The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมและเทคโนโลยีมีความส าคัญยิ่งต่อการพัฒนาการศึกษา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hayiirun10, 2020-02-18 22:15:57

แนวคิดทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรม

นวัตกรรมและเทคโนโลยีมีความส าคัญยิ่งต่อการพัฒนาการศึกษา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Keywords: แนวคิดทฤษฎี

บทท่ี 1
แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยี และนวตั กรรมการศึกษา

นวัตกรรมและเทคโนโลยีมคี วามสาคญั ยงิ่ ต่อการพฒั นาการศึกษา ช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพ
การเรยี นรู้ ทาให้การเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล นวตั กรรมเปน็ จุดเริม่ ต้นของ
เทคโนโลยี ถา้ ไม่เกิดนวัตกรรมเทคโนโลยกี ไ็ มเ่ กดิ การนานวัตกรรมและเทคโนโลยมี าบรู ณาการใชใ้ ห้
เกิดประโยชนต์ อ่ การศึกษานัน้ จาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งทราบความหมายของนวตั กรรมและเทคโนโลยีใหเ้ ข้าใจ
อย่างชดั เจนเสยี ก่อน รวมถึงควรทราบขอบข่ายและพฒั นาการของเทคโนโลยีทนี่ ามาใชป้ ระโยชน์ใน
วงการศึกษาดว้ ย

ความหมายของนวัตกรรม

นวตั กรรม (Innovation) มรี ากศพั ท์มาจากภาษาลาตินวา่ Innovare แปลว่า to renew หรอื

to modify มีนกั การศกึ ษาหลายทา่ นได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ไวด้ งั นี้

ไมลส์ (Miles.1964 , อา้ งอิงจาก เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์, 2545 : 7 ) อธิบายวา่ นวัตกรรมเปน็

การเปล่ียนแปลงที่มีเป้าหมายแนน่ อน เพอ่ื ให้ระบบงานนั้นบรรลุเปา้ หมายอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

นโิ คลส์ และจอรจ์ (Nicholls and George, 1983 : 4) กล่าวว่านวัตกรรมเปน็ ความคิดใหม่มี

เปา้ หมายแน่นอน เพ่อื นามาปรับเปล่ียนแปลงอย่างต่อเนอ่ื งมากกว่าจะเปลย่ี นแปลงสนั้ ๆ เฉพาะจุดและ

ต้องเปน็ การเปลยี่ นแปลงทมี่ ีการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ

กดิ านนั ท์ มลทิ อง (2536 : 9) กล่าววา่ นวัตกรรมหมายถงึ แนวความคิด การปฏบิ ตั ิ หรือ

ส่งิ ประดิษฐใ์ หม่ ๆ ท่ยี งั ไม่เคยมีใชม้ ากอ่ น หรือการดดั แปลงจากของเดมิ ให้ทนั สมยั และใชไ้ ด้ดยี ิ่งข้นึ

เมอ่ื นาสงิ่ ใหม่เหลา่ นัน้ มาใชใ้ นการทางานแล้ว จะทาให้การทางานน้ันมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลดี

ขึ้นและมากข้ึนกว่าเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้

เปรื่อง กุมทุ (2518 : 5) ไดก้ ลา่ วถงึ ความคิดหรอื การกระทาใหม่ ๆ ทที่ าให้เกดิ นวัตกรรมว่ามี

5 ลักษณะ คอื

1. ความคิดหรอื การกระทานน้ั ใหม่ในบ้านเรา ทั้ง ๆ ท่เี กา่ มาจากท่อี นื่

2. ความคิดหรือการกระทานน้ั ใหม่ในขณะน้ี ทั้ง ๆ ท่ีเคยใชม้ าแล้วในอดีตแตไ่ ม่ไดผ้ ลและ

ล้มเลิกไป เนือ่ งจากขาดส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในขณะน้นั

3. ความคดิ หรอื การกระทานั้นใหม่ เนื่องจากมีความคิดหรือการกระทาอยแู่ ล้วในขณะนน้ั

ประจวบเหมาะกบั การสนับสนนุ ทางเทคโนโลยีท่เี ข้ามาพรอ้ ม ๆ กนั จงึ ทาให้ส่ิงเหลา่ นัน้ ดาเนินไป

อยา่ งไดผ้ ล

2

4. ความคดิ หรอื การกระทาน้นั ใหม่ เนื่องจากสิ่งเคยทาอยู่ หรือของเดิมถูกตัด หรอื ไม่ได้รับ
การสนบั สนนุ จากผบู้ ริหารจงึ ตอ้ งเลกิ ล้ม แต่บัดนกี้ ลบั ไดร้ ับการสนบั สนนุ และไดเ้ ริม่ กระทาต่อไป

5. ความคดิ หรือการกระทาน้ันใหมจ่ ริง ๆ ยงั ไม่เคยมีใครกระทามาก่อน

ดังนัน้ จึงกล่าวโดยสรปุ ไดว้ า่ นวตั กรรม หมายถึง ส่งิ ประดษิ ฐ์ (วสั ดุ อุปกรณ)์ หรือเทคนิค
วธิ ีการใหม่ ๆ (อาจปรบั ปรงุ ของเกา่ ใหใ้ หมห่ รือดขี ึ้น) ที่นามาใช้ในการปฏบิ ตั งิ านเพ่อื ใหง้ านมี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลมากข้ึน และนวตั กรรมนัน้ ถา้ นามาใชใ้ นสายงานใดก็จะเรยี กช่อื นวัตกรรม
ตามสายงานน้นั ๆ เช่นถา้ นามาใช้ทางการแพทย์ ก็เรยี กว่านวตั กรรมทางการแพทย์ ถ้านามาใชใ้ น
วงการศึกษา กเ็ รียกว่านวตั กรรมการศกึ ษา ฯลฯ เปน็ ตน้ และของสง่ิ เดียวกนั นี้ เช่น เครื่องฉายขา้ มศีรษะ
(Over head) อาจเป็นนวตั กรรมของโรงเรียนหน่งึ เพราะเพง่ิ จะนามาใชใ้ หมไ่ มเ่ คยมใี ช้มาก่อน แตก่ ลับ
ไม่ใชน่ วัตกรรมของอกี โรงเรียนหนึ่งเพราะนามาใช้นานแลว้ จนหลอดฉายขาดไปหลายหลอดแล้ว ทง้ั นี้
ถา้ พิจารณาตามรปู ศพั ท์ จะพบว่า นวตั กรรม มาจากคาบาลี สันสกฤต นว(ใหม่) + อตต(ตัวเอง) + กรม
(การกระทา) แปลวา่ การกระทาใหมห่ รือของใหมส่ าหรับตนเอง

