The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พรบ. ข้าราชการพลเรือน (สรุป)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arm.pongsaklang, 2019-11-26 03:51:35

พรบ. ข้าราชการพลเรือน (สรุป)

พรบ. ข้าราชการพลเรือน (สรุป)

-1-

สรุปพระราชบัญญัตริ ะเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551

1. พระราชบัญญัติฉบับน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษาเม่ือวันที่ 25 มกราคม 2551 และมีผล
บังคับใชเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2551 โดยใหนายกรัฐมนตรีเปนผูรักษาการ ตาม พ.ร.บ. มีพล
เอกสรุ ยุทธ จุลานนท นายกรฐั มนตรีเปนผลู งนามสนองพระบรมราชโองการ

2. ขาราชการฝายพลเรือน หมายความวา ขาราชการพลเรือนและขาราชการอ่ืนในกระทรวง
กรม ฝา ยพลเรอื น ตามกฎหมายวาดว ยระเบียบราชการประเภทนั้น

ขาราชการฝา ยพลเรอื น แบงได 2 ประเภท

1. ขาราชการพลเรือน

2. ขาราชการอื่นในกระทรวง กรมฝายพลเรือน ตามกฎหมายวาดวยระเบียบราชการ
ประเภทนนั้

3. ขา ราชการพลเรอื น หมายความวา บคุ คลซ่งึ ไดร ับการบรรจุและแตงตัง้ ตามพระราชบัญญัติ

นี้ใหรับราชการโดยไดรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรม ฝายพลเรือน มี 2

ประเภท

(1) ขาราชการพลเรือนสามัญ ไดแก ขาราชการพลเรือนซ่ึงรับราชการโดยไดรับบรรจุ

แตงต้งั ตามท่ีบญั ญตั ไิ วใ นลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามญั

(2) ขาราชการพลเรือนในพระองค ไดแก ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับ

บรรจุแตงต้ัง ใหดํารงตําแหนงในพระองคพระมหากษัตริยตามท่ีกําหนดในพระราช

กฤษฎีกา

4. คณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) จาํ นวน 10 – 12 คน ประกอบดวย
1) นายกรัฐมนตรีหรอื รองนายกรัฐมนตรที ีน่ ายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปนประธาน
2) กรรมการโดยตาํ แหนง ประกอบดว ย
2.1 ปลัดกระทรวงการคลัง
2.2 ผอู ํานวยการสํานักงบประมาณ
2.3 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ
3) กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังจากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารงาน

บคุ คล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย จํานวนไมนอยกวาหาคน แต
ไมเ กนิ เจด็ คน (อยูในวาระคราวละ 3 ป)

4) เลขาธกิ าร ก.พ. เปน กรรมการและเลขานกุ าร

-2-

5. ก.พ.มีอาํ นาจหนาทด่ี งั ตอไปน้ี
1) เสนอแนะและใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบายการบริหารงานบุคคล

และยุทธศาสตรการบริหารทรพั ยากรบุคคลภาครัฐในดานมาตรฐานคาตอบแทน การบริหารและ
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอดทั้งการวางแผนกําลังคนและดานอ่ืน ๆ เพ่ือใหสวนราชการ
ใชเปนแนวทางในการดําเนินการ

2) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจําตําแหนง เงินเพ่ิม
คาครองชพี สวัสดิการ หรอื ประโยชนเ ก้ือกลู อน่ื สาํ หรับขาราชการพลเรอื นใหเหมาะสม

3) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ขาราชการพลเรอื น เพ่ือสว นราชการใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนินงาน

4) ใหความเหน็ ชอบกรอบอตั รากาํ ลงั ของสวนราชการ
5) ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล เพ่ือปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้ ….. กฎ ก.พ.เม่ือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษาแลว ใหใ ชบังคบั ได
6) ตคี วามและวินิจฉัยปญ หาทเี่ กิดขนึ้ เนือ่ งจากการใชบังคบั พระราชบัญญัตนิ ี้..
7) กํากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของ
ขา ราชการพลเรือนในกระทรวงและกรม …
8) กาํ หนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกบั ทนุ เลาเรียนหลวงและทนุ ของรัฐบาล
9) ออกขอบังคับหรือระเบียบเก่ียวกับการจัดการศึกษาและควบคุมดูแล และการให
ความชว ยเหลือบุคคลภาครฐั นักเรียนทุนเลาเรียนหลวง นักเรียนทุนของรฐั บาล…
10) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิของผูไดรับปริญญา
ประกาศนียบัตรวิชาชพี หรือ คุณวฒุ อิ ยางอน่ื เพื่อประโยชนในการบรรจุและการแตงต้ังขาราชการ
พลเรอื นและการกําหนดเงินเดือน หรือคา ตอบแทน
11) กาํ หนดอัตราคา ธรรมเนียมในการปฏิบัตติ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี
12) พจิ ารณาจดั ทําระบบทะเบยี นประวัติและแกไขทะเบยี นประวตั ิเก่ยี วกบั วันเดือนปเกดิ
และการควบคมุ เกษียณอายุของขาราชการพลเรอื น
13) ปฏิบตั หิ นาที่อื่นตามทีบ่ ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบัญญัตนิ ้ี และกฎหมายอ่นื

6. ใหมีสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เรียกโดยยอวา สํานักงาน ก.พ. โดยมี
เลขาธิการ ก.พ. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการและบริหารราชการของสํานักงาน ก.พ. ขึ้นตรงตอ
นายกรฐั มนตรี

7. ใหม ีคณะอนกุ รรมการสามัญ เรียกโดยยอ วา อ.ก.พ.สามัญ ดงั น้ี

-3-

7.1 อนกุ รรมการสามญั ประจาํ กระทรวง (อ.ก.พ.กระทรวง) ประกอบดว ย
(1) รฐั มนตรเี จาสงั กดั เปนประธาน
(2) ปลัดกระทรวงเปนรองประธานและผูแทน ก.พ.ซ่ึงตั้งจากขาราชการพลเรือนใน
สํานกั งาน ก.พ.

หนึ่งคน เปน อนุกรรมการโดยตําแหนง
(3) อนุกรรมการซง่ึ ประธาน อ.ก.พ. แตงตัง้ จาก
3.1 ผูทรงคุณวุฒิ ดานการบริหารงานบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ

และดานกฎหมาย
3.2 ขาราชการพลเรือนผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงใน

กระทรวง ซึง่ ไดร บั เลอื กจากขา ราชการพลเรอื นผูดาํ รงตาํ แหนง ดังกลาวจํานวนไมเ กนิ 5 คน
7.2 คณะอนกุ รรมการสามัญประจํากรม (อ.ก.พ.กรม) ประกอบดว ย
(1) อธิบดีเปนประธาน รองอธิบดีท่ีอธิบดีมอบหมายหน่ึงคนเปนรองประธาน

และอนกุ รรมการซึ่งเปน อ.ก.พ.แตงต้ังจาก
(2) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ

และดานกฎหมาย จาํ นวนไมเ กนิ 3 คน
(3)ขา ราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหาร หรือประเภทอํานวยการ

และดา นกฎหมาย จํานวนไมเกนิ 3 คน

สําหรับสํานักงานเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวง และสํานักงานเลขานุการ
รัฐมนตรีวาการทบวง อ.ก.พ. สํานักงานปลัดกระทรวง หรือ อ.ก.พ. สํานักงานปลัดทบวง แลวแต
กรณี ทําหนา ท่ี อ.ก.พ. กรม

6.3 คณะอนุกรรมการสามัญประจําจังหวัด (อ.ก.พ.จังหวัด) ประกอบดวยผูวาราชการ
จังหวัดเปนประธาน รองผูวาราชการจังหวัดที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรอง
ประธาน และอนกุ รรมการซงึ่ ประธาน อ.ก.พ. แตง ตัง้

(1) ผูท รงคุณวฒุ ดิ านการบริหารทรพั ยากรบุคคลดานการบริหารและการจัดการ
และดา นกฎหมาย จาํ นวนไมเ กิน 3 คน

(2) ขาราชการพลเรือนผูดํารงตําแหนงซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือ
ประเภทอํานวยการ ซึ่งกระทรวงหรือกรมแตงต้ังไปประจําจังหวัดนั้น และไดรับเลือกจากขาราช
พลเรอื นผูด ํารงตําแหนง ดงั กลา วจาํ นวนไมเกนิ 6 คน ซึง่ แตล ะคนตอ งไมส งั กดั กระทรวงเดียวกัน

-4-

8. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม ( ก.พ.ค.) ประกอบดวยกรรมการจํานวน 7 คน ซ่ึงพระ
กรุณาโปรดเกลาฯ (แตงตั้งคัดเลือกจากผูมีคุณสมบุติที่กําหนด และไมมีลักษณะตองหาม)
กรรมการ ก.พ.ค. ตองทาํ งานเตม็ เวลา และใหเลขาธกิ าร ก.พ. เปน เลขานุการของ ก.พ.ค.

9. คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบดวย ประธานศาลปกครองสูงสุดเปน
ประธาน รองประธานศาลฎีกาท่ีไดรับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน เปนกรรมการ
ก.พ.ผูทรงคุณวุฒิหนึ่งคน ซึ่งไดรับเลือก โดย ก.พ. และใหเลขาธิการ กพ.เปนกรรมการและ
เลขานุการ
10. กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดํารงตําแหนงหกป นับแตวันท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
แตงตงั้ และดาํ รงตาํ แหนงวาระเดียว

11. ก.พ.ค. มอี ํานาจหนาที่ดงั ตอไปน้ี

1. เสนอแนะตอ ก.พ. หรือองคกรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให ก.พ. หรือ

องคก รกลางบริหารงานบคุ คลอื่นดําเนนิ การใหม หี รือปรับปรงุ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล

ในสวนทเ่ี ก่ยี วกับ การพทิ กั ษระบบคุณธรรม

2. พจิ ารณาวนิ ิจฉัยอทุ ธรณ

3. พิจารณาวนิ จิ ฉัยเร่ืองรอ งทกุ ข

4. พจิ ารณาเรอ่ื งการคมุ ครองระบบคณุ ธรรม

5. ออกกฎ ก.พ.ค.ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการเพ่ือปฎิบัติการตามพระราชบัญญัติ

นี้

6. แตงต้ังบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามท่ี ก.พ.ค.กําหนดเพื่อ

เปนกรรมการวนิ จิ ฉัยอุทธรณ หรอื กรรมการวนิ จิ ฉัยรองทุกข

12. การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพื่อ ผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ความมี

ประสิทธิภาพ และความคุมคา โดยใหขาราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ
คณุ ธรรม และคุณภาพชีวิตที่ดี

13. ผูที่จะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนตองมีคุณสมบัติท่ัวไป และไมมีลักษณะ
ตอ งหา ม ดงั ตอ ไปน้ี (มาตรา 36)

ก. คณุ สมบัติทวั่ ไป
(1) มสี ัญชาติไทย
(2) มีอายไุ มต ํ่ากวา สบิ แปดป
(3) เปนผูเล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปน

ประมุขดวยความบรสิ ทุ ธใิ์ จ

-5-

ข. ลกั ษณะตองหาม

(1) เปนผูด าํ รงตําแหนงทางการเมือง

(2) เปนผูคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน

ไมส มประกอบ หรือเปนโรคตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.

(3) เปนผูอยูในระหวางถูกส่ังพักราชการหรือถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอนตาม

พระราชบัญญัตินีห้ รอื ตามกฎหมายอืน่

(4) เปน ผูบ กพรองในศลี ธรรมอันดีจนเปน ทร่ี งั เกยี จของสังคม

(5) เปนกรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือ

เจาหนาที่ ในพรรคการเมือง

(6) เปน บุคคลลมละลาย

(7) เปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะกระทํา

ความผดิ ทางอาญาเวน แตเปน โทษสาํ หรบั ความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ

(8) เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจหรือ

หนวยงานอ่นื ของรัฐ

(9) เปน ผูเคยถูกลงโทษใหออก หรือปลดออก เพราะกระทําผิดวินัย ตามกฎหมาย

พระราชบัญญตั ินหี้ รอื ตามกฎหมายอ่ืน

(10) เปนผูเ คยถูกลงโทษไลอ อก เพราะกระทาํ ผิดวินยั ตามกฎหมายพระราชบญั ญตั ิ

นี้หรอื ตามกฎหมายอนื่

(11) เปนผูเคยกระทําการทุจริตในการสอบเขารับราชการ หรือเขาปฏิบัติงานใน

หนวยงานของรฐั

ผูท่ีจะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนซ่ึงมีลักษณะตองหามตาม ข. (4)

(6) (7) (8) (9) (10) หรือ (11) ก.พ.อาจพิจารณายกเวนใหเขารับราชการได สวนผูท่ีขาด

คุณสมบัติ (8) หรือ (9) ผูน้ัน ไดออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสองปแลว

หรือกรณีมีลักษณะตองหามตามขอ (10) ผูน้ันตอง ออกจากงานหรือออกจากราชการไป

เกินสามปแลว และมิใช เปนกรณีออกจากงานหรือออกจากราชการ เพราะกระทําผิดใน

กรณีทุจริตตอหนาที่ มติของ ก.พ. อาจพิจารณายกเวนใหเขารับราชการได มติของ ก.พ. ในการ

ยกเวนดังกลาวตองไดคะแนนเสียง ไมนอยกวาสี่ในหาของจํานวนกรรมการในท่ีประชุม การลงมติให

