The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Oiw Cazyon, 2022-04-21 03:40:11

ID PLAN

ปีการศึกษา 2565

แผนพฒั นาตนเองรายบุคคล

(Individual Development Plan : ID Plan)
ปีการศกึ ษา 2565

โดย
นางสาวน้ำฝน ประโพเทติ

ตำแหนง่ ครู คศ.1

โรงเรียนอนุบาลหนองก่ี
สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต 3

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

บันทกึ ข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรียนอนบุ าลหนองก่ี

ที่ พเิ ศษ / ๒๕๖5 วนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖5

เรื่อง แผนพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชพี (Individual Development Plan : ID Plan)

ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการพัฒนาตนเองและวิชาชพี ครู (ว๒๒/๒๕๖๐) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5

เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลหนองกี่
อา้ งถงึ หนงั สือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. ๐๒๐๖.๗/ว ๒๒ ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐

ตามหนงั สือท่ีอ้างถงึ ก.ค.ศ. ไดก้ ำหนดหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว ๒๒/๒๕๖๐) เมื่อวนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ขอ้ ๑. ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ต้องไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่องทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตามแบบท่ี ก.ค.ศ.
กำหนด พร้อมทงั้ จัดทำแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี ตามแบบท่ีส่วนราชการกำหนด และเขา้ รบั การพัฒนา
ตามแผนอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง รายละเอียดทราบแล้วนั้น ดังน้ัน ครูกอ่ นจะเลอื กหลกั สตู รในการอบรม
พฒั นาครู ครจู ะต้องประเมินตนเอง จดั ทำแผนพฒั นาตนเอง เพ่ือใหผ้ ้บู ริหารทราบหลักสูตรในการพัฒนาตาม
แผนพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชพี (Individual Development Plan : ID Plan)

บดั นีข้ า้ พเจา้ ไดจ้ ดั ทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5 เสรจ็ เรียบร้อย
แล้ว รายละเอยี ดดงั แนบ

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา

ลงช่อื

(นางสาวน้ำฝน ประโพเทติ)
ตำแหนง่ ครู คศ.1

ความคิดเห็นของรองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนฝ่ายวชิ าการ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ
(นางธนัชพร มาจรุงศขุ )

รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนฝ่ายวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของผบู้ ริหารโรงเรียน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............

ลงชือ่

(นางแสงระวี อัครสุขบตุ ร)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลหนองกี่



คำนำ

ด้วย ก.ค.ศ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพครูตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
พัฒนาตนเองและวชิ าชีพครู (ว 22/2560) เมือ่ วันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 ขอ้ 1. ขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาต้องได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนด พร้อม
ทั้งจัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายปีตามแบบที่ส่วนราชการกำหนดและเข้ารับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็น
ระบบและต่อเนือ่ ง

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจร ตาม
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการปฏิรูประบบการพัฒนาครู เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุด สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ซึ่ง
กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายพัฒนาครูเพื่อเชื่อมโยงกับวิทยฐานะ สำหรับการอบรมพัฒนาตนเองใน
หลกั สตู รทส่ี ถาบนั คุรุพฒั นารบั รองหรือ ก.ค.ศ. รับรอง ก่อนท่คี รูจะเข้ารับการพฒั นา ครูต้องจัดทำแผนพัฒนา
ตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) เสนอผู้บริหารก่อนที่จะเข้ารับการอบรม
ข้าพเจ้าจึงได้ทำการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาพร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล
เพ่ือเข้ารับการพฒั นาต่อไป

นางสาวน้ำฝน ประโพเทติ
17 พฤษภาคม 2565



สารบัญ

หน้า
คำนำ............................................................................................................................................................................................... ก
สารบัญ........................................................................................................................................................................................... ข
สว่ นท่ี 1 บทนำ........................................................................................................................................................................ 1

- วตั ถปุ ระสงค์.......................................................................................................................................................... 1
- กระบวนการจัดทำแผนพฒั นาตนเองรายบุคคล...................................................................................2
สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ทว่ั ไป.............................................................................................................................................................๓
- ขอ้ มลู ส่วนตัว....................................................................................................................................................... ๓
- วิชา/สาขา/กล่มุ สาระการเรียนรู้ท่ีทำการสอน .................................................................................... 4
- ผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั ิหนา้ ที่ในตำแหน่งปจั จบุ ัน...................................................................... 5
ส่วนท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบหลกั สตู รของ ก.ค.ศ. .....................................................................๙
- ผลการประเมนิ ศักยภาพของผเู้ รียนในสถานศึกษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ.................................1๒
- ผลการประเมินศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสตู รของสถาบนั ครุ ุพัฒนา....1๓
- สรปุ ผลการประเมินตนเอง..............................................................................................................................13
ส่วนที่ 4 แผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล..................................................................................................................๑๕
- ลำดับความสำคัญของสมรรถนะที่จะพัฒนา.......................................................................................... 1๕
- ประวัตกิ ารเขา้ รับการพัฒนา ......................................................................................................................๑5
- วธิ ีการ / รปู แบบการพฒั นา..........................................................................................................................18
- ระยะเวลาในการพฒั นา...................................................................................................................................๑8
- การขอรบั การสนับสนุนจากหน่วยงาน......................................................................................................๑8
- ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ..............................................................................................๑8
- ความตอ้ งการในการพฒั นา.............................................................................................................................๑๙
- ความเห็นของผู้บังคับบัญชา...........................................................................................................................20
ภาคผนวก..................................................................................................................................................................................... ๒1

1

ส่วนท่ี 1
บทนำ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการปฏิรูประบบการพัฒนาครูเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุด สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2560 - 2579) เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว โดยกระทรวงศึกษาธกิ าร มนี โยบายการพัฒนาครูเพื่อเช่ือมโยง
กับวิทยฐานะ โดยการปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมินเพื่อขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะโดยให้ความส ำคัญกับ
"ระยะเวลา" ในการทำงานสั่งสมความชำนาญในระยะเวลาหนึ่งเชื่อมโยงกับการอบรมพัฒนาตนเอง โดยการ
อบรมพัฒนาเองในหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรองหรือ ก.ค.ศ. รับรอง และสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานคัดเลือกหลักสูตรดังกล่าว เป็นหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากนโยบายดังกล่าว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
ดำเนินการพัฒนาครูและให้ข้าราชการครูเลือกพัฒนาตนเองในหลักสูตรที่สอดคล้องตามแผนพัฒนาตนเอง
รายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษาและผู้เรยี น

ประกอบกบั การประเมินเพ่ือขอมีวทิ ยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้นตาม ว 21/2560 กำหนดให้
ครูต้องทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) ในทุกวิทยฐานะ จึงได้
จดั ทำแผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล (Individual Development Plan : ID Plan) ข้ึน

วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ วางแผนการพัฒนาตนเองใหไ้ ดต้ รงตามศกั ยภาพ
2. เพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเองตามหลักสูตรการพัฒนาครูของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขน้ั พ้ืนฐานที่เปน็ มาตรฐานผา่ นการรบั รองจากสถาบันครุ พุ ัฒนา หรอื จาก ก.ค.ศ.
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้จากการอบรมไปใช้ประโยชน์ได้จริงในการประกอบอาชีพและนำไปใช้ใน

การเล่อื นวิทยฐานะ

กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล
1. ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตามกรอบหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนาหรือ

ก.ค.ศ. กำหนดประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้คือ องค์ประกอบด้านความรู้ องค์ประกอบด้านทักษะ และ
องคป์ ระกอบดา้ นความเป็นครู

2. จัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan) ตามความ
ต้องการพัฒนาตนเองทีส่ อดคล้องกับภาระงานในหนา้ ที่ของตนเองและบรบิ ทของสถานศกึ ษาและผเู้ รยี น

3. ศึกษา ทำความเข้าใจหลักสูตร คู่มือ หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง และการ
ดำเนินการอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วข้องอย่างละเอยี ด

4. การพัฒนาตนเอง สามารถกระทำได้โดย
4.1 การอ่านจากหนงั สอื ตำรา บทความทางวชิ าการและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง

2

4.2 การสืบค้นข้อมูลผ่าน Search Engine ในเครือข่ายต่างๆ เช่น ThaiLis, Gotoknow
เป็นต้น

4.3 การไปเข้ารับการประชุม อบรมและพัฒนาตามที่ส่วนราชการจัดขึ้น เช่น โรงเรียน
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน หรือสถาบนั อดุ มศึกษา

4.4 การไปเข้ารับการอบรมพัฒนาตามทส่ี ถาบนั อดุ มศกึ ษาเป็นผจู้ ัด
4.5 การไปเขา้ รับการพฒั นาในหลกั สูตรทีส่ ถาบนั ครุ พุ ฒั นากำหนด (Training OBEC)
4.6 การอบรมพฒั นาผ่านเครือข่ายตา่ งๆ เช่น TEPE Online, IPST : (Teacher
Professional Development) เป็นตน้
สามารถเขยี นเป็นแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ได้ ดงั น้ี

กระบวนการพัฒนาตนเอง ตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารพัฒนาตนเองและวชิ าชีพครู ตาม ว 22/2560

วเิ คราะห์ความจำเปน็ ในการพฒั นา
จัดทำแผนพฒั นาตนเองรายปี

เสนอ ไมอ่ นมุ ัติ
ผอ.โรงเรยี น

อนมุ ัติ คุณภาพผู้เรยี น
เขา้ รับการพัฒนา
รายงานผลการพัฒนา

3

สว่ นที่ 2

ข้อมูลท่ัวไป

๑. ขอ้ มูลส่วนตัว

ช่อื -สกุล นางสาวน้ำฝน ประโพเทติ (Miss Namfon Prapotati)

ช่ือเล่น อ๋วิ .

สัญญาติ ไทย เช้ือชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ .

วนั เดอื นปเี กดิ 06 เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2534 อายุ 30 ปี .

ภมู ิลำเนา เลขที่ 8 หมทู่ ี่ 9 ตำบล ดอนอะราง อำเภอ หนองก่ี จงั หวดั บุรีรัมย์

รหัสไปรษณีย์ 31210

โทรศพั ท์ 095-4622548 E-Mail : [email protected]

เข้ารบั ราชการเมอ่ื วนั ที่ 02 เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ.2558 อายรุ าชการถงึ ปจั จุบนั 6 ปี 6 เดอื น

ตำแหนง่ 10059 วิทยฐานะ : - รบั เงนิ เดอื น อนั ดับครู ค.ศ.1

อัตราเงินเดอื น 23,470 บาท

ประวตั กิ ารศกึ ษา

ระดบั การศึกษา วุฒิการศึกษา วชิ าเอก สถาบนั ปที จี่ บ

กอ่ นประถมศึกษา - - โรงเรียนบา้ นโนนขี้เหล็ก พ.ศ.2541
ประถมศึกษา ป.6 - โรงเรียนบา้ นโนนขเ้ี หล็ก พ.ศ.2547
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ม.3 - โรงเรยี นบ้านโนนข้ีเหล็ก พ.ศ.2550
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ม.6 คณิต- ภาษา โรงเรียนหนองก่ีพิทยาคม พ.ศ.2553
ปริญญาตรี ค.บ. ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี ัมย์ พ.ศ.2558
ปรญิ ญาโท - -
ปรญิ ญาเอก - - - -
- -

สถานทท่ี ำงาน สงั กดั จังหวดั
สถานศกึ ษา/ หนว่ ยงาน บุรีรมั ย์
พ.ศ. โรงเรยี น สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา
บุรีรัมย์ เขต 3 บุรีรัมย์
2558 - 2564 โรงเรยี นอนุบาลโนนสวุ รรณ
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา
2564 - ปจั จุบนั โรงเรียนอนุบาลหนองกี่ บุรรี มั ย์ เขต 3

4

ประสบการณก์ ารทำงาน

พ.ศ. ตำแหนง่ โรงเรยี น สงั กดั จงั หวดั
นคราชสีมา
พ.ค.- พ.ย. พนกั งาน โรงเรยี นหนองแวงพิทยาคม เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
2558 ราชการ นครราชสีมา เขต ๔ บรุ ีรัมย์
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา บุรีรมั ย์
พ.ย.2558 - ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นอนบุ าลโนนสุวรรณ ประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต ๓ บรุ รี ัมย์
พ.ย.2560 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาบุรีรมั ย์ เขต ๓
พ.ย. ๒๕๖๐ – ครู คศ. ๑ โรงเรยี นอนบุ าลโนนสุวรรณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เม.ย. 2564 ประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต ๓

เม.ย. 2564 ครู คศ. ๑ โรงเรียนอนุบาลหนองก่ี
- ปจั จบุ ัน

๒. วิชา/สาขา/กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ท่ี ำการสอน ชน้ั จำนวนชว่ั โมง / สัปดาห์

ที่ ชือ่ วิชา ป.3/1 4
ภาคเรียนที่ 1 ป.3/2 4
1. อ13101 ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน ป.3/3 4
2. อ13101 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ป.3/4 4
3. อ13101 ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน ป.4 1
4. อ13101 ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน ป.3 1
5. กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (ยุวกาชาด) ป.3 1
6. กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (ชุมนุมฯ) ป.4 1
7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (แนะแนว)
8. กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (ยุวกาชาด) 20

รวม ชั้น จำนวนชัว่ โมง / สปั ดาห์

ท่ี ชอื่ วิชา ป.3/1 4
ภาคเรียนที่ 2 ป.3/2 4
1. อ13101 ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน ป.3/3 4
2. อ13101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน ป.3/4 4
3. อ13101 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ป.3/1 1
4. อ13101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน ป.4 1
5. กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ป.3 1
6. กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน (ยวุ กาชาด) ป.3 1
7. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น (ชมุ นุมฯ) ป.4 1
8. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น (แนะแนว)
9. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (ยุวกาชาด) 21