กระบวนการเกิดนวตั กรรม

การเกดิ นวัตกรรมมกี ระบวนการทส่ี าคญั 3 ขัน้ ตอนคอื
1. มีการประดิษฐ์คิดคน้ สงิ่ ใหม่หรือปรบั ปรงุ ของเกา่ ให้เหมาะสมกบั สภาพงาน
2. มีการตรวจสอบ หรอื ทดลอง และปรับปรุงพัฒนา
3. มีการนามาใช้หรอื ปฏิบตั ิในสถานการณ์จริง
การทีจ่ ะพิจารณาว่า สงิ่ ใดเปน็ นวัตกรรมหรอื ไม่ ตอ้ งมีคณุ ลักษณะผา่ นกระบวนการครบท้ัง 3
ขน้ั ตอนมาตามท่ีกลา่ วมาแลว้ อาทิเช่น การใช้เครื่องคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) เป็นนวัตกรรม เพราะ
ผ่านกระบวนการครบทั้ง 3 ขัน้ ตอน กลา่ วคือ ขั้นทห่ี น่ึงมีการประดษิ ฐ์คดิ ค้น ข้ันที่สองมีการทดลองใช้
และพัฒนามาแลว้ และข้ันทส่ี ามมีการนามาใชก้ ันแลว้ ในการจดั การเรยี นการสอน แต่การโคลนน่ิง
มนุษย์ยงั ไมถ่ อื ว่าเปน็ นวตั กรรมเพราะยงั ผา่ นกระบวนการไมค่ รบ 3 ขัน้ ตอน กล่าวคอื ขน้ั ท่หี นึ่งมีการ
คิดค้นวธิ กี ารโคลนนิง่ มนษุ ยข์ ้นึ มา ขนั้ ท่สี องผา่ นการทดลองปรบั ปรงุ พัฒนาแลว้ แตย่ ังไมผ่ ่าน
ขน้ั ทีส่ ามคอื ยังไม่มกี ารนาวธิ กี ารโคลนนง่ิ มนษุ ย์มาใช้ในสถานการณจ์ รงิ เพราะกฎหมายยังไมย่ อมให้มี
การโคลนนง่ิ มนุษย์ จงึ ยงั ไม่เป็นนวัตกรรม

3

จากนวตั กรรมส่เู ทคโนโลยี

นวตั กรรมเมอ่ื ถูกนามาใชจ้ นเคยชนิ เป็นปกตินสิ ยั เปน็ ส่วนหนึ่งของระบบงานแลว้ เช่นโรงเรยี น
มกี ารนาเครอื่ งฉายข้ามศีรษะ มาใช้ในการเรยี นการสอนเปน็ ประจาจนเป็นสว่ นหนึง่ ของระบบงานแล้ว
ก็จะหมดสภาพความเป็นนวตั กรรมกลายเปน็ เทคโนโลยไี ป คอื โรงเรยี นมีการใช้เทคโนโลยีเคร่อื งฉาย
ข้ามศีรษะในการเรียนการสอน
เทคโนโลยเี มือ่ ถกู ใช้ไปนาน ๆ หรอื นาไปใช้ตา่ งสถานที่ ตา่ งเวลา ตา่ งโอกาส กอ็ าจเกิดปญั หา
หรอื ขอ้ บกพร่องบางประการ เช่น อาจไม่ได้ผลหรือได้ผลน้อย ไม่เปน็ ทน่ี า่ พอใจ จาเป็นตอ้ งมีการ
ดดั แปลง ปรบั ปรงุ หรือคิดค้นสง่ิ ใหม่ข้ึน ใหเ้ หมาะสมมปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ การคิดคน้ หรือ
ปรับปรุงดัดแปลงข้นึ ใหมแ่ ลว้ ทดลองใช้จนได้ผลและนามาใช้ในสถานการณจ์ รงิ สิ่งนน้ั กก็ ลายเปน็
นวตั กรรมไป และนวัตกรรมน้นั เมือ่ ถูกใชจ้ นเปน็ ปกติวิสัย เป็นสว่ นหนึ่งของระบบงานกจ็ ะกลายเป็น
เทคโนโลยไี ปอีกเป็นวัฏจกั รหมุนเวยี นกนั ไป

นวตั กรรม ใช้เป็นส่วนหนึ่ง = เทคโนโลยี + พัฒนา
ของระบบงาน

เผยแพร่

ภาพที่ 1.1 การเปล่ียนแปลงของ วตั กรรมและเทคโนโลยี (ท่ีมา : ผูเ้ รยี บเรยี ง)

ความหมายของเทคโนโลยี

เทคโนโลยี (Technology) เปน็ คามาจากภาษากรีกว่า Techne หมายถงึ ศลิ ปะ วทิ ยาศาสตร์
หรอื ทักษะ (Art,Science or Skill) และมาจากคาภาษาลาตินวา่ Texere มคี วามหมายวา่ การสาน
(to Weave) หรือการสร้าง (to Construct) ในภาษากรีกมีคาวา่ Technologia หมายถงึ การกระทาอย่าง
มีระบบ (Systematic treatment)เม่ือพิจารณาจากรปู ศัพท์ภาษาอังกฤษจะมีความหมายดงั น้ี

Techno แปลวา่ วิธกี าร
Logy แปลว่า วิชาหรือการศึกษาเกี่ยวกับ
ดงั น้ันเมอื่ รวมคาแล้วเทคโนโลยีจึงหมายถึง ศาสตร์ทว่ี ่าดว้ ยเทคนิควิธกี ารหรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ิโดยใช้
ความร้ทู างวิทยาศาสตร์อยา่ งเป็นระบบ เมื่อนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการศกึ ษาเรียกวา่ เทคโนโลยกี ารศึกษา

4

แนวคดิ และความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา

แนวคดิ เก่ียวกับเทคโนโลยกี ารศึกษา ในทัศนะของนักการศึกษาหรือนกั เทคโนโลยีการศกึ ษา

มีอยู่ 2 แนวคิด คือ

1. แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

2. แนวคดิ ทางพฤติกรรมศาสตร์

เทคโนโลยกี ารศึกษาตามแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เป็นการประยกุ ต์วิทยาศาสตร์ -

