The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้เรื่องการเขียนบรรณานุกรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimwadee somsuwan, 2022-09-11 01:22:11

ใบความรู้เรื่องการเขียนบรรณานุกรม

ใบความรู้เรื่องการเขียนบรรณานุกรม

ใบความรู้

เรื่องการเขียนบรรณานุกรม

บรรณานกุ รม ( Bibliography ) หมายถึง รายการของทรพั ยากรสารนิเทศทีใ่ ชค้ ้นคว้าประกอบการ
เขียนรายงาน และนํามาอ้างอิงไว้ท้ายเลม่
ความสำคัญของบรรณานุกรม

ในการศกึ ษาค้นคว้าและเขียนรายงานเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ง จำเปน็ จะต้องรวบรวมบรรณานุกรมไว้ท้ายเล่ม
เสมอ ดว้ ยเหตุผลดงั ต่อไปนี้

1. เพื่อแสดงว่ารายงานฉบับนั้นเปน็ รายงานที่มีเหตผุ ล มีสาระน่าเช่ือถือได้
2. เพือ่ แสดงว่าผเู้ ขียนรายงานเคารพสิทธิและความคิดเห็นของผแู้ ต่งหนังสือทีไ่ ด้นํามาใช้
ประกอบการเขียนน้ัน
3. เพื่อเป็นแนวทางใหผ้ สู้ นใจได้ศกึ ษารายละเอียด หรอื ข้อเทจ็ จริงทีน่ ํามาประกอบการเขียนเพิม่ เติม
ได้อกี
4. เพื่อตรวจสอบหลกั ฐานด้ังเดิมที่ผเู้ ขียนนํามาประกอบในรายงาน
การเขียนบรรณานกุ รมมีวิธีการดงั นี้
1. เขียนคำว่า บรรณานุกรม โดยไม่ตอ้ วงขีดเส้นใต้ไว้กลางหน้ากระดาษ ห่างจากขอบบนประมาณสองน้ิว
2. เขียนรายงานบรรณานุกรมแต่ละรายการชิดชอบซ้ายของหน้ากระดาษ หากเขียนไมจ่ บในบรรทัดเดียวให้ขนึ้
บรรทัดใหมโ่ ดยยอ่ หนา้ เข้าไป 7 ตวั อักษร (หรือตำแหน่งที่ยอ่ หน้า)
3. เรียงรายชอ่ื แต่ละรายการตามลำดบั ตัวอกั ษรของชือ่ ผแู้ ตง่ (ก-ฮ)
4. จดั เรียงเอกสารแยกตามประเภท คือ หนังสือ บทความในวารสาร หนังสอื พิมพ์ สารานุกรม วิทยานิพนธ์
จลุ สาร เอกสารอัดสำเนา และการสมั ภาษณ์ หากรายงานเป็นภาษาไทยใหจ้ ัดเรียงเอกสารภาษาไทยไว้เป็น
อันดบั แรก แตถ่ ้ารายงานเป็นภาษาอังกฤษ ให้จดั เรียงเอกสารภาษาอังกฤษไว้เปน็ อันดับแรก
5. รายการสิ่งพิมพ์ของผแู้ ต่งเดียวกัน ในครั้งตอ่ ไปไม่ต้องเขียนชือ่ ผแู้ ต่งซ้ำอีก แต่ให้ใชส้ ัญลกั ษณ์ประกาศ
_______ ยาว 7 ตัวอกั ษร แทน
6. เว้นระยะ 1 บรรทัด ทกุ คร้ังเมื่อข้ึนรายการบรรณานุกรมรายการใหม่

การลงรายการบรรณานกุ รม
ผู้แต่งคนเดียว

ผแู้ ต่งชาวไทยใหใ้ ส่ชือ่ ตามด้วยนามสกลุ ในกรณีที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ หรอื ยศ เครือ่ งหมายจุลภาค (,)
หลงั นามสกุลและตามด้วยฐานันดรศักดิ์ บรรดาศกั ดิ์ หรอื ยศ เชน่

คึกฤทธิ์ ปราโมช, พลตรี ม.ร.ว.
อนุมานราชธน, พระยา
สภุ ัทรดิส ดสิ กลุ , ม.จ.