รวม

5

งานหน้าทพี่ เิ ศษ
กล่มุ บรหิ ารงานท่วั ไป
➢ คณะกรรมการ งานกิจการนักเรยี น (ครูเวรวนั ศุกร์)
➢ งานพฒั นาสือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา
➢ งานในจดั สถานที่และปฏคิ มในกจิ กรรมต่างๆของโรงเรยี น
กลมุ่ บริหารงานงบประมาณ
➢ เจา้ หนา้ ที่ฝ่ายงานงบประมาณ งานพสั ดุ-การเงนิ
➢ จดั ทำแผนงบประมาณประจำปี

3. ผลงานทเี่ กดิ จากการปฏบิ ตั หิ น้าที่ในตำแหนง่ ปัจจุบนั (ย้อนหลงั ไม่เกิน 5 ปี)

1. ผลท่เี กดิ จากการจัดการเรียนรู้

ไดด้ ำเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้กับนักเรยี น มีการวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยใช้แฟม้
สะสมผลงาน ชน้ิ งาน แบบฝึกทักษะ โดยการวดั ผลประเมินผลดงั กลา่ วครอบคลุมทุก ๆดา้ น ได้แก่ ดา้ นความรู้
การปฏบิ ตั ิ กระบวนการและคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ท้ังนเ้ี พอ่ื ส่งเสรมิ พัฒนาการของนักเรยี นทั้ง 4 ด้าน
ได้แก่ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา และมีคุณธรรม จริยธรรม ท้งั นี้เพ่ือใหน้ กั เรียนมี
พัฒนาการที่ดี มีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ตลอดจนมกี ารบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการสอนอย่างสมำ่ เสมอ
ทัง้ นีเ้ พื่อจะได้ชว่ ยแก้ไขข้อบกพรอ่ งให้กับนักเรยี นที่มีปัญหา สามารถสรุปผลการดำเนินงานได้ดงั น้ี

1.1 มีแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า อ31101 วชิ าภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน ที่มีการวิเคราะห์หลักสตู ร
สถานศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

1.2 มีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Active Learning) โดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ดว้ ย
กิจกรรมท่ีหลากหลายและสอดคล้องกับธรรมชาติวิชาคณิตศาสตร์

1.3 มีแนวทางในการบริหารจัดการชน้ั เรียนและจัดบรรยากาศในช้นั เรยี นทีเ่ หมาะสมและช่วยส่งเสริม
การเรียนร้ขู องนักเรยี น

1.4 มเี คร่ืองมือการวดั และประเมินผลท่ีมคี ุณภาพ ผ่านการหาคุณภาพเคร่ืองมือวัดผลเบื้องตน้ และมี
ความหลากหลายในการประเมินอยา่ งรอบด้าน ท้ังดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะและกระบวนการ และดา้ นคุณลักษณะอัน
พงึ ประสงค์ รวมไปถึงสมรรถนะที่สำคญั ของผู้เรียน

1.5 มกี ารแกป้ ญั หาในช้ันเรียนดว้ ยกระบวนการวจิ ยั ในชั้นเรยี น เร่ือง การพฒั นาทกั ษะทักษะการอ่าน
ภาษาอังกฤษโดยใชช้ ดุ ฝกึ สะกดคำ Phonics ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

1.6 มสี ่ือการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนสำหรบั ใช้ประกอบการจดั การเรยี นรู้ และใหน้ ักเรียนไว้สืบค้น
เพิ่มเติม เช่น เอกสารประกอบการเรียน สื่อสไลด์ คลปิ วิดโี อ และเว็บไซตร์ ายวิชาที่จัดการเรียนการสอนเพ่ิมเติม

1.7 ใช้ระบบ e-mail Address ในการเข้าถึงแหลง่ เรียนรู้ และการส่ือสารกับผู้เรียน ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต และ
ICT เพื่อการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

1.8 ประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อการจัดการเรียนรู้ โดยให้นกั เรยี นประเมินความพงึ พอใจ
หลังจากสอนโดยหาค่าคะแนนเฉลยี่ (X) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

6

2. ผลท่ีเกดิ จากการพัฒนาวิชาการ

ผลทเ่ี กิดจากการพฒั นาทางด้านวิชาการ พฒั นาผเู้ รียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัยในตนเอง
ตลอดจนจดั ทำส่ือประชาสัมพันธต์ ่าง ๆ อีกท้ังข้าพเจ้าเป็นผู้สนใจใฝร่ ู้ โดยได้ศึกษาหาความรูว้ ิทยาการใหม่ ๆ
มาพฒั นางานตนเองและเป็นแบบอย่างให้เพื่อนรว่ มงาน มีวิสยั ทัศน์ กล้าพดู กล้าตดั สินใจ มีความรับผดิ ชอบต่อ
งานในหนา้ ที่ไม่ย่อทอ้ ต่ออปุ สรรค มคี วามเอาใจใส่ต่องานในหน้าทีแ่ ละยังให้คำแนะนำ สนับสนุนเพอื่ นครูท้งั
ในและนอกสถานศกึ ษาในด้านข้อมลู ขา่ วสาร ที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ ทางราชการให้การสนบั สนุนดา้ นวิชาการโดย
เปน็ วทิ ยากรอบรมพฒั นาส่ือการเรยี นการสอน โดยใชส้ ือ่ มลั ตมิ ีเดียและเทคโนโลยเี ป็นสื่อในการพฒั นานักเรียน
เข้าแขง่ ขันงานทกั ษะทางวชิ าการอย่างสม่ำเสมอทกุ ปี ซ่ึงมีผลงานเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ มกี ารเข้ารบั การอบรมต่าง ๆ
ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพ่อื พัฒนาตนเองอยเู่ สมอ สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานไดด้ งั นี้

2.1 มกี จิ กรรมและการแข่งขันทีส่ ง่ เสรมิ และเปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้ใช้ความคดิ และทักษะท่ีได้ฝกึ
ประสบการณ์มา เช่น การแข่งขนั Kahood คำศัพท์

2.2 มกี ิจกรรมบูรณาการเนื้อหาในห้องเรียนกบั กิจกรรมท่ีทำในระบบจัดการชน้ั เรียนออนไลนโ์ ดยใช้
เทคโนโลยีของ Google เชน่ Google Classroom และ Google Site ซ่ึงเป็นการบูรณการเนื้อหาในหอ้ งเรียนผา่ น
กจิ กรรมต่าง ๆ ในรายวิชา ซ่ึงผเู้ รียนมผี ลงานมากมาย