กายภาพ (ฟสิ กิ ส์ เคมี ชวี ะ) กบั เทคโนโลยีการชา่ งหรอื วศิ วกรรม (เครอื่ งฉายต่าง ๆ เคร่ืองบันทึกเสยี ง

วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ) มาใช้เปน็ อปุ กรณ์การเรียนการสอน

เทคโนโลยกี ารศึกษาตามแนวคดิ ทางพฤตกิ รรมศาสตร์ จะพจิ ารณาเทคโนโลยกี ารศกึ ษาในเชงิ

การปฏบิ ตั ทิ างการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับพฤติกรรมมนุษย์ โดยนาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ จติ วิทยา

มานษุ ยวทิ ยา สังคมวิทยา กระบวนการกลุ่ม การสอื่ สาร ตลอดจนความรู้ทางชา่ ง และเครอ่ื งมือตา่ ง ๆ

มาประยกุ ต์ใชใ้ นการจัด การเรยี นการสอน

จากแนวคดิ ทง้ั 2 จึงมีผู้ให้นิยามของเทคโนโลยกี ารศกึ ษาออกเปน็ 2 ลักษณะเชน่ กนั อาทเิ ชน่

กดู (Good,1973 : 529) ได้ใหค้ วามหมาย ของเทคโนโลยีการศึกษาไวว้ า่ เปน็ การประยกุ ต์

หลักการทางวทิ ยาศาสตร์และเครื่องมอื เพอื่ นามาใชใ้ นการเรียนการสอน

แฮนคอค (Hancock,1977 : 5) กลา่ วไวว้ า่ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา คือการผสมผสานความคดิ

ความเขา้ ใจ ในการปฏิบตั ิงานระหว่างคนกบั เคร่อื งมือและวสั ดุ อย่างมรี ะบบโดยมวี ตั ถุประสงคใ์ นการ

พัฒนาปรบั ปรุงกระบวนการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งขึน้

กาเย่ และบรกิ ส์ (Gagne and Briggs,1979 : 22) ไดน้ ยิ ามไวว้ า่ เทคโนโลยกี ารศึกษา คอื

ความร้ทู งั้ มวลทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการออกแบบระบบการเรยี นการสอนโดยครอบคลมุ 3 ประการ ตอ่ ไปนค้ี ือ

1. ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลในการเรยี นรู้

2. ทฤษฎกี ารเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง เชน่ การเสรมิ แรง การวางเงื่อนไข เปน็ ต้น

3. เคร่ืองมืออปุ กรณท์ ีเ่ ป็นประดษิ ฐ์กรรมทางวิทยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตร์

สมาคมเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษา สหรัฐอเมรกิ า (AECT,1977) ไดใ้ ห้คานิยาม

ของเทคโนโลยกี ารศึกษาไวแ้ ละเปน็ ที่นิยมอย่างแพร่หลายวา่ เทคโนโลยีเป็นกระบวนการท่ีซบั ซอ้ น

ซึ่งเกยี่ วข้องกับบคุ คล วธิ ีการ ความคิด เคร่ืองมือ และองค์กร กระบวนการนมี้ ีขน้ึ เพ่ือการวิเคราะห์ปัญหา

และการวางแผน การนามาใช้ การประเมินผล และจัดการหาทางแกป้ ัญหาทกุ ๆ อยา่ งท่ีเกดิ ขน้ึ อัน

เกย่ี วพันกับการเรยี นรู้ของมนษุ ย์ ซง่ึ ตอ่ มาสมาคมเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษาสหรัฐอเมรกิ า ไดใ้ ห้

ความหมายใหมว่ ่า เทคโนโลยกี ารศึกษา เปน็ ทฤษฎีและการปฏิบัติของ การออกแบบ การพัฒนา

การใช้ การจัดการ และการประเมนิ ของกระบวนการและทรัพยากรสาหรับการเรียนรู้

5

ดงั นัน้ โดยสรปุ แล้วเทคโนโลยกี ารศึกษาจงึ เป็นการประยุกตเ์ อา แนวความคดิ หลกั การ ทฤษฎี
เทคนคิ วิธกี าร วัสดุ อุปกรณต์ ่าง ๆ เขา้ มาใชใ้ นวงการศึกษาอยา่ งเป็นระบบ เพื่อใหก้ ารศกึ ษามี
ประสิทธิภาพ (Efficiencey) ประหยดั (Economy) และมปี ระสทิ ธผิ ล (Productivity)

ขอบเขตของเทคโนโลยีการศึกษา

จากความหมายของเทคโนโลยีการศกึ ษาดังกล่าว เทคโนโลยกี ารศึกษาจึงมไิ ด้หมายถึงเฉพาะ
เรือ่ งของการใช้เครือ่ งมอื อุปกรณ์ (Hardware) และวัสดุ (Software) เทา่ นัน้ แตเ่ ทคโนโลยกี ารศกึ ษา
ยังหมายความรวมถึง การผสมผสานองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทั้งหลาย ทจ่ี ะเกอ้ื หนนุ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรียนรู้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพอกี ด้วย
ดงั นนั้ เทคโนโลยีการศึกษาขงึ มีขอบเขตกวา้ งขวางครอบคลมุ การจัดดาเนนิ การทางการศกึ ษา
ทั้งหมด ดงั ภาพท่ี 1.2 ต่อไปน้ี

ขอบเขตของเทคโนโลยีการศกึ ษา
ด้านการจดั การศึกษา ด้านการพฒั นาการศึกษา ด้านทรพั ยากรการเรยี นรู้

 การจัดการ  ทฤษฎีการวิจยั  ข้อมูลความรู้ ผู้เรียน
องค์กร  การออกแบบ  บคุ ลากร
 การผลิต  วสั ดุ
 การจดั การ  การใช้  เครือ่ งมอื
บคุ ลากร  การสนบั สนุน  เทคนิค
 การประเมินผล  อาคารสถานท่ี
 การเผยแพร่

ภาพท่ี 1.2 แสดงขอบเขตของเทคโนโลยีการศกึ ษา (ทมี่ า : กิดานัน มลิทอง)

6

ดา้ นการจดั การศกึ ษา

การจัดการศกึ ษา เปน็ สว่ นประกอบที่สาคัญอย่างหน่ึงของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา อาจเรียกได้วา่
เปน็ การบรหิ ารงานดา้ นการศึกษานัน่ เอง เพราะการจัดการศึกษาเน้นในเร่ืองกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของวิธรี ะบบ
เพื่อจัดดาเนนิ การหรือบริหารให้การจดั การศึกษาและการเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ หลกั การ
จดั การศึกษามีองคป์ ระกอบทส่ี าคญั 2 ประการคอื การจดั องคก์ าร (Organization Management) และ
การจัดการบุคลากร (personnel Management)

