )
จะใชแ้ รงกระทาตอ่ ชนิ้ ทดสอบในลกั ษณะกระแทกโดยทนั ที ทาใหช้ น้ิ
ทดสอบน้นั แตกหกั ไป

การทดสอบโดยวธิ ที าลาย ( Destructive test : D T )

การทดสอบคณุ สมบตั ทิ างกล
Mechanical test

การทดสอบแรงดงึ Tensile test
การทดสอบแรงอดั Compressive test
การทดสอบแรงเฉือน Shear test
การทดสอบแรงดดั Bend test
การทดสอบแรงบิด Torsion test
การทดสอบความลา้ Fatique test
การทดสอบแรงกระแทก Impact test
การทดสอบความแขง็ Hardness test
การทดสอบการครีพ Creep test

การทดสอบโดยวธิ ีทาลาย ( Destructive test : D T )

การทดสอบคณุ สมบตั ิทางโลหะวทิ ยา
Metallurgy test

โครงสร้างไมโครหรือจลุ ภาค Micro structure
โครงสร้างมาโครหรือมหพั ภาค Macro structure

การทดสอบโดยวธิ ที าลาย ( Destructive test : D T )
การทดสอบด้านการกดั กร่อน
Corrosion test

การทดสอบโดยการพน่ สารละลาย Salt spray test
การทดสอบการกดั กร่อนจริง Corrosion pilot test
การทดสอบการป้ องกนั คาโธดิค Cathodic protection

การทดสอบโดยวธิ ีทาลาย ( Destructive test : D T )
การทดสอบส่วนผสมทางเคมี
Chemical composition test

การทดสอบระยะเวลาส้นั ในสารละลาย
Short - time tests in solution

การทดสอบระยะเวลาส้นั ในไอระเหย
Short - time tests in vapour gases

สานกั งานมาตรฐานการทดสอบ

สานักงานมาตรฐานหมายถึง หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
เกย่ี วกบั มาตรฐาน ซ่ึงมีอิทธิพลที่สาคญั ต่อวิธีการทดสอบด้วย
ซ่ึงจะเป็ นประโยชน์ทางดา้ นงานวิศวกรรม ซ่ึงจะตอ้ งมีความรู้
เขา้ ใจ และสามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เช่น American
Society foe Testing Materials (ASTM) เป็ นสถาบัน
มาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกาท่ีต้งั ข้ึน เมื่อปี ค.ศ. 1898
(พ.ศ.2441) หน่วยงานแห่งน้ีมีสมาชิกท่ีประกอบด้วยกลุ่มบุคคล
3 กลุ่ม คอื กลุ่มผใู้ ช้ กลุ่มผผู้ ลิต และกลุ่มนกั วชิ าการซ่ึงจะเป็ น
พวกวิศวกร นกั วทิ ยาศาสตร์ และผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการทดสอบ

วตั ถุประสงค์ของสานกั งานมาตรฐาน

สานกั งานมาตรฐานมหี นา้ ที่ปฏบิ ตั ิงาน ดงั น้ี
• กาหนดลกั ษณะเฉพาะมาตรฐานของวสั ดุ และวิธีการทดสอบ

ท่ีเป็ นมาตรฐานดว้ ย ภายใตก้ ารปรึกษาหารือและตกลงกนั

ร่างมาตรฐานของวสั ดุ

• ปรบั ปรุงวสั ดุวศิ วกรรมดว้ ยการคน้ ควา้ หรือวิจยั เพื่อใหม้ ี
ประสิทธิภาพในการใชง้ านดีข้นึ เสร็จแลว้ กน็ ามาตรฐานน้ี
ไปพมิ พเ์ ผยแพร่ต่อไป

ลกั ษณะงานทส่ี านักงานมาตรฐานของ ASTM โดยทวั่ ๆไป มดี ังนี้

• ปรับปรุงวธิ ีการทดสอบสาหรับวสั ดุ
• กาหนดนิยามศพั ทข์ ้นึ มาใช้ เพอื่ ช่วยใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ

ตรงกนั

• กาหนดลกั ษณะมาตรฐานของวสั ดุ
• กาหนดวธิ ีการปฏบิ ตั ิในหลาย ๆวธิ ีการ เพื่อท่ีจะใชว้ สั ดุให้

เกดิ ประโยชน์

สาหรับประเทศไทยกม็ ี สานกั งานมาตรฐาน

ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (ส.ม.อ.) หน่วยงานแห่งน้ี ต้งั ข้นึ ตาม
พระราชบญั ญตั ผิ ลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ.2511 โดยมี

วตั ถุประสงคท์ ่ีปฏบิ ตั ิงานดงั ตอ่ ไปน้ี
 กาหนดมาตรฐานสาหรับผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (ส.ม.อ.)
 ควบคุมการใชเ้ คร่ืองหมายมาตรฐาน

 ดาเนินการเพอ่ื ใหม้ ีการนาเอามาตรฐานไปใชใ้ หเ้ ป็ น
ประโยชน์

สานักงานมาตรฐานการทดสอบ สานกั งานมาตรฐานท่คี วรรู้จกั มีอยู่
หลายแห่งทีเ่ กย่ี วกบั อตุ สาหกรรมการผลติ ซ่ึงเป็นท้งั สานกั งานมาตรฐาน
ของภาครัฐและเอกชน ดงั น้ี

อกั ษรย่อ ช่อื เต็ม

SAE Society of Automotive Engineer
API American Petroleum Institute

ACI American Concrete Institute
ASCE American Society of Civil Engineer
AREA American Railway Engineering Association
DOT Department of Transportation
DOD Department of Defense

BS British Standard
DIN Deutsche Industrial Norm
EN European Standard
JIS Japanese Industrial Standard
ISO International Organization for Standization

MS Millitaly Standard
ASTM American Society for Testing Materials
SI System International
ASA American Standard Association
As Australian Standard

TISI Thai Industrials Standard Institute


Click to View FlipBook Version