2.3 มกี ารสอนแบบออนไลน์โดยทีผ่ ู้เรยี นสามารถเรยี นซำ้ บทเรยี นท่ีครูสอนได้จาก Google Site
2.4 ครมู ีความเข้าใจในการนำกระบวนการ PLC เขา้ มาใช้ในการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
2.5 การนำความรู้ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศมาพัฒนาระบบการจัดการเรยี นรู้ได้
2.6 การนำวิธกี ารวิจัยและพัฒนามาแกป้ ัญหา พร้อมท้งั พัฒนางานอยา่ งครบวงจร
2.7 ไดร้ ับรางวัลชนะเลิศ การประกวดคลิปวดี ที ัศน์การจัดการเรยี นการสอน รปู แบบภายใตส้ ถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ตามโครงการพัฒนาการจัดการเรยี นรทู้ ้ังระบบสูก่ ารยกระดับ
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และเตรียมผู้เรียนให้สอดคล้องกับศตวรรษท่ี 21 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3. ผลทเ่ี กิดกบั ผเู้ รยี น

ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั มกี ารใหน้ ักเรียนได้ฝกึ การปฏิบัติ
จริง เพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะต่าง ๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ความมีวินัยในตนเอง
ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย มี
ความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสาร และการมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้เรียน
สามารถนำความรู้ความเข้าใจและทักษะไปบูรณาการ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นการเพิ่มพูน
สมรรถนะตนเองให้มากข้นึ สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานไดด้ ังน้ี

3.1 นักเรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด
3.2 นกั เรยี นมีระดับทักษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี ผ่านเกณฑ์ทคี่ รผู ู้สอนกำหนดไว้
3.3 นกั เรยี นมรี ะดับคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ผ่านที่เกณฑท์ คี่ รผู ู้สอนกำหนดไว้
3.4 นกั เรยี นมีช้ินงาน/ผลงาน ท่ีสะทอ้ นความคิดขนั้ สูง เช่น การคิดวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์
การประเมนิ ค่าและความคดิ สรา้ งสรรคช์ ัน้ งาน โดยใช้ความรแู้ ละเนอื้ หาทางเทคโนโลยี

7

4. ผลท่ีเกดิ กบั สถานศกึ ษา

จากการทส่ี ถานศึกษามีแผนกลยทุ ธใ์ นการพัฒนา มีเปา้ หมาย มที ศิ ทางในการดำเนนิ งานเพอ่ื พฒั นา
สถานศึกษา นกั เรยี น โดยมกี ารจดั กจิ กรรม โครงการตา่ ง ๆ อย่างเปน็ รูปธรรม ซง่ึ นักเรียนและครูมีส่วนร่วมใน
การปฏิบตั กิ จิ กรรม ทำให้ผลการดำเนนิ งานเป็นทยี่ อมรบั ของผู้ปกครอง ชมุ ชน ท้องถิน่ ตลอดจนการจดั ทำส่ือ
ประชาสัมพันธต์ ่างๆ เชน่ วารสารประชาสมั พันธโ์ รงเรียน แผ่นพบั ประชาสมั พันธ์โรงเรยี น และเว็บไซต์
ประชาสัมพนั ธ์และแหลง่ ข้อมูลเพือ่ สืบค้นสำหรบั ครูและนักเรียน เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนมีการเปลีย่ นแปลงไปในทางท่ี
ดขี ้นึ และให้การดแู ลนักเรยี นโดยการเย่ียมบ้านนักเรียนในความดูแล และให้คำแนะนำในดา้ นต่าง ๆ ใหแ้ ก่
นกั เรียนและผปู้ กครองได้รบั การยอมรบั จากผปู้ กครองและชุมชนในดา้ นการดแู ลเอาใจใสข่ องครูท่มี ีต่อนกั เรียน
ในด้านการจดั การดแู ลดา้ นพฤติกรรม คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ดา้ นกริ ิยา มารยาท ความมีวนิ ัยในตนเอง
ความรับผดิ ชอบ สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานได้ดงั น้ี

4.1 มรี ะบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศต่าง ๆ ที่อยูใ่ นรปู แบบเวบ็ ไซตแ์ ละแอปพลเิ คชนั
4.2 มกี ารพัฒนากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรมลูกเสือ ยวุ กาชาด และชมุ นุมทีจ่ ดั ใหส้ อดคล้องกบั
หลักสตู รและผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง
4.3 มีระบบการทำงานทีเ่ ป็นทมี และมีแนวทางการทำงานที่เปน็ ข้ันตอนชัดเจน
4.4 มรี ะบบจดั การช้ันเรยี นออนไลนด์ ว้ ยเทคโนโลยี Google คือ Google Classroom และ Google
Site และมคี ลงั บทเรยี นท่ีมีการอธิบายเน้ือหาการเรียนการสอนของครูผ้สู อนใน Google Site และ
Application Line
4.5 การนิเทศตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ิงานของครทู ำใหก้ ารปฏิบตั ิงานมคี วามสมบรู ณ์ และเป็นไปตาม
เวลาทกี่ ำหนด
4.6 มีระบบการทำงานเป็นทีมมากข้ึน
4.7 มแี นวปฏิบตั ิดา้ นเอกสาร หลกั ฐานทางการศึกษาที่ถูกต้อง
4.8 การพัฒนางานมรี ะบบถูกต้องและครบวงจร

5. ผลที่เกิดกับชุมชน

สถานศึกษามีส่วนร่วมกับชุมชน ในกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดปีการศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวกับ
วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา ตลอดจนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ กิจกรรมวันสำคัญ จนทำให้
เกิดความร่วมมือ ความเข้าใจที่ดีต่อกัน เกิดความรักและความภาคภูมิใจในโรงเรียนและท้องถิ่น นอกจากน้ี
โรงเรียนยังได้จัดกิจกรรมการประชมุ ผูป้ กครอง ประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละภาคเรียน
เพื่อชี้แจงนโยบายของโรงเรียน และเพื่อหาแนวทางในการร่วมพัฒนาโรงเรียน ทั้งพัฒนาอาคารสถานที่ และ
พฒั นาทางวชิ าการให้เปน็ ไปในทางทศิ ทางเดยี วกนั สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ งานได้ดังนี้

5.1 เกิดความสมั พนั ธ์ทดี่ ีกบั ผู้ปกครองนักเรียน และชมุ ชน มกี ารประชุมทกุ ภาคเรียน
5.2 มกี จิ กรรมทางสังคมในด้านตา่ ง ๆ ร่วมกบั ชุมชนอย่างสมำ่ เสมอ
5.3 เปน็ แหล่งเรียนรู้ท่ีสามารถใหบ้ ุคคลภายนอกเข้ามาศกึ ษาได้
5.4 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรทู้ างเครือข่ายวิชาการ และชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี

8

5.5 เข้าร่วมเปน็ สมาชกิ เครอื ขา่ ยแลกเปลีย่ นเรียนรู้ทางวิชาชพี ทาง Facebook และ Line
5.6 โรงเรยี นใหบ้ รกิ ารแหลง่ เรยี นรู้แกช่ มุ ชนในด้านตา่ ง ๆ รวมทั้งสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ชุมชนมีความ
เขม้ แข็ง อีกท้ังชุมชนยังให้ความรว่ มมอื และสนับสนุนกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นด้วยดี

9

ส่วนที่ 3

ผลการประเมินตนเองตามกรอบหลักสูตรของ ก.ค.ศ.