การจดั องคก์ าร หมายถงึ การจดั หนว่ ยงานหรือองค์การ หรือดาเนนิ งานไปตามวิธรี ะบบ
ไม่วา่ จะเปน็ การกาหนดทิศทาง หรือเปา้ หมายและการควบคุมกิจกรรมทั้งหลายขององคก์ าร เชน่
การจัดองค์การบริหารศูนยส์ อ่ื ซึ่งตอ้ งมกี ารวางโครงสร้างและกาหนดฝ่ายตา่ ง ๆ ภายในศูนย์ให้ชดั เจน
เชน่ ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายบรกิ าร และฝ่ายประเมนิ ผล ฯลฯ เป็นตน้

การจดั การบคุ ลากร หมายถึง การจดั บคุ ลากรใหเ้ หมาะสมกับงาน จัดให้มกี ารรว่ มมอื และให้
คาปรึกษาหารอื ตลอดจนให้ความช่วยเหลือซ่งึ กนั และกันระหวา่ งมวลสมาชกิ ในหนว่ ยงานหรอื องคก์ าร
นัน้ ๆ ถา้ เปน็ ศนู ย์ส่ือก็ตอ้ งจัดบคุ ลากรลงฝ่ายต่าง ๆ ตามความถนัดของแตล่ ะบุคคล ใครถนดั ออกแบบก็
ให้อย่ฝู า่ ยออกแบบ ใครถนดั ดา้ นการผลิตกจ็ ดั ลงฝ่ายผลิต ฯลฯ เปน็ ต้น

ด้านการพัฒนาการศึกษา

เทคโนโลยีการศึกษา เป็นศาสตร์ทใี่ หค้ วามสาคญั กบั วธิ ีระบบ โดยมกี ารจัดรูปแบบองคก์ าร
และวางตัวบคุ คลในการปฏบิ ัติงาน เพือ่ นาไปสู่การพฒั นาการเรยี นรูใ้ ห้มีประสทิ ธิผล และประสิทธิภาพ
ภาพ องค์ประกอบของเทคโนโลยกี ารศกึ ษาในด้านการพัฒนาการศึกษา มดี ังนี้

การวิจัย เปน็ การศกึ ษาค้นคว้าหาความรูค้ วามจริงด้วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์เพ่ือนาความรูท้ ่ี
ไดม้ าแก้ปญั หาในการพัฒนาการศึกษา

การออกแบบ เป็นการวางโครงร่างเพอื่ พฒั นาการศึกษา อาจเป็นการออกแบบระบบการเรยี นรู้
หรือออกแบบเพือ่ พัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ เก่ียวกบั วสั ดุ อุปกรณ์ โดยอาศัยผลการวจิ ยั เป็นพ้ืนฐานใน
การออกแบบ

การผลิต เปน็ การลงมอื วางระบบ หรอื ประดษิ ฐ์สร้างทรพั ยากรการเรยี นรู้ ตามที่ไดอ้ อกแบบไว้
การใช้ เป็นการลงมือปฏบิ ตั ติ ามระบบทว่ี างไว้ และดาเดินการตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั ทรัพยากรการ
เรยี นรู้ท่ผี ลิตไว้ โดยคานึงถึงจุดมุ่งหมาย แผนการหรอื ยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือให้ทรัพยากรการเรียนรูเ้ กอ้ื หนุน
การเรยี นการสอน อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
การสนบั สนุน ไดแ้ กก่ ารให้ความสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ในดา้ นงบประมาณ วสั ดุ อปุ กรณ์
เคร่อื งมือ และการฝึกอบรมต่าง ๆ

7

การประเมนิ ผล เป็นการดาเนนิ การเพอื่ พิจารณาเก่ยี วกบั ความก้าวหน้าของการพัฒนาการศึกษา
ท่ดี าเนินการอยู่ เพ่อื ประโยชน์ในการปรับปรุงแกไ้ ข และตดั สนิ ใจดาเนินการตา่ ง ๆ ในพัฒนาตอ่ ไป

การเผยแพร่ เป็นการถ่ายทอดความรู้ หรือทรัพยากรการเรยี นรทู้ ี่ได้รบั การพัฒนาแลว้
ใหแ้ พร่กระจายไปยังสว่ นตา่ ง ๆ ขององคก์ าร หรือต่างองค์การ

จะเห็นได้วา่ ในด้านการพัฒนาการศกึ ษาน้ี มกี ารดาเนนิ การไปตามขน้ั ตอนและสอดคล้องกบั
ทรพั ยากรการเรยี นรู้

ด้านทรัพยากรการเรียนรู้

ทรพั ยากรการเรียนรเู้ ป็นองคป์ ระกอบหนง่ึ ของเทคโนโลยีการศึกษา ซง่ึ เป็นสิ่งทคี่ อยกระตุ้นให้
ผู้เรียนอยากเรยี นและเรียนได้ดว้ ยดี ประกอบด้วย ข้อมลู ความรู้ หรอื เนอื้ หาวิชา (Content) บคุ ลากร
(Staff) วสั ดุ (Materials) เคร่ืองมือ (Equipment) เทคนคิ (Techniques) และอาคารสถานท่ี (Setting)

ขอ้ มูลความรูห้ รอื เนอ้ื หาวชิ า ไดแ้ ก่ โปรแกรมท่เี กี่ยวกับการเรียนการสอน หรอื โครงสรา้ งของ
หลักสูตร รวมท้งั ข้นั ตอน ลาดับของเน้ือหาวิชา ควรจดั ทาให้เหมาะสมกับระดับของผเู้ รยี น

บุคลากร ไดแ้ ก่ ครู นกั ศึกษา นักวิชาการและผูเ้ ช่ยี วชาญต่าง ๆ ทมี่ ีส่วนชว่ ยใหก้ ารเรยี น
การสอน ดาเนินไปได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เช่น ผเู้ ชี่ยวชาญด้านวัสดุ อปุ กรณ์ ครูโสตทศั นศึกษา ฯลฯ
เป็นตน้

