The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักและวิธีการอ่านการเขียนภาษาบาลี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เสนีย์ กองแก้ว, 2019-08-01 23:26:34

หลักและวิธีการอ่านการเขียนภาษาบาลี

หลักและวิธีการอ่านการเขียนภาษาบาลี

หลักและวิธีการอา่ นการเขียนภาษาบาลี

ในภาษาบาลี มีตัวอักษรทั้งสน้ิ ๔๑ ตัว เท่านนั้ โดยแบ่งเปน็ สระ ๘ ตัว ได้แก่

อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ

สระในภาษาบาลี มี ๘ ตวั น้ี เมื่อนาไปใช้ก็เขียนแล้ว เฉพาะสระ อะ จะไม่ปรากฏรปู รา่ ง
(สระ อะ จะไมม่ ีรปู ลกั ษณะเป็น ะ) สว่ นอีก ๗ ตัว รูปสระจะยงั คงตัว และสระทกุ ตัว นยิ มอา่ นออก
เสยี งเหมอื นในภาษาไทย

พยญั ชนะในภาษาบาลี มที ้งั สิ้น ๓๓ ตัว ได้แก่

ก ข ค ฆ ง เรยี กว่า ก วรรค
จ ฉ ช ฌ ญ เรียกว่า จ วรรค
ฏ ฐ ฑ ฒ ณ เรียกว่า ฏ วรรค
ต ถ ท ธ น เรยี กวา่ ต วรรค
ป ผ พ ภ ม เรียกว่า ป วรรค
พยญั ชนะเศษวรรค เรยี ก อวรรค มี 8 ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ (เพราะ มีเสียงเกดิ จากฐานตา่ งกันไป )

หมายเหตุ พยญั ชนะทุกตัวสระ "อะ" อยู่ในตวั เวลาอา่ นต้อง อ่านวา่ กะ ขะ คะ ฆะ งะ เปน็ ต้น
เหมอื นกนั ทกุ วรรค

วิธอี ่าน และ เขยี นภาษาบาลี

วธิ ีการอา่ น เขยี น และสะกด ในภาษาบาลี มหี ลกั การกว้าง ๆ ดังต่อไปน้ี
๑.พยญั ชนะทีเ่ ขียนไว้โดด ๆ โดยไม่มีสระ ให้อา้ นออกเสยี ง "สระ อะ" เสมอ เช่น

ตป อา่ นว่า ตะ-ปะ
สติ อ่านวา่ สะ-ติ
นโม อ่านวา่ นะ-โม

ภควา อ่านวา่ ภะ-คะ-วา
อาจรยิ อ่านว่า อา-จะ-ริ-ยะ
อรหโต อ่านว่า อะ-ระ-หะ-โต

๒.การสะกดในภาษาบาลี ทา่ นใช้ "พินทุ ( )" เขยี นไวใ้ ต้ตวั พยัญชนะ มหี ลักในการเขยี นและอ่าน
ดังนี้

๒.๑ พยญั ชนะทีใ่ ชพ้ ินทุ หรอื จุด ( )ไว้ใต้ จะใช้เปน็ ตัวสะกด เสมอ เชน่

ภิกขุ อา่ นวา่ ภิก-ขุ
อนจิ จตา อา่ นว่า อะ-นิด-จะ-ตา
อภญิ ญา อา่ นว่า
เวสโส อ่านว่า เวด-โส อะ-ภนิ -ยา

๒.๒ ถา้ พยัญชนะตัวหน้า ไม่มีสระอย่ดู ว้ ย ทา่ นใช้พินทุหรอื จุด ( ) ทอ่ี ยใู่ ต้พยัญชนะตัว
หลัง เป็นไม้หนั อากาศ เสมอ เช่น

ขนติ อ่านว่า ขัน-ติ
ตสส อา่ นว่า ตัด-สะ
ปจจตต อ่านวา่ ปัด-จดั -ตัง
สมมาสมพทุ ธสส อา่ นว่า สา-มา-สา-พุด-ธัด-สะ

๒.๓ บางครง้ั ใชพ้ ินทุ หรือจุดไวใ้ ต้พยญั ชนะเพอื่ ใหเ้ ป็นตัวควบกล้า ในกรณีนี้ นยิ มอ่าน
ออกเสียก่ึงมาตรา เช่น

ตสมา อ่านว่า ตัด-สมา (เสียง สะ หนา้ มา อา่ นออกกง่ึ มาตรา หรือ อา่ นอยา่ งเรว็ )
พรูถะ อา่ นวา่ พรู-ถะ (เสยี ง พะ หน้า รู อ่านออกเสียงก่งึ มาตรา คล้ายตัวควบกล้า)
ยาตรา อ่านวา่ ยาด-ตรา (เสียง ตะ หนา้ รา ออกเสยี งก่งึ มาตรา)
ภวตวนตราโย อ่านวา่ ภะ-วัด-ตวนั -ตะ-รา-โย (เสยี ง ตะ หนา้ รา ออกเสียงกงึ่ มาตรา)
กตวา อา่ นว่า กตั - ตวา ( เสยี ง ตะ หน้า วา ออก กึ่งมาตรา )

พยาธิ อ่านว่า พยา - ธิ ( เสยี ง พะ หน้า ยา ออกกงึ่ มาตรา )
พราหมณ อ่านว่า พราม - มะ - ณะ ( เสยี ง พะ หน้า รา ออกเสียงก่งึ มาตรา )

๓. ภาษาบาลีใช้ "นิคคหิต" ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ตัววงกลมเล็ก ๆ อย่บู นตัวอักษร) เมื่อประกอบเขา้
กับตัวอกั ษรแลว้ นิยมอ่านออกเสียงดงั นี้

๓.๑ ถา้ อักษรตัวท่มี ีนคิ คหติ อย่ดู ว้ ยน้นั มสี ระผสมอยู่ นิยมอา่ นออกเสียงตวั นิคคหติ เป็นตัว ง
สะกด (แม่กง) เชน่

สคุ ตึ อา่ นวา่ สุ-คะ-ติง
วํิสุ อ่านว่า วิ-สงุ
เสํตุ อ่านวา่ เส-ตุง
กาํตุ อา่ นวา่ กา-ตงุ

๓.๒ ถ้าอักษรตัวท่มี นี คิ คหติ อยดู่ ว้ ยน้ัน ไม่มสี ระผสมอยู่ นยิ มอา่ นออกเสียงตวั นิคคหิตเป็นสระ
อัง เสมอ เชน่

มย อา่ นว่า มะ-ยงั
อรห อา่ นวา่ อะ-ระ-หัง
พทุ ธ อา่ นว่า พุด-ทัง
ธมม อา่ นว่า ทา-มัง
สงฆ อ่านวา่ สงั -คัง


Click to View FlipBook Version