กระทาํ โดยลับ

14. การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงใหขาราชการพลเรือนใหเปนไปตามระเบียบที่
ก.พ. กาํ หนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

-6-

2) ผูสมัครสอบแขงขันในตําแหนงใดตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะตองหามหรือ
ไดรับ การยกเวนในกรณีท่ีมีลักษณะตองหาม และตองมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ
ตําแหนง

3) ผูดํารงตําแหนงขาราชการการเมืองใหมีสิทธิสมัครสอบแขงขันไดแตจะมีสิทธิบรรจุ
ตอ เมอ่ื พน จากการเปนผดู าํ รงตําแหนง ทางการเมอื งแลว

4) กระทรวง กรมใดมีเหตุผลและความจําเปนอยางย่ิง จะบรรจุบุคคลที่มีความรูความสามารถ
และความชํานาญงานสูง เขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ชํานาญ
การพิเศษ เชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือตําแหนงประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษก็ได ทั้งน้ี ตาม
หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี ก.พ. กําหนด

15. การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ และการแตงตั้ง ใหผูมี

อาํ นาจดังตอ ไปน้ี เปน ผสู งั่ บรรจุและแตงต้ัง (มาตรา 57)

ประเภทขา ราชการ ผมู ีอาํ นาจบรรจุ ผูม ีอาํ นาจแตงตั้ง

ผบู รหิ ารระดบั สงู ตาํ แหนงหัวหนา รมต. เสนอ ครม. นรม. กราบบงั คบั ทลู เพ่อื
สวนราชการระดบั กระทรวง ระดบั อนมุ ตั ิ ทรงพระมหากรณุ าโปรด
กรม (เฉพาะขึ้นตรงตอ นรม. รมต. สงั่ บรรจุ เกลาฯ แตงตงั้
หรอื รมต. (ระดบั ปลัดกระทรวง)

ผบู ริหารระดับสูงตําแหนง รอง ใหปลัดกระทรวงเสนอ นรม. กราบบงั คับทูลเพอื่
หวั หนา สว นราชการระดบั รัฐมนตรีเจาสงั กดั ทรงพระมหากรุณาโปรด
กระทรวง หวั หนา สว นระดบั กรม เพอื่ นาํ เสนอ ครม. เกลา ฯ แตง ตงั้
รองหัวหนา สว นราชการระดบั กรม พิจารณาอนุมตั ิ เมื่อ
ทข่ี ้ึนตรงตอ นรม. หรอื รมต. ไดร ับอนมุ ตั ิจาก ครม.
ใหปลดั กระทรวง
สั่งบรรจุ

บริหารระดบั ตน ปลัดกระทรวง ปลดั กระทรวง

อาํ นวยการ วชิ าการ ระดบั รฐั มนตรเี จาสงั กดั รฐั มนตรเี จาสงั กัด
ปฏบิ ัติการ ชาํ นาญการ ชาํ นาญ
การพเิ ศษ เชยี่ วชาญ และ
ประเภททว่ั ไป (ในสาํ นกั งาน
รัฐมนตร)ี

-7-

อํานวยการระดบั สงู ปลดั กระทรวง ปลดั กระทรวง

อํานวยการระดับตน อธบิ ดีโดยความเหน็ ชอบ อธบิ ดโี ดยความเหน็ ชอบ

ของปลดั กระทรวง ของปลัดกระทรวง

วิชาการระดบั ผทู รงคณุ วุฒิ รมต. เสนอ ครม. อนมุ ตั ิ นรม. กราบบงั คับทลู เพ่อื
รมต. สงั่ บรรจุ ทรงพระมหากรณุ าโปรด
เกลา ฯ แตงตงั้

วิชาการระดบั เชยี่ วชาญ ปลดั กระทรวง ปลัดกระทรวง

วิชาการระดบั ชาํ นาญการพเิ ศษ อธิบดโี ดยความเหน็ ชอบ อธบิ ดีโดยความเหน็ ชอบของ
ท่วั ไประดบั ทกั ษะพิเศษ ของปลัดกระทรวง สว น ปลัดกระทรวง
ภูมภิ าค ผวู า ราชการ
จงั หวัด (ยกเวน ทัว่ ไป
ระดบั ทักษะพเิ ศษ)