วสั ดุ ไดแ้ ก่ ส่อื ทงั้ หลายทีจ่ ะเก้อื หนนุ ใหก้ ารเรียนการสอน ดาเนนิ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เชน่
แผนภูมิ แผนที่ รูปภาพ ม้วนเทป แผน่ ซดี ี ซีวดี ี ดวี ดี ี ภาพยนตร์ หรอื สง่ิ พมิ พ์ ฯลฯ เปน็ ตน้

เครอ่ื งมือ ได้แก่ สอื่ ท้งั หลายทจี่ ะเกือ้ หนนุ หรืออานวยความสะดวกในการใช้ การผลิต และ
ถ่ายทอด ตลอดจนการจดั แสดง วัสดอุ ุปกรณ์ในการเรียนการสอน เชน่ คอมพิวเตอร์ เครอื่ งฉาย
โปรเจคเตอร์ เครื่องฉายข้ามศรี ษะ เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เครอื่ งฉายสไลด์ เคร่ืองวชิ วลไลเซอร์ และ
เครอ่ื งขยายเสียง ฯลฯ เปน็ ตน้ และยังหมายความรวมถึง อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการผลติ สอื่ ตา่ ง ๆ ด้วย เช่น
กล้องถา่ ยโทรทศั น์ เคร่ืองผสมสญั ญาณเสยี ง กล้องถา่ ยภาพ เคร่อื งวดั แสง ฯลฯ เป็นต้น

เทคนิค เปน็ วิธีการเฉพาะท่ีใชใ้ นกระบวนการเรยี นการสอน เทคนิคอาจสอดแทรกไวใ้ นรปู ของ
วัสดโุ ดยตรง หรอื อาจจะใชร้ ว่ มกับการใช้วสั ดใุ นการเรียนการสอนก็ได้ เช่น การใชบ้ ทเรียนสาเรจ็ รปู
การสาธติ การศกึ ษานอกสถานที่ การใชเ้ กมประกอบการสอน การสัมมนา การระดมความคิด
การแสดงบทบาทสมมตุ ิ ฯลฯ เป็นตน้

8

อาคารสถานที่ อาจเป็นอาคารสถานทท่ี ี่ใชใ้ นการเรยี นแบบปกติ ประกอบดว้ ย ห้องเรยี น
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ห้องฝกึ งาน และอ่นื ๆ หรอื เป็นอาคารทท่ี จ่ี ัดในรูปลักษณะของ ศนู ยว์ ทิ ยบริการ
ศูนย์เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ศูนย์นวตั กรรมการศึกษา ฯลฯ เปน็ ต้น ซงึ่ ต้องคานึงถึงพนื้ ทที่ ี่จะใช้งานใน
ลกั ษณะตา่ ง ๆ ตามวัตถปุ ระสงค์ และจัดวางแบบแปลนในการกอ่ สรา้ งให้เหมาะสม เพอ่ื จะได้สะดวก
และเออ้ื อานวยต่อการใชง้ านนน้ั ๆ

ดา้ นผเู้ รียน

องค์ประกอบของเทคโนโลยกี ารศึกษา ไม่วา่ จะเป็นทางด้านการจดั การศึกษา ดา้ นการพัฒนา -

การศึกษา และด้านทรพั ยากรการเรียนรู้ ทกุ ดา้ นจะทางานประสานกัน เพือ่ ใหเ้ กิดสมั ฤทธผิ์ ลต่อผเู้ รียน

ตามเปา้ หมายทว่ี างไว้ ดังนน้ั ผเู้ รียนจงึ เปน็ องค์ประกอบท่สี าคญั ของเทคโนโลยี ถ้าเราสามารถทาความ

เข้าใจลกั ษณะเฉพาะของผเู้ รียน อาทิเช่น ขอ้ มลู สว่ นตัว รายละเอยี ดเก่ยี วกบั ครอบครัว ประสบการณ์เดิม

ระดับความสามารถ ตลอดจนบุคลกิ ภาพ และคณุ สมบัติอืน่ ๆ สงิ่ เหลา่ นจี้ ะเปน็ ข้อมูลสาคัญที่

นามาเปน็ เกณฑ์ในการพจิ ารณาเลอื กใช้เทคโนโลยีการศกึ ษาทีเ่ หมาะสม เพอ่ื ช่วยใหก้ ารจัดการศึกษา

ดาเนินไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล

ตามท่กี ล่าวมาแล้วในตอนตน้ ว่าปัจจุบนั สมาคมเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา (Association
for Educational Communications and Teechnoloy : AECT ) แห่งสหรฐั อเมริกาได้ให้
ความหมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษาไวใ้ หม่เม่อื ปี พ.ศ. 2537 วา่ (Seels & Ricchey, 1994 : 9)
“เทคโนโลยีการศกึ ษาเปน็ ทฤษฎีและการปฎิบตั ขิ องการออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจดั การ และ
การประเมิน ของทรพั ยากรสาหรบั การเรยี นรู้”

จากความหมายดงั กล่าว ทาใหเ้ ห็นแนวคดิ ในวงกวา้ งมากยง่ิ ข้นึ ของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
ทีส่ ามารถนาเทคโนโลยีการศกึ ษา มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดเพือ่ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
การเรยี นรขู้ องผู้เรียนได้ ความหมายน้ไี ดแ้ บ่งเทคโนโลยีการศกึ ษาออกเป็น 5 ขอบเขต (Domains)
ได้แก่ การออกแบบ (Design) การพฒั นา (Development) การใช้ (Utilization) การจดั การ
(Management) แลพการประเมิน (Evaluation) โดยแตล่ ะขอบเขตจะโยงเข้าสศู่ ูนยก์ ลางของทฤษฎี
และปฏิบตั ิ ดังภาพท่ี 1.3

9

การพัฒนา ทฤษฎี การใช้
เทคโนโลยกี ารพิมพ์ ทฤษฎกีารปฏิบตั ิ การใช้สอ่ื
เทคโนโลยโี สตทศั น์ การปฏบิ ัติ การแพร่กระจายนวตั กรรม
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การใชง้ านและความป็นองค์กร
เทคโนโลยีแบบบูรณาการ นโยบายและกฎระเบียบ

การออกแบบ การจัดการ
การออกแบบระบบการสอน การจดั การโครงการ
การออกแบบสาร การจัดการทรัพยากร
กลยุทธก์ ารสอน การจัดการระบบการขนส่ง
ลักษณะเฉพาะของผ้เู รยี น การจัดการสารสนเทศ

การประเมนิ
การวิเคราะห์ปัญหา
การวดั ผลแบบอิงเกณฑ์
การประเมินความกา้ วหนา้
การประเมินขั้นสรปุ