ผู้แต่งทีม่ ีสมณศกั ดิ์ ให้คงไว้ปกติไม่ต้องย้ายไว้ด้านหลงั เชน่ พระเทพคุณาธาร พระเทพวาทีพระพิศาล
ธรรมเวที ยกเว้น ผู้แตง่ ทีเ่ ป็นพระสงั ฆราชและเช้ือพระวงศ์ ให้ลงพระนามจรงิ กอ่ น แล้วกลับคำนำหน้าที่แสดง
ลำดับชนั้ เชอื้ พระวงศไ์ ปไว้ขา้ งหลัง โดยใช้เคร่อื งหมายจุลภาค (,)
ตัวอย่าง ปรมานุชิตชิโนรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรมสมเด็จพระ

หมายเหตุ ไมต่ ้องใส่คำตอ่ ไปนี้

คำนำหน้าช่อื เชน่ นาย นาง นางสาว Mr. Mrs.

ตำแหนง่ ทางวิชาการ เชน่ ดร. ศ. รศ. Dr. Prof.

คำระบุอาชีพ เช่น นายแพทย์ แพทยห์ ญิง ทนั ตแพทย์

จลุ จกั รพงษ์, พระองคเ์ จ้า. (2501). เกิดวงั ปารุสก์. พิมพค์ ร้ังที่ 4. พระนคร : คลงั วิทยา.
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2522). หว้ งมหรรณพ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์สยามรัฐ.

ผ้แู ต่งเป็นชาวต่างประเทศให้ใส่ชื่อสกลุ ตามด้วยอกั ษรย่อทั้งชื่อต้น และชือ่ กลาง(ถ้ามี) โดยใช้

เครื่องหมายจลุ ภาค (comma) (,) แบ่งชือ่ สกุล และชื่อต้น

ตวั อย่าง O’Brien, J. A.

Mullen, N. D.

ตัวอยา่ งการลงรายการบรรณานุกรม
1. ผู้แต่งคนเดียว
ชื่อ // ชื่อสกลุ ผแู้ ต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ.//ครั้งทีพ่ ิมพ์.//เมืองทีพ่ ิมพ์/:/สำนักพิมพ.์
ลัลลนา ศริ ิเจริญ. (2517). คูม่ ือกำสรวลศรปี ราชญ์. กรงุ เทพฯ : บรรณกิจ.
Curtis. Lillian Johnson. (1903). The Laos of north Siam. New York : Fieming H.

Revell Company.
Freeman. John H. (1910). An oriental land of the Free. Philadelphia : The

Westminster Press.

หนังสือทีม่ ีบรรณาธิการ ใหล้ งชือ่ บรรณาธิการแทนผู้แต่ง และใสค่ ำ “บรรณาธิการ” หรอื
“ผรู้ วบรวม” หรอื Ed. หรือ Eds. หรอื Comps. โดยใส่ไว้หลังเครือ่ งหมายจลุ ภาค ( , ) ตอ่ จากช่ือบรรณาธิการ

เรืองวิทย์ ลม่ิ ปนาท, บรรณาธิการ. (2543). ทอ้ งถน่ิ -อินเดีย. ชลบุรี : ภาควิชาประวัติศาสตร์
คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา.

Diener, H. C., &Wilkinson, M., Eds. (1988). Drug-induced headache. New York : Springerverlag.

2. ผ้แู ต่ง 2 คน ให้ลงชื่อคนแรกตามด้วยคำว่า “และ”
สิทธิ พินจิ ภูวดล และนิตยา กาญจนวรรณ. (2520). ความรู้ทว่ั ไปทางวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ :

ดวงกมล.
Galton, M. & Williamson, J. (1992). Group Work in the primary Classroom. London :

Routledge.

3. ผูแ้ ต่ง 3 คน ให้ลงชื่อคนแรกตามด้วย “ ,” ลงชื่อคนที่ 2 ตามด้วยคำวา่ “และ” ลงชื่อคนที่ 3
บรรพต วรี ะชัย, สุขุม นวลสกลุ และบวร ประพฤติด.ี (2528). ศาสตร์ท่ัวไป. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย

รามคำแหง.

4. ผูแ้ ต่งตง้ั แต่ 3 คนขึน้ ไป ให้ลงเฉพาะชื่อคนแรก แล้วตามด้วยคำว่า “และคณะ”
ฉวีวรรณ จณุ ณานนท์ และคณะ. (2520). คยุ กันกับหมอเร่อื งลูก. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ กั ษรสมั พนั ธ.์

5. หนังสือไมป่ รากฏชื่อผ้แู ตง่ ให้ใชเ้ รื่องเปน็ รายการแทนช่อื ผู้แต่ง
ลิลิตพระลอ. (2501). พมิ พ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : ครุ ุสภา.

