The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amfinels4, 2021-07-12 11:10:50

สรุปภาษาจชต

รายงานผลการด าเนินโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร ไตรมาส ๑-๒ ปี 2564


















ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอสุไหงปาดี


ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนราธิวาส

บันทึกข้อความ


ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๐๑๓/ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖4
เรื่อง รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้

กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร


เรียน ผู้อำนวยการศูนย์การศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี


๑.เรื่องเดิม ตามที่ นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี มอบหมายให้นางสาววาทีณี ศรีจรัส ดำเนินการจัดโครงการ
ฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาไทย) ระหว่างวันที่


25-29 มกราคม 2564 และกิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ) ระหว่างวันที่ ๑-๕ กุมภาพนธ์
2564 นั้น

๒.ข้อเท็จจริง ในการนี้ข้าพเจ้า นางสาววาทีณี ศรีจรัส ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ขอรายงาน
การสรุปผลการดำเนินงานดำเนินการจัดโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรม


ฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาไทยและภาษาอังกกฤษ) รายละเอียดเอกสารดังแนบ



๓.ข้อกฎหมาย -



๔.ข้อพิจารณา -


จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ






(นางสาววาทีณี ศรีจรัส)

ครูผู้ช่วย





ทราบ
ข้อเสนอแนะ / ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..............................................................................................


























ลงชื่อ

(นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธิ์)
ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
วันที่ ๒๐ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖4

คำนำ

ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์ติดต่อกันได้ เข้าใจกันได้ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็น


เครื่องช่วยที่ดีที่สุดภาษาเป็นสิ่งช่วยยึดให้มนุษย์มีความผูกพนต่อกัน เนื่องจากแต่ละภาษาต่างกมีระเบียบแบบ


แผนของตน ซึ่งเป็นที่ตกลงกนในแต่ละชาติแต่ละกลุ่มชน การพดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่ทำให้คนรู้สึกว่าเป็น
พวกเดียวกัน มีความผูกพันต่อกันในฐานะที่เป็นชาติเดียวกันภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ และเป็น
ื่
เครื่องแสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอนๆของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของ
ชนชาติต่างๆได้จากศึกษาภาษาของชนชาตินั้นๆภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษากฎเกณฑ์ใน
ภาษาไว้ด้วยอย่างไรก็ตาม กฎเกณฑ์ในภาษานั้นไม่ตายตัวเหมือนกฎวิทยาศาสตร์ แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม

ธรรมชาติของภาษา เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยตามความเห็นชอบของ
ส่วนรวมภาษาเป็นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา


ในการแกปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้รัฐบาลได้จัดทำยุทธศาสตร์ เข้าใจ เข้าถง
พฒนา การใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตร แนวสันติวิธี ส่งเสริมการพดคุยสันติ กับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ


สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชน โดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่
ื้
กับการพฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องความต้องการของประชาชนในพนที่ ซึ่งเป็นพหุสังคม ประกอบ

กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบนโยบายเฉพาะ โดยกำหนดให้ดำเนินการให้เห็นผลภายใน 1 ปี
ื้


เรื่องของการพฒนาการศึกษาในพนที่จังหวัดชายแดนใต้ และสนับสนุนการแก้ปัญหา และพฒนาจังหวัด
ชายแดนใต้ ในเรื่องของการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเพอการศึกษาสมัยใหม่
ื่

เข้ามาประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาการอานภาษาไทยไม่ออก เขียนไม่ได้ ของนักเรียนในพนที่อย่างจริงจัง
ื้
ตลอดจนเน้นเปิดโลกทัศน์ และสร้างความหวังการยึดมั่นในหลักคุณธรรมให้กับประชาชนในพนที่จังหวัด
ื้
ชายแดนภาคใต้ และยังสามารถเสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องกับองค์กรระหว่างประเทศได้

ื่
เพอให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานเป็นไปตามนโยบายดังกล่าว และเป็นกาสนับสนุนการพฒนาการ
เรียนรู้ภาษาไทย ภาษามลายูถิ่น และภาษาองกฤษในพนที่อำเภอสุไหงปาดี กศน.อำเภอสุไหงปาดีจึงจัด

ื้
ื้
ื่
โครงการเพอส่งเสริมการสร้างทัศนคติและแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียนในพนที่ให้มีการสื่อสารด้วยภาษาไทยและ