ภาพท่ี 1.3 ขอบเขตใหม่ของเทคโนโลยกี ารศึกษา (ท่มี า : Seels and Richey, 1994 : 26)

10

ความสาคัญของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

เทคโนโลยีการศกึ ษามคี วามสาคัญตอ่ การศกึ ษามาก ดังนี้

1. ช่วยนามวลประสบการณ์เขา้ มาจดั การศกึ ษา
มวลประสบการณท์ เ่ี ราจะจดั การศึกษาน้ันมีอยู่มากมายและหลากหลาย ถึงแมจ้ ะอย่หู ่างไกลตวั -

ผเู้ รยี น ถกู จากัดดว้ ยระยะทางและกาลเวลา เทคโนโลยีการศกึ ษาก็ช่วยใหเ้ ราสามารถนาประสบการณ์
ต่าง ๆ เหล่านมี้ าในโรงเรยี นให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาโดยสะดวกรวดเร็ว

2. ชว่ ยขยายแหล่งวทิ ยากรมนษุ ย์ ซ่งึ มีอย่อู ยา่ งจากัด ให้สามารถใชไ้ ด้อยา่ งกวา้ งขวาง
แหลง่ วทิ ยากรมนุษย์ทจ่ี ะใช้ประโยชน์ในทางการศกึ ษานน้ั มอี ย่จู ากัด จึงตอ้ งหาเครอ่ื งมือที่

จะต้องขยายการใช้แหล่งวทิ ยากรมนุษยใ์ หส้ ามารถใช้อย่างกว้างขวางย่งิ ขน้ึ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา
สามารถจะขยายการใชแ้ หล่งวทิ ยากรมนุษยใ์ หก้ วา้ งขวาง

3. ชว่ ยจัดสภาวะการเรียนไดอ้ ย่างหลากหลาย
ความคิดใหม่ในด้านการเรียนรูข้ องคนนน้ั เราถอื วา่ คนเรียนไดด้ ีดว้ ยการกระทาแก้ปัญหา

ดว้ ยการเรยี นเปน็ กลมุ่ ใหญ่ เรยี นเป็นกลุม่ เล็ก และเรยี นเป็นรายบุคคล สิ่งท่จี ะทาใหส้ ามารถจดั สภาวะ
การเรยี นเชน่ นีไ้ ด้ คือเทคโนโลยกี ารศึกษา

4. ทาใหค้ ณุ ภาพของสถานศึกษาเทา่ เทยี มกัน
รฐั บาลมนี โยบาย ทจี่ ะทาให้สถานศึกษาทกุ หนทุกแหง่ มีคณุ ภาพเท่าเทียมกัน เทคโนโลยี -

การศึกษา จะเปน็ วธิ หี น่ึงทีด่ ี ท่จี ะทาใหค้ ุณภาพของสถานศึกษามคี วามเทา่ เทียมกัน
5. ทาใหเ้ กดิ ผลการเรียนรู้หลายดา้ น
ความคิดในดา้ นการเรียนรอู้ กี ประการหน่งึ การเรยี นรคู้ อื การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม ซง่ึ การ

เรยี นร้ทู ม่ี ีการเปลย่ี นแปลงไดน้ นั้ จะตอ้ งมผี ลการเรยี นรทู้ ีเ่ กิดข้ึนท้ังพทุ ธพิ สิ ยั จิตตพสิ ยั และทกั ษะพสิ ัย
เทคโนโลยีการศึกษาจะช่วยให้เกดิ ผลการเรียนรู้ดังกลา่ วไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

6. ช่วยอานวยความสะดวกใหแ้ กน่ ักเรียน ไดล้ งมือกระทาดว้ ยตนเองจนเกิดการเรยี นรู้
ความคิดเรื่องบทบาทของครใู นการสอนนนั้ ปจั จุบนั เห็นวา่ การสอนนนั้ มิใช่การบอกกล่าวแต่

อยา่ งเดยี ว แต่การสอนนั้นเปน็ การจัดอานวยความสะดวกให้แกน่ กั เรียน เพื่อนกั เรยี นได้ลงมือกระทาด้วย
ตนเองจนเกิดการเรยี นรู้ ความคิดเชน่ น้ยี อ่ มมีความจาเปน็ ท่จี ะต้องนาเทคโนโลยีการศกึ ษาเขา้ มาใน
โรงเรยี น

7. ชว่ ยทาให้เกิดเหตุการณส์ อนท่ีสาคัญ ท่ที าให้การเรยี นรู้มปี ระสิทธิภาพ
การสอนทเ่ี ปน็ ระบบน้ัน ยอ่ มประกอบดว้ ยเหตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งน้อย 9 ประการคือ
1) ดึงความต้งั ใจ
2) ให้ผูเ้ รยี นทราบจุดมุง่ หมาย

11

3) กระตุน้ นักเรียนใหร้ ะลกึ ถงึ สง่ิ ทเ่ี รยี นมาแลว้ ซงึ่ เป็นส่งิ ทจี่ าเป็นแกก่ ารเรียนใหม่
4) เสนอวัสดสุ ่ิงเรา้ เพื่อการเรยี นรู้
5) จดั แนะแนวการเรยี นรู้
6) กอ่ ใหเ้ กดิ การประกอบกิจโดยผ้เู รียน
7) จัดขอ้ มลู ป้อนกลบั ใหแ้ ก่การกระทาท่ถี กู ตอ้ ง
8) ตรวจสอบประเมนิ การประกอบกิจ
9) สนบั สนนุ ส่งเสริมใหม้ ีความคงทนในการจา และการถ่ายโยงการเรยี นรู้
นคี่ ือระบบเหตกุ ารณข์ องการสอน ซงึ่ ระบบน้ีเป็นเทคโนโลยีการศึกษา
8. ชว่ ยทาให้เกดิ ภาวะเบ้อื งตน้ ทจ่ี าเป็นสาหรับการเรียนการสอน
นกั จิตวิยาการศึกษายอมรบั กันวา่ ภาวะเบ้ืองต้น อนั สาคญั ต่อการเรียนร้ทู ุกประเภทนั้น ไดแ้ ก่
1) การเกดิ ขึ้นไลเ่ ลย่ี กนั ของส่ิงเรา้ และการตอบสนอง
2) การปฏบิ ตั ิ
3) การเสริมแรง
4) การไดข้ ้อสรุป
5) การจาแนกแยกแยะ
ภาวะเช่นนจ้ี ะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาเขา้ ชว่ ย
ทีก่ ล่าวมาท้งั หมดน้ี เป็นเครอื่ งยนื ยนั ชใี้ หเ้ ห็นถึงความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารศึกษา ทช่ี ว่ ยทา
ใหผ้ รู้ ับการศึกษามคี ณุ ภาพ ดงั น้นั การศกึ ษาสมยั ใหม่จงึ จาเป็นต้องประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีการศกึ ษา
เพื่อใหก้ ารศกึ ษามคี ุณภาพ อนั ส่งผลให้เกิดคณุ ภาพชีวิตที่ดแี กพ่ ลเมืองโดยทัว่ ไป

พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารศึกษา

การนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นวงการศึกษาไดเ้ ร่ิมมมี าตงั้ แต่สมัยก่อนครสิ ตกาล โดยนกั เทคโนโลยี -
การศึกษาพวกแรกคือ กล่มุ โซฟิสต์ ได้ใชก้ ารสอนแบบบรรยายเพื่อสอนแก่มวลชล ต่อจากนั้นได้มี
นกั การศึกษาด้านนีอ้ กี หลายท่านทเ่ี ริ่มมบี ทบาทในเทคโนโลยีการศึกษา ดงั น้ี

ก่อนสมัยศตวรรษท่ี 17
1. โซเครติส ไดน้ าวธิ ีสอนแบบสอบถาม ท่ใี ชค้ าถามนาและเม่ือถามเป็นชุดกจ็ ะทาให้ผู้ตอบ
เกดิ การเรียนรูไ้ ด้
2. ซเิ ซโร ใช้รูปภาพประกอบการสอน
3. เพลโต นกั ปราชญ์กรกี ได้ย้าถงึ ความสาคัญของการใชว้ ัสดปุ ระกอบการสอน
4. อารบ์ ิลาร์ต เป็นพระชาวฝรงั่ เศสได้คดิ วิธีสอน เรียกว่า การสอนเชิงพุทธปิ ญั ญา
5. อีรสั มุส เสนอวธิ เี รียนด้วยการลงมอื ปฏบิ ัติด้วยตนเองและการศกึ ษานอกหอ้ งเรียน

12

ศตวรรษที่ 17-19
1. ฟรานซสิ เบคอล เสนอการเรยี นโดยวธิ ีสงั เกต พิจารณาเหตุผลในชวี ติ จรงิ
2. คอมินอิ สุ ริเรม่ิ ใช้รปู ภาพประกอบบทเรยี นในหนังสือ “The Orbis Pictus”
ซึ่งเป็นตาราเรียนเลม่ แรกท่ีมภี าพประกอบถึง 150 ภาพ เขาได้รบั การยกยอ่ งเปน็ “บิดาของเทคโนโลยี-
การศึกษา”
3. รุสโซ เสนอแนะว่า การสอนในโรงเรียนควรเรมิ่ จากสภาพความเปน็ จริงและเขา้ ใจใน
สภาพของเด็ก ให้เดก็ มีโอกาสได้พบปะจบั ต้องของจริง
4. เปสตาลอสซี มงุ่ การประยุกต์หลักจิตวิทยามาใชใ้ นการสอน มคี วามเช่ือว่ารากฐาน
สาคัญในการเรยี นรขู้ องผู้เรียนอย่ทู กี่ ารฝึกฝน รจู้ ักสังเกต และรบั รผู้ ่านประสาทสมั ผสั จากของจริง
มากทสี่ ุด
5. แฮรบ์ ารต์ ได้เสนอวธิ กี ารสอนแบบ 5 ขั้น
คือ การเตรยี ม (Preparation) การสอน (Presentation) การสัมพนั ธ์ (Association) การตัง้ กฎเกณ์
(Generalzation) และการใช้ (Application)

ศตวรรษที่ 20

1.ธอร์นไดค์ เป็นผคู้ ดิ ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบสมั พันธ์เช่อื มโยง เขามคี วามเชอื่ วา่ การเรยี นรู้จะ
เกดิ ข้นึ ไดก้ ็โดยการสรา้ งสง่ิ เช่อื มโยงหรือความสัมพันธร์ ะหว่าง สง่ิ เรา้ (Stimulus) และการตอบสนอง
(Response) โดยส่งิ เรา้ หนึง่ อาจทาใหเ้ กิดการตอบสนองไดห้ ลายทาง แตอ่ นิ ทรยี จ์ ะเลอื กการตอบสนอง
ท่ีตนเองพอใจทีส่ ุดไวเ้ พอื่ นาไปใช้ในการตอบสนองครัง้ ตอ่ ไป ทฤษฎขี องธอร์นไดค์ ทาใหเ้ กิดกฎการ
เรียนรู้ท่สี าคญั 3 กฎ คอื กฎแหง่ ความพรอ้ ม (Law of Readiness) กฎแหง่ การฝกึ หดั (Law of
Exercise) กฎแห่งผล (Law of Effect)

2. ดิวอี้ เปน็ ผู้ตั้งทฤษฎปี ระสบการณ์ ซ่งึ เปน็ การเรยี นรู้จากการกระทา (Learning by Doing)
3. เปียเจต์ เปน็ ผูต้ ง้ั ทฤษฎพี ัฒนาการทางสติปญั ญา ปะทะกบั สภาพแวดลอ้ ม
4. สกนิ เนอร์ เปน็ ผคู้ ิดทฤษฎกี ารเรียนรวู้ างเงื่อนไขแบบการกระทา เขามคี วามเชอ่ื ว่าการเรยี นรู้
ของมนษุ ยเ์ กิดจากการทีบ่ คุ คลได้มกี ารกระทาแล้วไดร้ บั การเสรมิ แรง ซึ่งนาไปใช้ในการสร้างบทเรยี น -
สาเร็จรูป

นกั เทคโนโลยีการศึกษา นกั จิตวิทยา และนักวิทยาศาสตร์ ตามทก่ี ล่าวมาขา้ งตน้ เปน็ ผูน้ า
หลักการทางวทิ ยาศาสตรม์ าประยกุ ตใ์ ช้ในเทคโนโลยีการศกึ ษา และลว้ นมสี ว่ นชว่ ยในการพฒั นา
เทคโนโลยีการศึกษาทั้งสน้ิ ซึง่ เริม่ ตน้ จากการนา วัสดอุ ุปกรณซ์ ่ึงเปน็ สอื่ ประเภทภาพและเสียงรวมถงึ