ก.ค.ศ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพครู (ว22/2560) เมื่อวันที่ 5
กรกฎาคม 2560 ข้อ 1. กำหนดให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องได้รับการพัฒนาอย่าง
ตอ่ เนื่องทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตามแบบ ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด พร้อมทง้ั จดั ทำแผนการพฒั นาตนเองเป็นรายปี
ตามแบบที่ส่วนราชการกำหนด และเข้ารับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ฉะนั้น ก่อนจะ
เลือกหลักสูตรการพัฒนา ครูจะต้องประเมินตนเอง จัดทำแผนพฒั นาตนเอง เพื่อให้ผู้บรหิ ารทราบถงึ หลักสตู ร
ในการพฒั นาตามแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (Individual Development Plan : ID Plan) ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. ระดับความรู้
ดา้ นที่ 1 ความรูค้ วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ านในหน้าที่ มมี าก ปานกลาง น้อย
(3) (2) (1)
รายการพิจารณาตนเอง ✓

1. เนอ้ื หาในรายวิชา/กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ี่สอน
2. วธิ สี อน ถา่ ยทอดความรเู้ ชิงเนอ้ื หา กจิ กรรม บรบิ ท เปา้ หมาย ✓
การเรียนรู้ ความรู้พน้ื ฐาน การปรบั พื้นฐาน และอปุ สรรคการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ✓
3. หลักการสอน และกระบวนการเรยี นรู้
4. หลกั สตู ร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมินและแนวทาง ✓
การเรียนรู้ในแตล่ ะเนอ้ื หา
5. พ้นื ฐานการศึกษา หลักการศกึ ษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยา ✓
สงั คม นโยบายการศึกษา จดุ มุง่ หมายการจัดการศึกษาตงั้ แตร่ ะดับ
ชาติจนถึงระดับหลกั สตู ร ✓
6. การจดั การศกึ ษาแบบรวม และการตอบสนองต่อความหลาก ✓
หลายของผเู้ รียน
7. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ และจติ วิทยาการเรียนรู้ ✓
8. การใช้เทคโนโลยี และส่ือนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ 15 8
9. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
23 /อยู่ในระดบั มาก
รวม
คะแนนรวม/แปลผล

เกณฑ์ คะแนน 9 – 15 ระดับความรูน้ ้อย
คะแนน 16 – 21 ระดับความรปู้ านกลาง
คะแนน 22 – 27 ระดบั ความรู้มาก

10

จากผลการประเมิน พบว่า ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ควรได้รับการส่งเสริมด้านหลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ และการ
ประเมินการใช้หลักสูตร พื้นฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยา สังคม นโยบาย
การศึกษา จุดมุ่งหมายการจัดการศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั ชาติจนถงึ ระดับหลกั สตู ร ทฤษฎีการเรยี นร้แู ละจติ วิทยา
และการวัด ประเมนิ ผลการเรียนรู้

ดา้ นที่ 2 ทกั ษะการปฏบิ ัตงิ าน

รายการพจิ ารณาตนเอง ระดับความสามารถ
ทำไดด้ ี พอใช้ ไมค่ อ่ ยไดท้ ำ
1. การสรา้ งและหรือพัฒนาหลักสูตร (3) (2) (1)
2. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
3. การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ ✓
4. กลยุทธ์ในการจดั การเรียนรู้ ✓
5. การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น (ผลสัมฤทธิ์ คุณลกั ษณะ สมรรถนะ) ✓
6. การสร้างและการพฒั นาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษา
และแหลง่ เรียนรู้ ✓
7. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ✓
8. การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ✓

รวม ✓
คะแนนรวม/การแปลผล ✓
12 8
20 /อยู่ในระดับมาก

เกณฑ์ คะแนน 8 – 13 ระดบั ทักษะนอ้ ย
คะแนน 14 – 19 ระดับทักษะปานกลาง
คะแนน 20 – 24 ระดบั ทักษะมาก

จากผลการประเมนิ พบว่า ทักษะการปฏิบัตงิ าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
ควรได้รับการส่งเสริมความรู้ในเรื่องของการใช้กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการ
พัฒนาด้วยกระบวนการที่หลากหลายและเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ มากกว่าการที่ครูเป็นผู้
บอกความรู้ให้กับผู้เรียน และแหล่งเรียนรู้ให้มากขึ้น และสอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้
และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

11

ดา้ นที่ 3 ความเปน็ ครู

ระดับความเป็นครู

รายการพจิ ารณาตนเอง สูงมาก ปานกลาง ยงั ตอ้ งปรับปรุง

1. ยึดม่ัน ผกู พัน ศรัทธาในวิชาชีพ และทุ่มเทเพ่อื การเรยี นรู้ของ (3) (2) (1)
ผเู้ รยี น
2. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีแก่ ✓
ผูเ้ รียนทั้งกาย วาจา และจติ ใจ ดำรงตนใหเ้ ป็นทเี่ คารพ ศรัทธา
และนา่ เชือ่ ถอื ทั้งใน และนอกสถานศึกษา ✓
3. ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู
4. มวี ินัยและการรักษาวินยั ✓
5. เปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ ปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองอย่าง ✓
ต่อเนอื่ ง ใหม้ คี วามรู้ความชำนาญในวชิ าชีพเพิ่มข้ึน ✓
6. ปฏิบัตติ นโดยนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชไ้ ด้
7. มที ศั นคติท่ดี ีต่อบา้ นเมือง ✓
8. มุ่งประโยชนส์ ่วนรว่ มในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ✓

รวม 24
คะแนนรวม/การแปลผล
24/อยูใ่ นระดับมาก

เกณฑ์ คะแนน 8 – 13 ระดบั ความเป็นครนู ้อย
คะแนน 14 – 19 ระดับความเป็นครูปานกลาง
คะแนน 20 – 24 ระดบั ความเปน็ ครูมาก
จากผลการประเมนิ พบวา่ ความเปน็ ครู โดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อ

พบวา่ ทกุ ประเดน็ มีระดบั คะแนนที่แสดงถึงความเป็นครอู ยู่ในระดบั มาก

12

ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ ศักยภาพของผู้เรยี นในสถานศกึ ษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ.