ภาษาองกฤษเพมเป็นภาษาที่สอง ภาษาที่สาม นอกจากภาษาถิ่น รวมทั้งส่งเสริมนโยบายการพฒนาการใช้สื่อ
ิ่
การเรียนการสอนที่สอดคล้องและตรงตามความ ต้องการของประชาชนในพื้นท ี่






กศน.อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

20 เมษายน 2564

สารบัญ
หน้า

คำนำ
สารบัญ
กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาไทย)
บทนำ 1

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1
กลุ่มเป้าหมาย ๑
วิธีการดำเนินการ ๒
ี่
งบประมาณทได้รับ ๓
ผลการดำเนินโครงการ ๓
ความคิดเห็นเพิ่มเติม ๖
สรุปการวิเคราะห์ ๗

กิจกรรมฝึกภาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาอังกฤษ)
ผลการดำเนินโครงการ ๗
ความคิดเห็นเพิ่มเติม 10
สรุปการวิเคราะห์ 10
ประมวลภาพถ่าย 11

ภาคผนวก





สรุปผลการดำเนินงาน
โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔
บทนำ


ตามที่ รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ เมื่อวันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557 ข้อ 2.2 เร่งแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ โดยทำยุทธศาสตร์ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา การใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตร แนวสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย
สันติ กับผู้มีความคดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่น ในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิ

มนุษยชน โดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องความต้องการของประชาชน
ในพื้นที่ ซึ่งเป็นพหุสังคม ประกอบกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบนโยบายเฉพาะ โดย
กำหนดให้ดำเนินการให้เห็นผลภายใน 1 ปี เรื่องของการพัฒนาการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้และ

สนับสนุนการแก้ปัญหา และพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ในเรื่องของการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยอาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาการอ่านภาษาไทยไม่ออก เขียน
ไม่ได้ ของนักเรียนในพื้นที่อย่างจริงจัง ตลอดจนเน้นเปิดโลกทัศน์ และสร้างความหวังการยึดมั่นในหลัก
คุณธรรมให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และยังสามารถเสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องกับ
องค์กรระหว่างประเทศได้


เพื่อให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานเป็นไปตามนโยบายดังกล่าว และเป็นกาสนับสนุนการพัฒนาการ
เรียนรู้ภาษาไทย ภาษามลายูถิ่น และภาษาอังกฤษในพื้นที่อำเภอสุไหงปาดี ส่งเสริมการสร้างทัศนคติและ
แรงจูงใจให้แก่ผู้เรียนในพื้นที่ให้มีการสื่อสารด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพิ่มเป็นภาษาที่สอง ภาษาที่สาม
นอกจากภาษาถิ่น รวมทั้งส่งเสริมนโยบายการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนการสอนที่สอดคล้องและตรงตามความ
ต้องการ มีการบูรณาการให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของท้องถิ่นและคนในพื้นที่มีการจัดการเรียนรู้โดย

ใช้สามภาษา คือ ภาษาไทย ภาษามลายู และภาษาอังกฤษ เพื่อตอบโจทย์ตามนโยบายด้านการศึกษาดังกล่าว

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์ในการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารด้านการพูดใน
สถานการณ์ต่างๆ
2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอันดี และมีความสัมพันธ์อันดีต่อกันใช้ชีวิตร่วมกันให้เกิดสังคมสันติสุข

3. เพื่อให้ผู้เรียนและผู้เข้าประกวดสามารถสื่อสารภาษาไทยในชีวิตประจำวันได้
กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ

ประชาชนในพื้นที่อำเภอสุไหงปาดี จำนวน 90 คน
ื่
- กิจกรรมฝึกภาษาเพอการสื่อสาร(ภาษาไทย) จำนวน 42 คน
ื่
- กิจกรรมฝึกภาษาเพอการสื่อสาร(ภาษาอังกฤษ) จำนวน 48 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถสื่อสารภาษาไทย และภาษาอังกฤษได้





วิธีดำเนินการ

กลุ่ม
งบ
กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ดำเนินการ ระยะเวลา ประมาณ
(คน)
1.สำรวจกลุ่มเป้าหมาย -เพื่อทราบจำนวนและ บุคลากร กศน. 18 คน พื้นที่อำเภอ 4 -
ความต้องการของ อำเภอสุไหงปาดี สุไหงปาดี มกราคม

กลุ่มเป้าหมาย ๒๕6๔

2.ประชุม /วาง -เพื่อเตรียมความพร้อม บุคลากร กศน. 18 คน กศน.อำเภอ 7 -
แผนการดำเนินงาน/ และประสานเครือข่าย อำเภอสุไหงปาดี สุไหงปาดี มกราคม