ขอ้ มลู ออนไลน์ หรอื สารนิเทศบนอินเตอรเ์ น็ต
ผแู้ ตง่ .//(ปีทีพ่ ิมพ/์ ผลิต,/วนั /เดือน).// ชื่อเรื่อง.//[ประเภทของส่อื ]. รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี).
///////เข้าถึงได้จาก/:/แหล่งสารนเิ ทศ. (วันที่ค้นข้อมูล/:/วัน/เดือน/ปี).

ตัวอย่าง
สมศกั ดิ์ ดลประสิทธิ.์ (2544). ความสงสัยในการเดินหน้าปฏิรปู การศกึ ษา. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก :

http://www.moe.go.th/main2/article-somsak/article-somsak09.htm/.
(วันที่ค้นข้อมลู : 31พฤษภาคม 2545).
Webb, S.L. (1992, January). Dealing with sexual harassment. Small Business Report.
[Online]. 17, 11-14. Available : BRS, File : ABI/INFORM, Item : 00491201. (Access date : March 1,
1992).

เมือ่ รวบรวมวัสดสุ ารนเิ ทศได้ครบถ้วนทั้งหมดแลว้ ให้จัดเรียงรายการบรรณานกุ รมต่าง ๆ โดยแยก
จดั เรียงภาษาไทยไว้กอ่ นภาษาอังกฤษ โดยยึดหลกั การเรียงตามแบบพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ดงั นี้
1. เรียงตามลำดับตวั อกั ษร ก-ฮ ตัว ฤ,ฤา เรยี งไว้หลังอักษร ร และตวั ฦ,ฦา เรยี งไว้หลังอกั ษร ล เช่น

กานดา
จันทรจ์ ิรา
ชบาไพร
รัตกิ าล
ฤดี
ฤาษี
ลิขสิทธิ์
ฦชา
วนิดา
อารีย์
2. เรียงตามลำดับรปู พยัญชนะ-สระที่ปรากฏ โดยไม่คำนึงถึงเสียงอ่าน เช่น
ทราย เรียงไว้ทีก่ ลุ่มพยัญชนะ ท
หย่า เรียงไว้ที่กลุ่มพยญั ชนะ ห
อยา่ เรียงไว้ที่กลุ่มพยัญชนะ อ
3. คำทีข่ นึ้ ต้นด้วยพยัญชนะเดียวกนั ให้เรียงตามลำดบั ของตัวอักษรตวั ถดั ไป โดยเรียงคำที่ประกอบด้วยตัว
พยญั ชนะล้วนไว้ก่อนคำทีม่ ีรปู สระ เช่น
ชดชอ้ ย
ชมยั พร
ชลธิชา
ชวน
ชาติชาย
เชย
4. คำทีข่ ้นต้นดว้ ยตวั พยัญชนะเดียวกัน และมีรปู สระกำกับ ให้เรยี งตามรูปสระ ดังน้ี
-ะ กะรตั
กั กังสดาล
กัะ กั๊วะ
-า กานดา
กำ กำปั้น
กิ กินรี
กี กีรติ

กึ กึ๋น
กื กือเจริญ
กุ กุลสตรี
กู กูลเกือ้
เ- เก็จแก้ว
เ-ะ เกะกะ
เ-า เกาเหลา
เ-าะ เกาะแกะ
แ- แกนกลาง
แ-ะ แกะรอย
โ- โกมล
โ-ะ โกะ๊ ตี๋
ใ- ใกล้บ้าน
ไ- ไกรสร
5. คำที่มวี รรณยกุ ตก์ ำกบั เรียงโดยไมต่ อ้ งคำนึงถึงลำดับวรรณยกุ ต์ เชน่
ป้องกนั
ปองพอง
ป่าชายเลน
ป้านน้ำชา
ปา่ ละเมาะ
6. ตัวเลข สญั ลกั ษณ์ และคำยอ่ ให้เรียงตามเสียงอา่ น
ดอกช่อนกลิน่
ดร. อาทิตย์
ยีภ่ ู่
20 นาที
7. อกั ษรย่อเรียงไว้ก่อนคำที่ขึน้ ต้นด้วยตวั อกั ษรเดียวกัน เช่น
ก. ศยามานนท์
ก. สุรางคนางค์
กฤษณา อโศกสิน
กาญจนา เพชรมณี