รายการศกั ยภาพของผูเ้ รียนในสถานศึกษาตามจุดเนน้ ระดับศักยภาพ
ของ สพฐ.
สงู มาก ปานกลาง ยังต้องปรบั ปรุง
1. ด้านอ่านออก อ่านคลอ่ ง เขียนได้ เขียนคล่อง
2. ด้านคิดเลขเป็น คิดเลขคลอ่ ง (3) (2) (1)
3. ด้านการคดิ ขน้ั พืน้ ฐาน
4. ด้านการคิดข้ันสงู ✓
5. ดา้ นการสอ่ื สารอย่างสรา้ งสรรคต์ ามชว่ งวยั
6. ด้านการใช้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ✓
7. ด้านการใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อการเรียนรู้
8. ด้านการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง ✓
9. ดา้ นใฝ่เรียนรู้
10. ดา้ นใฝ่ดี ✓
11. ดา้ นทักษะชีวิต
12. ด้านการอยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่นั ในการศึกษาและการทำงาน ✓

รวม ✓
คะแนนรวม/การแปลผล












12 16

28 /อยใู่ นระดบั ปานกลาง

เกณฑ์ คะแนน 12 – 20 ระดับศักยภาพนอ้ ย
คะแนน 21 – 28 ระดับศักยภาพปานกลาง
คะแนน 29 – 36 ระดบั ศักยภาพสูงมาก

จากผลการประเมิน พบว่า ระดบั ศักยภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาตามจุดเนน้ ของ สพฐ. โดยรวม
อยใู่ นระดบั ปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า ดา้ นที่ตอ้ งไดร้ ับการพฒั นา ซ่งึ มีระดับศักยภาพอยใู่ น
ระดับปานกลาง คือ ด้านการคิดขนั้ สูง ด้านการใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ด้านอ่านออก อา่ นคล่อง
เขียนได้ เขยี นคล่อง ด้านคดิ เลขเป็น คดิ เลขคล่อง ด้านการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองด้านใฝ่เรยี นรู้ ดา้ น
ทกั ษะชีวิต และ ด้านการอยู่อย่างพอเพียง มงุ่ ม่ันในการศึกษาและการทำงานที่จะต้องได้รบั การสง่ เสริมใน
ลำดับต่อมา

13

ตอนที่ 3 ผลการประเมนิ ศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคดิ ของหลกั สูตรของสถาบนั คุรุพฒั นา

ระดบั ศักยภาพ

รายการศักยภาพของผู้เรียนตามจุดเนน้ สงู มาก ปานกลาง ยงั ต้อง
(3) (2) ปรับปรุง
1. การสอนในศตวรรษที่ 21
2. การแกป้ ัญหาผเู้ รยี น (1)
3. จติ วทิ ยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจดั การเรยี นรู้
4. การจัดการชั้นเรยี น ✓
5. การวิจยั
6. การพัฒนาหลกั สูตร ✓
7. สะเต็มศึกษา (STEM Education)
8. การใชส้ ่ือและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ✓
9. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
10. การออกแบบการเรยี นรู้ ✓

รวม ✓
คะแนนรวม/การแปลผล










12 10 1

23 /อยู่ในระดบั ปานกลาง

เกณฑ์ คะแนน 10 – 16 ระดับศาสตร์การสอนนอ้ ย
คะแนน 17 – 23 ระดับศาสตร์การสอนปานกลาง
คะแนน 24 – 30 ระดับศาสตร์การสอนสูงมาก

จากผลการประเมนิ พบวา่ ระดบั ศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคดิ ของหลกั สตู รของสถาบัน
ครุ พุ ัฒนา โดยรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ด้านท่ตี ้องไดร้ ับการปรบั ปรุง คือ สะ
เต็มศกึ ษา (STEM Education) และระดบั ศาสตรก์ ารสอน ปานกลาง คอื การวจิ ัย การพฒั นาหลกั สตู ร
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ และการออกแบบการเรียนรู้

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง
ตอนที่ 1 ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ.

ด้านที่ 1 ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ควรได้รับการส่งเสริมความรู้ในด้าน
เนื้อหารายวิชา หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ และการประเมินการใช้หลักสูตร พื้นฐานการศึกษา
หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาสังคม นโยบายการศึกษา จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาตั้งแต่
ระดับชาติจนถึงระดับหลักสูตร ทฤษฎีการเรียนรูแ้ ละจิตวิทยาการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี และสื่อนวัตกรรม
เพ่อื การเรยี นรู้ และการวัด ประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ด้านที่ 2 ทักษะการปฏิบัติงาน ควรได้รับการส่งเสริมความรู้ในเรื่องของการใช้กลยุทธ์ในการจัดการ
เรยี นรู้ และแหลง่ เรยี นรู้

ด้านที่ 3 ความเป็นครู ปฏิบตั ิหนา้ ทไ่ี ด้ในระดับสงู มาก

14

ตอนที่ 2 ผลการประเมินศกั ยภาพของผูเ้ รียนในสถานศึกษาตามจุดเนน้ ของ สพฐ.
ระดับศักยภาพของผเู้ รียนในสถานศึกษาตามจุดเนน้ ของ สพฐ. ดา้ นทีต่ อ้ งได้รบั การพัฒนา คือ ด้าน

การคิดขั้นสูง และด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ด้านอ่านออก อ่านคล่อง เขียนได้ เขียนคล่อง
ด้านคิดเลขเป็น คิดเลขคลอ่ ง ดา้ นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองดา้ นใฝ่เรยี นรู้ และดา้ นทักษะชีวติ

ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ ศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคดิ ของหลักสตู รของสถาบนั ครุ พุ ัฒนา
ระดับศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพัฒนา ด้านที่ต้องได้รับการ

ปรับปรุง คือ สะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
เช่น วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมไปถงึ การใช้กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตรม์ าช่วยแก้ปญั หาในสถานการณ์
ต่าง ๆ หรอื สรา้ งนวตั กรรมการเรียนรขู้ ึ้น

15

สว่ นท่ี 4

แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล

๑. ลำดบั ความสำคัญของสมรรถนะท่จี ะพฒั นา

ลำดับที่ สมรรถนะท่ีจะพัฒนา

1 การสอนในศตวรรษที่ 21

2 การใช้สือ่ และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้

3 การวิจยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี

4 การออกแบบการเรยี นรู้

5 การแก้ปัญหาผเู้ รยี น

6 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

7 การจดั การชัน้ เรียน

8 จติ วิทยาการแนะแนว/จติ วทิ ยาการจดั การเรยี นรู้

9 สะเต็มศึกษา (STEM Education)

10 การพฒั นาหลักสูตร

2. ประวัตกิ ารเข้ารบั การพฒั นาในปที ผ่ี า่ นมา

ท่ี วัน /เดือน/ ปี เรือ่ ง สถานที่ หน่วยงานท่จี ัด หลกั ฐาน

หลกั สูตรออนไลนก์ ารจัดการเรยี นรู้

วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู

1. 24 พ.ค. 2564 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 Cooding ออนไลน์ สสวท.รว่ มกบั สพฐ. เกียรตบิ ตั ร

Online fof Grade 1-3 Teacher

(C4T-6)