วชิ าการระดับปฏิบตั กิ าร ชาํ นาญ อธิบดหี รอื ผูไ ดรับ อธิบดหี รือผูไดรับมอบหมาย
การทว่ั ไประดับปฏบิ ตั ิงาน มอบหมายจากอธิบดี จากอธิบดี สว นภูมภิ าค ผวู า
ชาํ นาญงาน และอาวโุ ส สว นภมู ิภาค ผูว า ราชการจงั หวดั
ราชการจงั หวดั

16. วนั เวลาทาํ งาน วนั หยุดราชการตามประเพณี วนั หยุดราชการประจาํ ป และการลาหยุด
ราชการของขาราชการพลเรือน ใหเปน ไปตามที่คณะรัฐมนตรกี ําหนด

17. ขาราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุมตามท่ีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ แต
ทั้งนี้ตองไมกระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดิน และความตอเน่ืองในการจัดทํา
บริการสาธารณะ และตองไมม ีวัตถปุ ระสงคทางการเมือง

18. ประเภทของขา ราชการพลเรอื นสามญั มี 4 ประเภท ดังตอ ไปน้ี (มาตรา 45)
(1) ตําแหนงประเภทบริหาร ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการและรองหัวหนาสวน

ราชการระดับกระทรวง กรม และตําแหนงอ่นื ที่ ก.พ. กําหนดเปนตาํ แหนงประเภทบรหิ าร
(2) ตําแหนง ประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการท่ีต่ํากวาระดับกรม และ

ตําแหนง อ่ืนท่ี ก.พ. กาํ หนดเปนตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ
(3) ตําแหนงประเภทวิชาการ ไดแก ตําแหนงท่ีจําเปนตองใชผูสําเร็จการศึกษาระดับ

ปรญิ ญาตามที่ ก.พ. กาํ หนดเพ่อื ปฏบิ ตั งิ านในหนา ทขี่ องตาํ แหนงน้นั

-8-

(4) ตําแหนงประเภทท่ัวไป ไดแก ตําแหนงที่ไมใชตําแหนงประเภทบริหาร ตําแหนง
ประเภทอํานวยการ และตาํ แหนง ประเภทวชิ าการ ทง้ั นี้ ตามท่ี ก.พ. กําหนด

19. ระดบั ตําแหนง ขาราชการพลเรอื นสามัญ มีดงั ตอ ไปน้ี
(1) ตาํ แหนงประเภทบรหิ าร มรี ะดบั ดังตอไปน้ี
(ก) ระดับตน
(ข) ระดบั สูง
(2) ตําแหนงประเภทอาํ นวยการ มรี ะดับดงั ตอไปน้ี
(ก) ระดับตน
(ข) ระดบั สงู
(3) ตําแหนงประเภทวชิ าการ มีระดบั ดังตอ ไปน้ี
(ก) ระดบั ปฏิบัติการ
(ข) ระดับชาํ นาญการ
(ค) ระดบั ชาํ นาญการพิเศษ
(ง) ระดบั เช่ียวชาญ
(จ) ระดบั ทรงคุณวฒุ ิ
(4) ตาํ แหนง ประเภทท่ัวไป มรี ะดบั ดงั ตอ ไปน้ี
(ก) ระดับปฏิบัตงิ าน
(ข) ระดบั ชํานาญงาน
(ค) ระดบั อาวโุ ส
(ง) ระดบั ทกั ษะพเิ ศษ

20. การสรรหา บรรจุ และการแตงตัง้

การสรรหา
การสรรหาเพื่อใหไดบุคคลมาบรรจุเขารับราชการพลเรือนสามัญและแตงตั้งใหดํารง

ตําแหนง ตองเปนไปตามระบบคุณธรรมและคํานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลดังกลาว
ตลอดจนประโยชนของทางราชการ

การบรรจุ
1) การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญเพื่อแตงต้ังใหดํารง

ตําแหนงใด ใหบรรจุและแตงต้ังจากผูสอบแขงขันไดในตําแหนงนั้น โดยบรรจุและแตงตั้งตามลําดับ
ท่ีในบัญชผี สู อบแขง ขันได

-9-

21. ใหม กี ารสับเปล่ียนหนา ที่ ยายหรอื โอน ขา ราชการพลเรอื นสามญั ประเภทบรหิ าร ผูใด
ปฏิบัติหนาท่ีเดียวติดตอกันเปนเวลานานครบ 4 ป ใหผูบังคับบัญชาดําเนินการสับเปล่ียนหนาท่ี
ยาย หรือโอนไปปฏิบัติหนาท่ีอื่น เวนแตมีความจําเปนจะขออนุมัติ ครม. ใหคงอยูปฏิบัติหนาท่ี
เดิมตอ ไปไดไ มเกิน 2 ป