การเรียงรายการบรรณานกุ รมภาษาองั กฤษ ยึดหลักเกณฑ์ ดงั นี้

1. เรยี งตามลำดับตัวอักษรตัง้ แต่ A-Z โดยใหเ้ รียงตามลำดับอกั ษรแบบคำตอ่ คำ (word by word)
คือ ดคู ำแต่ละคำ ในแต่ละคำ ให้ดูตามลำดบั อักษรตวั แรก ถ้าอกั ษรตัวแรกเหมอื นกนั ก็เรียงตามตัวที่สอง
ถ้าตวั ทีส่ องเหมอื นกนั ก็เรียงตามตัวที่สาม ไปเรือ่ ย ๆ และถ้าคำแรกเหมอื นกัน กเ็ รียงตามคำที่สอง คำที่สอง
เหมอื นกนั กด็ ูคำทีส่ าม ไปเร่ือย ๆ เชน่

Tea New England
Ten New York
Tennis Newman
Tense Newspaper

2. คำที่ปรากฏเครื่องหมาย & ให้เรียงเหมือนคำว่า “and” เช่น
England & Canada
England and her colonies
3. คำทีม่ ีการตัดทอนใหส้ ั้นลง โดยใช้เคร่ืองหมาย Apostrophe (‘) เชน่ Who’s หรือ Isn’t ฯลฯ ให้
นับเป็นคำเดียวกัน โดยไมต่ อ้ งคำนึงถึงเครอ่ื งหมาย เช่น
Boy’s book of body
Boys will be boys
4. คำทีข่ ึ้นตน้ ดว้ ย article ให้เรียงตามลำดับตัวอักษรของคำถดั ไป โดยไมค่ ำนึงถึง article และถ้า
article ทีไ่ ม่ใช่คำแรกของชื่อเรื่อง ให้เรยี งตามลำดับอักษรเหมอื นคำทวั่ ไป เชน่
Animus and animal
Between people
A jungian model of adult
5. คำนำหนา้ ชื่อ เชน่ M’ Mc หรอื Mac ให้เรียงตามชือ่ ที่ปรากฏ โดยไมต่ อ้ งคำนึงถึงเคร่อื งหมาย
เช่น
MacArthur
Mcallister
M’ Carthy

การเรียงรายการบรรณานกุ รมกรณีผู้แต่งคนแรกมีช่อื หรอื นามสกุลเหมือนกนั ใช้หลกั เกณฑด์ งั น้ี
1. ผแู้ ตง่ ชาวไทย ชื่อเหมอื นกนั ให้เรียงตามนามสกุล ชาวต่างประเทศนามสกลุ เหมือนกันเรียกตาม

อักษรของชือ่ ต้น และชื่อกลาง เชน่
สมศกั ดิ์ เมธีปกรณ์

สมศกั ดิ์ ศรีมาโนชน์
William, J.
William, T.M.
2. เรียงรายการบรรณานกุ รมที่มีชือ่ ผู้แต่งคนเดียวไว้ก่อนรายการทีม่ ีผแู้ ต่งหลายคน เชน่
สุชา จันทร์เอม
สุชา จันทรเ์ อม, และสรุ างค์ จนั ทร์เอม
Bass, B.M.
Bass, B.M., & Avolio, B.J.

3. รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แต่งเหมอื นกันทุกคน ให้จัดเรียงตามปีที่พิมพ์ เช่น
พวา พนั ธเ์ มฆา. (2538).
พวา พันธเ์ มฆา. (2540).
Hersey, P.& Blanchard, T. (1989).
Hersey, P.& Blanchard, T. (1999).

4. รายการบรรณานกุ รมทีม่ ีช่ือผู้แต่งคนแรกซ้ำกนั ใหเ้ รียงตามชื่อผู้แต่งคนลำดบั ต่อมา เช่น
เกษมสขุ เฉลียวศกั ดิ์, และ วรรณี ลิมอกั ษร
เกษมสุข เฉลียวศักดิ์, และ ศภุ าวดี บุญวงศ์

5. รายการบรรณานกุ รมที่มีชือ่ ผู้แต่งเหมอื นกนั และพิมพใ์ นปีเดียวกัน ใหเ้ รียงตามลำดับอักษร ก,ข
,ค,... หรอื a,b,c,… ทีก่ ำกับไว้หลังปีพิมพ์ เช่น

สธุ ิวงศ์ พงษ์ไพบูลย.์ (2529ก).
สุธิวงศ์ พงษไ์ พบลู ย.์ (2529ข).
Bass, B.M. (1990a).
Bass, B.M. (1990b).
6. รายการบรรณานุกรมที่มีชื่อผู้แตง่ เป็นสถาบัน สมาคม หนว่ ยงาน ใหเ้ รียงตามลำดับอกั ษรตัวแรก
ของชื่อสถาบันทีส่ ะกดเต็ม เชน่
มสธ. คือ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
ส.ต.ง. คอื สำนกั งานตรวจเงนิ แผ่นดิน


Click to View FlipBook Version