การอบรมพัฒนาการนำบัญชีคำศัพท์

2. 5 ก.ค. 2564 ภาษาองั กฤษ Oxford 3000 ระดบั A1 โรงเรียน สพป.บรุ รี มั ย์ เขต 3 เกียรตบิ ัตร
และ A2 และสอื่ การสอนคำศัพทภ์ าษา อนบุ าลหนองก่ี

ไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน

การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การ

พฒั นาศักยภาพครูในการจัดการเรยี น

การสอนออนไลน์ ยุคโควิดตาม สพป.บุรีรมั ย์ สพป.บรุ ีรมั ย์ เขต 3 เกียรตบิ ตั ร
3. 3 ส.ค. 2564 โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรทู้ ัง้ เขต 3

ระบบสกู่ ารยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนและการเตรยี มผู้เรียนให้

สอดคล้องกบั ศตวรรษท่ี 21

16

ท่ี วนั /เดือน/ ปี เรื่อง สถานที่ หนว่ ยงานทจ่ี ดั หลกั ฐาน

วทิ ยาการการอบรมปฏบิ ตั ิการ การ โรงเรยี น
อนบุ าล สพป.บุรีรัมย์ เขต 3 เกียรตบิ ตั ร
4. 6 ส.ค. 2564 พฒั นาประสิทธิภาพครูในการจัดการ หนองก่ี
เรยี นการสอนออนไลน์ยุคโควิด ตาม

โครงการพัฒนาการจดั การเรียนรู้

การพัฒนาสมรรถนะดจิ ิทลั ข้าราชการ

5. 9 ส.ค. 2564 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ทางสือ่ ออนไลน์ สพป.อทุ ัยธานี เขต 1 เกียรติบตั ร
อิเล็กทรอนกิ ส์ You Tube Live

หลักสูตร Ghost all win by ตน้

การพัฒนาสมรรถนะดจิ ิทลั ข้าราชการ

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ทางส่อื

6. 9 ส.ค. 2564 อิเลก็ ทรอนกิ ส์ You Tube Live ออนไลน์ สพป.อุทัยธานี เขต 1 เกียรตบิ ัตร
หลกั สูตร เปลยี่ นเน้อื หาท่ีวุ่นวายให้

กลายเปน็ เนอื้ หาทแี่ สนสนกุ ด้วย Word

Wall

การพฒั นาสมรรถนะดจิ ิทัล ข้าราชการ

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ทางสื่อ

7. 9 ส.ค. 2564 อิเล็กทรอนิกส์ You Tube Live ออนไลน์ สพป.อทุ ยั ธานี เขต 1 เกียรติบัตร
หลักสตู ร สรา้ งข้อมูลสาระสนเทศงา่ ยๆ

ด้วยGoogle sheet และ Google Data

Studio

การพฒั นาสมรรถนะดิจิทัล ข้าราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางส่ือ

8. 9 ส.ค. 2564 อิเล็กทรอนกิ ส์ You Tube Live ออนไลน์ สพป.อุทัยธานี เขต 1 เกยี รตบิ ตั ร

หลกั สตู ร สรา้ งเวบ็ ห้องเรยี นออนไลน์

ด้วย Google Site

การพัฒนาสมรรถนะดจิ ิทัล ข้าราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางส่อื

9. 9 ส.ค. 2564 อิเลก็ ทรอนิกส์ You Tube Live ออนไลน์ สพป.อทุ ยั ธานี เขต 1 เกยี รตบิ ัตร

หลกั สตู ร สร้างเกมคำถามกบั โปรแกรม

Kahoot

การพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล ข้าราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางสอ่ื

10. 9 ส.ค. 2564 อเิ ล็กทรอนกิ ส์ You Tube Live ออนไลน์ สพป.อทุ ัยธานี เขต 1 เกยี รตบิ ัตร

หลกั สตู ร ปัน้ ครูสู่ Graphic Design

สร้างสรรคง์ านออกแบบดว้ ย Canva

17

ที่ วนั /เดือน/ ปี เร่ือง สถานที่ หนว่ ยงานทจ่ี ัด หลกั ฐาน

การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนาทกั ษะ

11. 14-15 ส.ค. การจดั การเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ออนไลน์ สพฐ. เกียรตบิ ตั ร
2564 สำหรบั ครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

12. อบรมปฏบิ ัติการในรูปแบบออนไลน์ ออนไลน์ กลมุ่ โรงเรยี นหนองก่ี เกียรติบตั ร
19 ส.ค. 2564 “การสอนออนไลนแ์ ละวัดผลอยา่ งไรให้ ปราสาทพัฒนา

สนุกในยุคโควิด”

การประกวดคลปิ วีดีทศั น์การจดั การ

เรียนการสอน รปู แบบภายใต้

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ

13. 22 ก.ย. 2564 เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ตามโครงการ ออนไลน์ สพป.บรุ ีรัมย์ เขต 3 เกียรตบิ ัตร
พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ทง้ั ระบบสู่การ

ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน และ

เตรียมผู้เรยี นให้สอดคล้องกับศตวรรษท่ี

21 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รว่ มกจิ กรรมการพฒั นาทางวิชาชีพ เน่อื ง

14. 16 ม.ค. 2565 ในวันครคู รง้ั ที่ 66 ประจำปีพุทธศกั ราช ออนไลน์ สพป.บรุ ีรมั ย์ เขต 3 เกียรติบัตร
2565 “พัฒนาครู พฒั นาเด็ก เรียนรู้ สู่

อนาคต”

15. รว่ มกิจกรรมการพัฒนาทางวิชาชีพ เน่ือง สำนักงานเลขาธิการ เกยี รตบิ ตั ร
16 ม.ค. 2565 ในวันครคู รงั้ ที่ 66 “พลังครูยุคใหม่ ออนไลน์ ครุ สุ ภา

สรา้ งคณุ ภาพคนไทยส่สู ากล”

เข้ารว่ มอบรมโครงการการจักการเรยี นรู้

โดยใช้แบบเรยี นของ สพป. องค์การคา้ ของ เกียรตบิ ัตร
16. 28 ม.ค. 2565 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเทคนิคการ บรุ ีรัมย์ สกสค.
เขต 3
สอนภาษาอังกฤษตามกรอบของ CEFR

เพอ่ื พัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

วิทยากรค่ายวิชาการ Academic โรงเรียน โรงเรียนอนุบาล เกยี รตบิ ัตร
17. 16 ก.พ. 2565 Camp 2022 ประจำปีการศกึ ษา อนุบาล หนองกี่
หนองก่ี
2564

สรุป การพัฒนาตนเอง จำนวน 17 ครงั้ คดิ เปน็ 116 ชว่ั โมง นำมาขยายผล.....2....คร้ัง

18

3. วธิ กี าร / รปู แบบการพัฒนา
ศึกษาหาความรทู้ างอินเตอร์เน็ต และหลกั สูตรออนไลน์ เกยี่ วกบั การสอนในศตวรรษท่ี 21 โดยใชก้ าร

ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการ
สอน

4. ระยะเวลาในการพัฒนา
เรมิ่ ต้น ๑๗ พฤษภาคม 25645 ส้นิ สดุ 31 มีนาคม 2566

5. การขอรบั การสนับสนนุ จากหน่วยงาน
ขอรบั การสนับสนนุ ดา้ นงบประมาณสว่ นบุคคล

6. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
6.1 ผลลัพธท์ คี่ าดหวัง
ดา้ นความรู้
มีแนวทาง และความรูค้ วามเข้าใจในการจดั การเรียนรู้โดยใช้ส่ือและเทคโนโลยีในการจัดการ

เรียนรู้ผ่าน แอพลิเคชั่นต่าง ๆ สามารถบูรณาการกับเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษและทำให้นักเรียนเห็นถึง
ความสำคัญว่า ทำไมจึงต้องเรียนภาษาอังกฤษ ควบคู่กับการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้มีสื่อที่ทันสมัย และทำให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนรู้ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการสอน และเพิ่ม
การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน และใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรยี นการสอน รวมไปถึงการเข้าร่วมชุมชนการ
เรยี นรทู้ างวิชาชพี เพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นการออบแบบการเรียนรู้ทมี่ ีประสิทธภิ าพ สามารถนำมาพัฒนาการ
เรียนรู้ของผ้เู รียนไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพของนักเรยี นแต่ละคน

ดา้ นทักษะ
พฒั นาทกั ษะดา้ นการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษท้ัง 4 ทกั ษะ: ฟงั พูด อ่าน และเขียน
พัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการ ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร
ของนกั เรยี น เพ่มิ พูนประสบการณ์และทักษะการใชส้ ื่อเทคโนโลยกี ารเรยี นการสอนภาษาอังกฤษท่ีทนั สมยั
ความเป็นครู
พฒั นาตนเองให้มีความรูค้ วามสามารถ ในระดบั มาตรฐานตำแหน่ง ครู เป็นพี่เลยี้ ง/ท่ีปรึกษา/
แบบอย่าง ในการแสดงถึงความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ตลอดจนเป็นผู้นำทางวิชาการ ช่วยเหลือและ
พัฒนาคุณครูในโรงเรยี นในการขอมีและเล่อื นวทิ ยฐานะทส่ี ูงขึน้

6.2 ผลการนำไปใช้ในการพฒั นางาน
ทำให้มีแผนการจัดการเรียนรู้ในเน้นผู้เรียนปฏิบัติ (Active Learning) มุ่งเน้นให้นักเรียนได้

เรียนรู้ผ่านการลงมือทำกิจกรรมด้วยตนเอง ร่วมกับสื่อ เทคโนโลยีการเรียนการสอน และแหล่งเรียนรู้ที่ครูได้
รวบรวมไว้ รวมถึงการใช้กระบวนการ PLC และการวิจัยในชั้นเรยี น มาปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา การเรียนรู้
ของผเู้ รียน

19

6.3 การสร้างชมุ ชนการเรยี นรู้ PLC Online เครือข่ายระดบั ชาติ
มีกลุ่มไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ที่เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร

แลกเปลี่ยนแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ การเผยแพร่กลยุทธ์วิธีการสอนที่เกิดผลทางบวกต่อการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รยี น การใชส้ ่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยกี ารเรียนการสอน รวมไปถงึ เคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล และการวิจัย
ในช้ันเรยี น การบรหิ ารจัดการชัน้ เรียน ระบบดแู ลช่วยเหลอื การพฒั นาตนเองและการพฒั นาวชิ าชพี ครู

๗. ความต้องการในการพฒั นา
๗.1 หลกั สูตรใดท่ที า่ นตอ้ งการพัฒนา
ลำดบั ที่ ๑ ชือ่ หลักสตู ร การเป็นครูในศตวรรษท่ี 21 และพัฒนาการสร้างส่ือ เทคโนโลยเี พ่อื การเรยี น

การสอน

๗.2 เพราะเหตุใดทา่ นจงึ ตอ้ งการเขา้ รบั การพัฒนาในหลักสตู รนี้
1. เพราะต้องการรู้และเขา้ ใจแนวทางการจัดการเรียนการสอนของครูในศตวรรษที่ 21
2. เพราะต้องการนำความรู้ท่ีได้จากการอบรมไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน และมี
การแบ่งปันความรู้ร่วมกันเพื่อสร้างสังคมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยนำไปบูรณาการใน
รายวชิ าภาษาองั กฤษ
3. ตอ้ งการเรียนร้แู ละทำไปบรู ณาการให้นักเรยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะการทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื การ
ทำงานเปน็ ทีม ความสามัคคี

๗.3 ทา่ นคาดหวงั สิ่งใดจากการเขา้ รบั การพัฒนาในหลกั สูตรนี้
ได้รบั ความรู้องค์ความรใู้ นการจดั การเรียนรู้การสอนของครใู น ศตวรรษที่ 21 แบบออนไลน์

ไปบูรณาการกับรายวิชาภาษาองั กฤษ

๗.4 ท่านจะนำความรจู้ ากหลักสตู รไปพัฒนาการสอนของท่านอยา่ งไร
ขา้ พเจ้าจะมุ่งเนน้ ในการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะทส่ี ำคัญในการดำรงชีวิต

ในศตวรรษที่ 21 อันได้แก่ ทักษะพื้นฐานความคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) , ทักษะพื้น
ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรู้และทักษะด้านนวัตกรรม
(Learning and Innovation –The 4 C’s) , ทักษะการทำมาหาเลี้ยงชีพและการดำเนินชีวิต (Career and
Life) และทักษะพื้นฐานการรู้เท่าทันสื่อและข่าวสาร (Media and information Literacy) ซึ่งทักษะพื้นฐาน
เหล่านเี้ ปน็ สงิ่ สำคัญท่ีนักเรียนควรไดร้ ับการปลูกฝังเพื่อเป็นรากฐานของการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพ่ิม
ศกั ยภาพและนวัตกรรมท่จี ะนำไปสกู่ ารพัฒนาประเทศ

20

ลงชื่อ
(นางสาวน้ำฝน ประโพเทติ)
ตำแหน่ง ครู คศ.1

ความคิดเหน็ ของผบู้ ังคับบัญชา
……………………………………........………………………………………………………..........….................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นางธนัชพร มาจรุงศุข)

ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

……………………………………........………………………………………………………..........….................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นางแสงระวี อคั รสขุ บุตร)

ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนุบาลหนองกี่

21

ภาคผนวก

22

หนังสอื สำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. 0206.7/ว 22 ลงวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2560
หลักเกณฑแ์ ละวิธีการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน

(ว 22/2560) เมอ่ื วันที่ 5 กรกฎาคม 2560

( สำเนา )

23

( สำเนา )

24

( สำเนา )

25

( สำเนา )

26

( สำเนา )

27

( สำเนา )


Click to View FlipBook Version