22. การทดลองปฏิบัติราชการ

ผูไดรับบรรจุเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงและ
ขาราชการ ใหทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ. โดยอยูในความดูแลของบังคับ
บัญชา ถาผูมีอํานาจส่ังบรรจุ เห็นวาผูนั้นมีผลการประเมินต่ํากวามาตรฐานท่ีกําหนด ไมควรให
รบั ราชการตอไปกใ็ หสง่ั ใหผ นู ้ันออกจากราชการได ไมวาจะครบกําหนดเวลาทดลองปฏิบัติหนาที่
ราชการแลว หรอื ไมก็ตาม

23. การโอนขา ราชการพลเรอื นสามัญไปแตงตั้งใหดํารงตาํ แหนงขาราชการพลเรือนสามญั ใน
ตางกระทรวง กรม ใหเปน ไปตามกําหนดในกฎ ก.พ.

24. ในกรณีตําแหนงขาราชการพลเรือนวางลงหรือผูดํารงตําแหนงไมสามารถปฏิบัติหนาที่
ได และเปนกรณีท่ีมิไดบัญญัติไวในกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผนดิน ใหผูบังคับบัญชา
ตามมาตรา 27 มีอํานาจส่ังใหข าราชการพลเรอื นท่ีเห็นสมควรรักษาการในตําแหนงนนั้ ได

25. ในกรณที ม่ี เี หตผุ ลความจาํ เปน ผูบังคับบัญชาตามมาตรา 57 มีอํานาจสั่งใหขาราชการ
พลเรือนสามญั ใหป ระจาํ สว นราชการเปนการช่วั คราวโดยใหพ นจากตําแหนงเดิม

26. การเพมิ่ พูนประสิทธภิ าพและเสรมิ สรา งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิราชการ
26.1 ใหสวนราชการมีหนาท่ีดําเนินการใหมีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสราง

แรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนสามัญเพ่ือใหขาราชการมีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม
คุณภาพชีวิต มขี วญั กาํ ลังใจในการปฏบิ ตั ิราชการใหเ กดิ ผลสัมฤทธต์ิ อภารกิจภาครฐั

26.2 ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผูใตบังคับบัญชา เพ่ือ
ประกอบการพจิ ารณาแตงตง้ั และเลือ่ นเงินเดือน

27. การรักษาจรรยาบรรณขา ราชการ

ขาราชการพลเรือนสามัญตองรักษาจรรยาบรรณขาราชการตามท่ีสวนราชการกําหนดไว
โดยเฉพาะในเร่อื งดงั ตอไปนี้

(1) การยดึ มน่ั และยนื หยดั ทาํ ในสิง่ ทถี่ กู ตอ ง
(2) ความซอ่ื สัตยสุจริตและความรับผดิ ชอบ
(3) การปฏิบัตหิ นา ทด่ี วยความโปรงใสสามารถตรวจสอบได

- 10 -

(4) การปฏบิ ตั หิ นาท่โี ดยไมเ ลือกปฏิบัตอิ ยา งไมเ ปนธรรม
(5) การมงุ ผลสัมฤทธิข์ องงาน

28. วนิ ยั และการรกั ษาวนิ ัย
1) ขาราชการพลเรือนสามัญตองสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี

พระมหากษตั ริย ทรงเปน ประมุขดวยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ (มาตรา 81)
2) ขาราชการพลเรือนสามัญตองกระทําการอันเปนขอปฏบิ ัติ ดงั ตอไปนี้ (มาตรา 82)
(1) ปฏิบัติหนาทีร่ าชการดวยความซือ่ สตั ย สุจรติ และเท่ยี งธรรม
(2) ปฏิบัติหนาที่ราชการใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติ

คณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาล และปฏบิ ัตติ ามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
(3) ตอ งปฏิบัติหนาที่ราชการใหเกิดผลดีหรือความกาวหนาแกราชการดวยความต้ังใจ

อตุ สาหะ เอาใจใส และรกั ษาประโยชนของทางราชการ
(4) ปฏิบัติตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาซ่ึงส่ังในหนาที่ราชการโดยชอบดวยกฎหมาย

และระเบียบของทางราชการโดยไมข ัดขนื หรอื หลีกเลยี่ ง
(5) ตอ งอุทศิ เวลาใหแ กราชการ จะละทงิ้ หรือทอดทง้ิ หนา ท่ีราชการมิได
(6) ตองรักษาความลบั ของทางราชการ
(7) ตองสุภาพเรียบรอย รักษาความสามัคคีและตองชวยเหลือกันในการปฏิบัติ