13

เทคนิควิธกี ารมาใช้ เพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการเรยี นการสอน เรยี กได้ว่าเป็นการนาสือ่
โสตทศั น์ (audio-visual aids) มาใช้น่ันเอง และมกี ารนาส่ือหลาย ๆ อยา่ งมาใช้ร่วมกันในลกั ษณะของ
ส่ือประสม โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในวงการศกึ ษา ทาใหเ้ กดิ คอมพิวเตอร์ช่วย -
สอน (computer-assisted instruction : CAI) โดยผ้เู รยี นสามารถเรียนรจู้ ากโปรแกรมบทเรยี น
รูปแบบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การสอน การฝึกหดั การจาลอง เกมเพ่อื การสอน การคน้ พบ การแกป้ ญั หา และ
การทดสอบ ในแต่ละบทเรยี นจะมตี วั อกั ษร ภาพกราฟิก ภาพนงิ่ ภาพเคลอ่ื นไหว และเสียง ประกอบใน
ลักษณะของสือ่ ประสม (multimedia) และสอื่ หลายมิติ (hypermedia) และมีการนาคอมพิวเตอรม์ า
เชอื่ มโยงเขา้ ด้วยกันเป็นเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ โดยมีระบบโทรคมนาคมเขา้ มาเสรมิ ทาใหส้ ามารถจัด
การเรียนรไู้ ด้ ในลักษณะการศกึ ษารายบุคคล การศึกษาเป็นกลุม่ การศึกษามวลชน และสามารถจดั
การศกึ ษาได้ ท้งั ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ทาใหเ้ กดิ การเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต

สรุป

นวัตกรรม หมายถงึ ส่ิงประดษิ ฐ์ (วัสดุ อปุ กรณ)์ หรอื เทคนคิ วิธีการใหม่ ๆ (อาจปรบั ปรุงของ
เก่าให้ใหมห่ รือดขี ้ึน) ท่นี ามาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านเพื่อใหง้ านมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลมากขนึ้
นวัตกรรมเมื่อถูกนามาใชจ้ นเคยชนิ เป็นปกตินิสยั เปน็ ส่วนหนึ่งของระบบงานแลว้ กจ็ ะหมดสภาพความ
เปน็ นวัตกรรมกลายเปน็ เทคโนโลยีไป

เทคโนโลยีการศกึ ษา เป็นการประยกุ ตเ์ อา แนวความคดิ หลกั การ ทฤษฎี เทคนคิ วิธกี าร วัสดุ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามาใช้ในวงการศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบ เพ่อื ใหก้ ารศกึ ษามปี ระสทิ ธิภาพ (Efficiencey)
ประหยดั (Economy) และมีประสทิ ธิผล (Productivity) เทคโนโลยีเม่อื ถกู ใช้ไปนาน ๆ หรือนาไปใช้
ต่างสถานท่ี ต่างเวลา ตา่ งโอกาส ก็อาจเกดิ ปญั หาหรือขอ้ บกพรอ่ งบางประการ เช่น อาจไมไ่ ดผ้ ลหรือ
ไดผ้ ลน้อย ไมเ่ ป็นทีน่ ่าพอใจ จาเปน็ ตอ้ งมีการดดั แปลง ปรบั ปรุงหรือคิดคน้ สิ่งใหมข่ นึ้ ใหเ้ หมาะสมมี
ประสิทธิภาพมากยงิ่ ขนึ้ การคิดคน้ หรือปรบั ปรงุ ดัดแปลงขึน้ ใหม่แลว้ ทดลองใช้จนไดผ้ ลและนามาใช้
ในสถานการณจ์ ริง ส่ิงนัน้ ก็กลายเปน็ นวัตกรรมไป และนวตั กรรมน้นั เม่อื ถูกใช้จนเปน็ ปกตวิ ิสัยเปน็
สว่ นหนงึ่ ขงระบบงาน ก็จะกลายเป็นเทคโนโลยีไปอกี เป็นวฏั จกั รหมุนเวียนกนั ไป

พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา เรมิ่ ต้นจากการนาวัสดอุ ปุ กรณซ์ ง่ึ เปน็ สื่อประเภทภาพและ
เสียงรวมถงึ เทคนิควธิ กี ารมาใช้ เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลในการเรียนการสอน และมีการ
นาส่ือหลาย ๆ อยา่ งมาใชร้ ่วมกนั ในลักษณะของส่อื ประสม โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เม่ือมีการนาคอมพวิ เตอร์
มาใชใ้ นวงการศกึ ษา ทาใหเ้ กิดคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน โดยผเู้ รียนสามารถเรียนร้จู ากโปรแกรมบทเรียน
รปู แบบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การสอน การฝึกหดั การจาลอง เกมเพอื่ การสอน การค้นพบ การแก้ปัญหา และการ
ทดสอบ ในแตล่ ะบทเรียนจะมีตวั อกั ษร ภาพกราฟกิ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว และเสยี ง ประกอบใน

14

ลักษณะของสือ่ ประสม และสอ่ื หลายมิติ ตอ่ มามกี ารนาคอมพวิ เตอร์มาเช่ือมโยงเขา้ ดว้ ยกันเปน็ เครือขา่ ย
อนิ เทอรเ์ น็ตโดยมรี ะบบโทรคมนาคมเข้ามาเสรมิ ทาใหส้ ามารถจัดการเรยี นรไู้ ด้ ในลักษณะการศกึ ษา
รายบคุ คล การศึกษาเปน็ กลมุ่ การศึกษามวลชน และสามารถจัดการศึกษาได้ ทง้ั ในระบบ นอกระบบ
และตามอธั ยาศัย ทาใหเ้ กิดการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต

แบบฝึกหดั ท้ายบท

1. จงอธิบายความหมายของนวตั กรรม
2. กระบวนการเกดิ นวัตกรรม มีข้ันตอนอย่างไร
3. นวตั กรรมและเทคโนโลยีมีความสัมพันธก์ นั อย่างไร
4. จงอธิบายความหมายของเทคโนโลยี
5. แนวคดิ ของเทคโนโลยกี ารศึกษาที่สาคัญมี 2 ทัศนะคอื อะไร ใหอ้ ธบิ าย
6. เทคโนโลยกี ารศึกษามขี อบเขตอย่างไร
7. เทคโนโลยีการศึกษามีความสาคัญอยา่ งไร
8. จงอธิบายถงึ พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารศึกษา


Click to View FlipBook Version