ราชการระหวางราชการดว ยกัน และผูรว มปฏิบตั ริ าชการ
(8) ตองตอนรับใหความสะดวก ใหความเปนธรรม และใหการสงเคราะหแก

ประชาชนผูติดตอราชการเก่ียวกับหนาทตี่ น
(9) ตอ งวางตวั เปนกลางทางการเมอื ง
(10) ตองรักษาช่ือเสียงตน และรักษาเกียรติศักดิ์ของตําแหนงหนาที่ราชการตนมิให

เส่ือมเสยี
(11) กระทําการอ่นื ใดตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.

3) ขาราชการพลเรือนสามัญตองไมกระทําการอันใดอันเปนขอหาม ดังตอไปนี้ (มาตรา
83)

(1) ตองไมร ายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา
(2) ตอ งไมป ฏบิ ตั ิราชการอนั เปนการกระทาํ การขา มผบู งั คับบัญชาเหนือตน
(3) ตองไมอาศัยหรือยอมใหผูอื่นอาศัยตําแหนงหนาที่ราชการของตนหาประโยชนใหแก
ตนเองหรอื ผูอ ่ืน
(4) ตองไมป ระมาทเลินเลอในหนาที่ราชการ

- 11 -

(5) ตองไมกระทําการหรือยอมใหผูอื่นกระทําการหาผลประโยชนอันอาจทําใหเสีย
ความเทย่ี งธรรมหรือเสือ่ มเสียเกียรตศิ กั ดข์ิ องตําแหนง หนา ทรี่ าชการของตน

(6) ตองไมเปนกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือดํารงตําแหนงอื่นใดท่ีมีลักษณะ
งานคลายคลึงกนั นน้ั ในหางหุน สวนหรือบริษทั

(7) ตองไมกระทําการอยางใดที่เปนการกลั่นแกลง กดขี่ หรือขมเหงในการปฏิบัติ
ราชการ

(8) ตองไมกระทําการอันเปนการลวงละเมิดหรือคุกคามทางเพศตามท่ีกําหนดในกฎ
ก.พ.

(9) ตองไมดูหม่ิน เหยียดหยาม กดขี่ หรอื ขมเหงประชาชนผตู ดิ ตอราชการ
(10) ไมก ระทําการอื่นใดตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ.
ขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติตามมาตรา 81 และมาตรา 82
หรือฝาฝนขอ หา มตามมาตรา 83 เปนกระทําผดิ วินยั

การกระทาํ ผดิ วินัยในลักษณะดงั ตอ ไปนี้ เปน ความผิดวนิ ยั อยา งรา ยแรง
(1) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพื่อใหเกิดความเสียหาย
อยา งรา ยแรงแกผ ูหน่ึงผูใด หรอื ปฏิบตั หิ รอื ละเวน การปฏบิ ตั ิหนา ทร่ี าชการโดยทุจริต
(2) ละทงิ้ หรือทอดทงิ้ หนา ที่ราชการโดยไมม เี หตุผลอนั สมควรเปนเหตุใหเสียหายแกราชการ
อยางรา ยแรง
(3) ละทิ้งหนาที่ราชการติดตอในคราวเดียวกันเปนเวลาเกินสิบหาวันโดยไมมีเหตุผล
อันสมควร หรือมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการเปนเหตุให
เสียหายแกราชการอยางรา ยแรง
(4) กระทาํ การอันไดช่ือวาเปน ผูประพฤตชิ วั่ อยางรายแรง
(5) ดูหม่ิน เหยียดหยาม กดข่ี ขมเหง หรือทํารายประชาชนผูติดตอราชการอยาง
รายแรง
(6) กระทําความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคุก หรือโทษท่ีหนักกวาจําคุกโดยคํา
พิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก หรือใหรับโทษที่หนักกวาจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทํา
โดยประมาท หรือความผิดลหโุ ทษ
(7) ละเวนการกระทําหรือกระทําการใดๆ อันเปนการไมปฏิบัติตาม มาตรา 82 หรือ
ฝาฝนขอ หา มตาม มาตรา 83 อนั เปน เหตใุ หเสียหายแกร าชการอยา งรายแรง

- 12 -

(8) ละเวนการกระทําหรือกระทําการใดๆ อันเปนการไมปฏิบัติตาม มาตรา 80 และ
มาตรา 82 (11) หรือฝาฝนขอหามตาม มาตรา 83(10) ที่กฎ ก.พ. กําหนดใหเปนความผิดวินัย
อยา งรายแรง

29. โทษทางวินยั มี 5 สถาน ดงั ตอไปนี้
(1) ภาคทัณฑ
(2) ตดั เงินเดอื น
(3) ลดเงนิ เดอื น
(4) ปลดออก
(5) ไลอ อก

30. ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ใหผูบังคับบัญชาสั่ง
ลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ตามสมควรแกกรณีใหเหมาะสมกับความผิด ถามี
เหตุอนั ควรงดโทษก็ได จะงดโทษใหโดยทาํ ทณั ฑบ นเปน หนงั สือหรอื วากลาวตกั เตือนก็ได

31. ขา ราชการพลเรือนสามญั ผูใ ดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูบังคับบัญชาส่ังลงโทษ
ปลดออกหรือไลออก ตามความรายแรงแหง กรณี ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนํามาประกอบการ
พิจารณาลดโทษก็ไดแ ตหามมิใหลดโทษลงต่ํากวา ปลดออก

32. ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรงจนถูกตั้ง
กรรมการสอบสวน หรือถูกฟองคดีอาญาหรือตองหาวากระทําความผิดอาญา เวนแตเปน
ความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษอาจส่ังพักราชการหรือสั่งใหออกจาก
ราชการไวก อนเพอ่ื รอฟงผลการสอบสวนพจิ ารณาได

33. การออกจากราชการ ขา ราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการเมื่อ
(1) ตาย
(2) พนจากราชการตามกฎหมายวา ดว ยบําเหน็จบาํ นาญขา ราชการ (อายุ 60 ปบรบิ ูรณ)
(3) ลาออกจากราชการและไดรับอนญุ าตใหล าออกหรอื การลาออกมีผล
(4) ถูกสั่งใหอ อก
(5) ถูกส่งั ลงโทษปลดออก หรอื ไลออก
ขาราชการผูใดประสงคลาออกใหย่ืนหนังสือลาออกตอผูบังคับบัญชาลวงหนาไม

นอยกวา 30 วนั

ในกรณีที่ผูมีอํานาจส่ังบรรจุพิจารณาเห็นวาจําเปนเพื่อประโยชนแกราชการจะยับยั้งการ
อนุญาต ใหลาออกไวเปนเวลาไมเกิน 90 วันนับตั้งแตวันขอลาออกก็ได แตตองแจงการยับย้ังการ

- 13 -

อนุญาตใหลาออกพรอม ท้ังเหตุผลใหผูขอลาออกทราบและเม่ือครบกําหนดเวลาที่ยับยั้งแลวใหการ
ลาออกมผี ลเมือ่ ครบเวลาตามทยี่ บั ยั้งไว

ถาผูมีอํานาจส่ังบรรจุ ไมไดยับย้ังการอนุญาตใหลาออกตามวรรคสอง ใหการลาออกน้ันมี
ผลตงั้ แตว ันขอลาออก

ในกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพ่ือดํารงตําแหนง
องคกรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ ตําแหนงทางการเมือง ใหยื่นหนังสือขอลาออกตอผูบังคับบัญชา
และใหก ารลาออกมผี ลนบั ตั้งแตวนั ทผี่ นู ้ันขอลาออก

34. การรองทกุ ข
- ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีความคับของใจอันเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ หรือปฏิบัติ

ตอ ตนของผบู ังคบั บัญชาผูนั้น อาจรอ งทุกขไ ด
- การรองทุกขท ่ีเหตเุ กิดจากผูบ งั คับบัญชา ใหรอ งทกุ ขต อ ผบู ังคับบญั ชาเหนือขนึ้ ไป
- การพิจารณาเรอื่ งรองทุกขเ หตเุ กิดจากหัวหนาสว นราชการระดับกรมที่ขึ้นตอ นรม. รมต.

ปลัดกระทรวง รฐั มนตรีเจาสังกดั หรอื นรม. ใหร อ งทกุ ขต อ ก.พ.ค.
- ก.พ.ค. มอี าํ นาจไมรบั เรื่องรอ งทกุ ข หรือพจิ ารณาวนิ จิ ฉัยเรื่องรอ งทุกข ได

35. ขาราชการพลเรือนในพระองค
การแตงตัง้ และการใหขาราชการพลเรือนในพระองคพ น จากตําแหนง ใหเปนไปตามพระราช

อธั ยาศัย


Click to View FlipBook Version