ประสานเครือข่าย ในการดำเนินงาน ๒๕6๔

3.เขียนโครงการ/ -เพื่อขออนุมัติโครงการ ผู้รับผิดชอบ 23 คน กศน.อำเภอ 8 -
แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ และงบประมาณในการ โครงการ สุไหงปาดี มกราคม

ขออนุมัติโครงการ ดำเนินงานและแต่งตั้ง ๒๕6๔
คณะทำงานฝ่ายต่างๆ
4.ดำเนินงานตาม - เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนใน 90 คน - กิจกรรมฝึก 25 – 29

โครงการ / กิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจ พื้นที่อำเภอ ภาษาเพอการ มกราคม
ื่
ดังนี้ -เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สุไหงปาดี สื่อสาร ๒๕6๔
- โครงการฝึก สามารถสื่อสาร (ภาษาไทย)
ประสบการณ์การใช้ ภาษาไทยและ ณ.กศน.ตำบล

ภาษาจังหวัดชายแดน ภาษาอังกฤษได้ ปะลุรู 63,040
ภาคใต้ - กิจกรรมฝึก ๑ – ๕
ภาษาเพอการ กุมภาพันธ์
ื่
สื่อสาร ๒๕6๔
(ภาษาอังกฤษ)
ณ.กศน.ตำบล
ปะลุรู
5.นิเทศติดตามผลการ -เพื่อติดตามผลและ เจ้าหน้าที่ 9 คน กศน.ตำบลปะลุรู 25 -

ดำเนินงานตาม พัฒนาการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ อำเภอสุไหงปาดี มกราคม
หลักสูตร ให้มีประสิทธิภาพ โครงการ จังหวัดนราธิวาส -
5

กุมภาพันธ์
256๔
6. ประเมินผล / เพื่อพัฒนาปรับปรุง เจ้าหน้าที่ผู้รับ 6 เล่ม กศน.อำเภอ 8 -
สรุปผลการดำเนินงาน แก้ไขและรายงานผล ผิดชอบ สุไหงปาดี กุมภาพันธ์

การดำเนินงาน โครงการ 256๔





กลุ่ม
งบ
กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ดำเนินการ ระยะเวลา ประมาณ
(คน)
7. รายงานผลการ เพื่อรายงานผลการ เจ้าหน้าที่ผู้รับ 2 คน กศน.อำเภอ 12 -

ดำเนินงานโครงการ ดำเนินงานต่อ ผิดชอบ สุไหงปาดี กุมภาพันธ์
ผู้บังคับบัญชา โครงการ 256๔

งบประมาณที่ได้รับ

แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการบริหาร
จัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ 2000235036700005 โครงการฝึก
ประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายภาคแดนใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร จำนวนเงิน 63,040บาท

(หกหมื่นสามพันสี่สิบบาทถ้วน) ตามรายละเอียดดังนี้
- กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาไทย)
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน × 200 บาท × 25 ชม. จำนวน 5,000 บาท

- ค่าอาหารกลางวัน 42 คน x 70 บาท x 5 มื้อ จำนวน 14,700 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 42 คน x 25 บาท x 10 มื้อ จำนวน 10,500 บาท
รวมทั้งสิ้นเป็นเงินจำนวน 30,20๐ บาท


- กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ)
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน × 200 บาท × 25 ชม. จำนวน 5,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 48 คน x 70 บาท x 5 มื้อ จำนวน 16,800 บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 48 คน x 23 บาท x 10 มื้อ จำนวน 11,040 บาท

รวมทั้งสิ้นเป็นเงินจำนวน 32,840 บาท

หมายเหตุ ทุกรายการถัวเฉลี่ยจ่ายตามที่จ่ายจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาววาทีณี ศรีจรัส ครูผู้ช่วย โทร. 063-0820244 กศน.อำเภอสุไหงปาดี

ผลการดำเนินงาน

1. สภาพการดำเนินงานโครงการ
สภาพการจัดกิจกรรมของโครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึก

ภาษาเพื่อการสื่อสาร เป็นกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้กับ
กลุ่มเป้าหมายในอำเภอสุไหงปาดีโดยมีนางสาวรูซีลา มานะ เป็นวิทยากรให้การอบรมในกิจกรรมฝึกภาษาเพอ
ื่
การสื่อสาร (ภาษาไทย) และนางสาวรุสนานี สะอิ เป็นวิทยากรให้การอบรม- กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร

(ภาษาอังกฤษ)





2. ผลการดำเนินโครงการ
- กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาไทย)
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ

จากผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งสิ้น 42 คน

ตารางที่ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ
ชาย 12 28.57

หญิง 30 71.43
รวม 42 100

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุด เป็นเพศหญิง 30 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43
รองลงมาเป็นเพศชาย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43

ตารางที่ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามอายุ

อายุ จำนวน ร้อยละ

ต่ำกว่า 15 ปี - -
15-39 ปี 30 71.43
40-59 ปี 12 28.57

60 ปีขึ้นไป - -
รวม 42 100

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอายุระหว่าง15-39 ปีจำนวน 30 คน คิดเป็น

ร้อยละ 71.43 และอายุระหว่าง 40-59 ปี จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลำดับ
ตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามระดับการศึกษา


อายุ จำนวน ร้อยละ
ต่ำกว่าประถมศึกษา - -

ประถมศึกษา 12 28.57
มัธยมศึกษาตอนต้น 30 71.43
มัธยมศึกษาตอนปลาย - -

อื่นๆ......................... - -
รวม ๔2 100

จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมโครงการที่ที่อยู่ในช่วงประถมศึกษา จำนวน 12 คน คิดเป็น

ร้อยละ 28.57 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ตามลำดับ





ตารางที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามอาชีพ

อายุ จำนวน ร้อยละ

เกษตรกร 2 4.76
รับจ้าง 13 30.95
ธุรกิจส่วนตัว 14 33.33
อื่นๆ......................... 13 30.95

รวม ๔2 100

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมโครงการที่ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัวจำนวน 14 คน คิด

เป็นร้อยละ 33.33 ประกอบอาชีพรับจ้างจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 30.95 ประกอบอาชีพอื่นจำนวน
13 คน คิดเป็นร้อยละ 30.95 และประกอบเกษตรกรจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 ตามลำดับ


ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ
ผู้ประเมิน ได้แก่ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 42 คน

ตารางที่ 5 สรุปผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ระดับความพึงพอใจ
ประเมินความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

มากที่สุด มาก ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
ด้านวิทยากร
41 - 1
1. วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา - -
(97.61%) (2.38%)
2.วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตร 39 3 - - -

กำหนด (92.86%) (7.14%)
3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของ 26 15 1 - -
วิทยากร (61.90%) (35.71%) (2.38%)

4.เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความ 38 4 - - -

ต้องการของท่านเพียงใด (90.48%) (9.52%)
144 22 2
รวม - -
(85.71%) (13.10%) (1.20%)

ด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา
39 3
5.สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด - - -
(92.86%) (7.14%)
6.จำนวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการ 29 12 1 - -

เรียนเพียงพอเพียงใด (69.05%) (28.57%) (2.38%)





ระดับความพึงพอใจ
ประเมินความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

มากที่สุด มาก ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง

7.ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรม 28 14 - - -

เหมาะสมเพียงใด (66.67%) (33.34%)


96 29 1
รวม
(76.19%) (23.01%) (0.80%)

ด้านความรู้ที่ได้รับ/การนำความรู้ไปใช้
8.ท่านได้รับความรู้/ทักษะ จากการเข้าร่วม 28 14 - - -

โครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด (66.67%) (33.34%)
9.ท่านสามารถนำความรู้/ทักษะที่ได้ ไป 37 5 - - -

ใช้ได้มากเพียงใด (88.10%) (11.90%)
10.ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียม 29 12 1 - -

กันเพียงใด (69.04%) (28.57%) (2.38%)
11.ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลา และความ 39 3 - - -
ตั้งใจเพียงใด (92.88%) (7.14%)

29 13
12.ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด - - -
(69.05%) (30.95%)
162 47 1
รวม - -
(77.14%) (22.39%) (0.48%)

402 98 4
เฉลี่ยในภาพรวม - -
(79.76%) (19.44%) (0.79%)

จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อย

ละ 79.76อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 19.44และอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.79 ตามลำดับ


ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเพิ่มเติม
ความคิดเห็นเพิ่มเติมของผู้เข้าร่วมโครงการ สรุปได้ดังนี้

1. สิ่งดีๆ / ความประทับใจดีๆ ที่ได้รับจากการได้เข้าร่วมกิจกรรม กศน. ได้แก ่
- เข้าใจภาษาไทยมากขึ้น

- เป็นความรู้ที่ดีมาก สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- วิทยากรเป็นกันเองสามารถอธิบายเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
- มีคู่มือการอบรมทำให้สามารถเข้าใจสิ่งที่วิทยากรนำเสนอได้ดียิ่งขึ้น

2. ปัญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ เพอการพัฒนา ปรับปรุงการจัดกิจกรรม กศน. ได้แก ่
ื่

- เพิ่มเกมส์ทำให้รู้สึกสนุกกับการเรียนรู้





สรุปการวิเคราะห์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะของโครงการ มีดังนี้
1. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรมในครั้งนี้
โครงการนี้ เป็นไปในลักษณะการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านภาษาไทยเพื่อฝึกทักษะด้านการสื่อสาร

มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ฝึกทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

2. จุดที่ควรพัฒนาของแผนงาน /โครงการ
ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ต่อเนื่อง จัดกลุ่มเป้าหมายให้มีความหลากหลายในช่วงอายุต่างๆ ให้มากขึ้น

และมีระยะเวลาในการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม ตรงความต้องการของผู้ร่วมกิจกรรม
3.ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแผนงาน / โครงการ

พัฒนาหลักสูตรเพิ่มเติม ให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้ตรงกับ
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ตามสถานการณ์ต่างๆ และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
๔. ผลการดำเนินโครงการ

- กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร (ภาษาอังกฤษ)
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ

จากผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งสิ้น 4๘ คน

ตารางที่ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ
ชาย 1๕ 31.25
หญิง 33 68.75

รวม 48 100

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุด เป็นเพศหญิง 3๓ คน คิดเป็นร้อยละ 68.75

รองลงมาเป็นเพศชาย 1๕ คน คิดเป็นร้อยละ 31.25

ตารางที่ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามอายุ


อายุ จำนวน ร้อยละ
ต่ำกว่า 15 ปี - -

15-39 ปี 3๓ 68.75
40-59 ปี 1๕ 31.25

60 ปีขึ้นไป - -
รวม 42 100

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอายุระหว่าง15-39 ปีจำนวน 3๓ คน คิดเป็น

ร้อยละ 68.75และอายุระหว่าง 40-59 ปี จำนวน 1๕ คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 ตามลำดับ





ตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามระดับการศึกษา

อายุ จำนวน ร้อยละ

ต่ำกว่าประถมศึกษา - -
ประถมศึกษา 12 25
มัธยมศึกษาตอนต้น 30 62.5
มัธยมศึกษาตอนปลาย 6 12.5

อื่นๆ......................... - -
รวม 48 100

จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมโครงการที่ที่อยู่ในช่วงประถมศึกษา จำนวน 12 คน คิดเป็น
ร้อยละ 25 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ตามลำดับ

ตารางที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการ จำแนกตามอาชีพ


อายุ จำนวน ร้อยละ
เกษตรกร 4 8.33

รับจ้าง 15 31.25
ธุรกิจส่วนตัว 16 33.33
อื่นๆ......................... 13 27.08

รวม 48 100

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้เข้าร่วมโครงการที่ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัวจำนวน 16 คน คิด
เป็นร้อยละ 33.33ประกอบอาชีพรับจ้างจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 ประกอบอาชีพอื่นจำนวน

13 คน คิดเป็นร้อยละ 27.08 และประกอบเกษตรกรจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ตามลำดับ

ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ
ผู้ประเมิน ได้แก่ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 4๘ คน

ตารางที่ 5 สรุปผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ระดับความพึงพอใจ
ประเมินความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

มากที่สุด มาก ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
ด้านวิทยากร
4๔ - 4
1. วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา - -
(91.66%) (8.33%)

2.วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตร 40 ๘ - - -
กำหนด (83.33%) (16.67%)





ระดับความพึงพอใจ
ประเมินความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

มากที่สุด มาก ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 26 1๖ 6 - -
ของวิทยากร (54.17%) (33.33%) (12.5%)

4.เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความ 42 6 - - -
ต้องการของท่านเพียงใด (87.5%) (12.5%)

1๕๒ ๓๐ 10
รวม - -
(79.17%) (15.63%) (20.83%)

ด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา
42 6
5.สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด - - -
(87.5%) (12.5%)
6.จำนวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการ 31 14 3
เรียนเพียงพอเพียงใด (6๔.๕๘%) (๒๙.๑๗%) (6.25%) - -


7.ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรม 31 17

เหมาะสมเพียงใด (6๔.๕๘%) (3๕.๔๒%) - - -


104 37 3
รวม
(๗๒.๒๒%) (2๕.๖๙%) (๒.๐๘%)
ด้านความรู้ที่ได้รับ/การนำความรู้ไปใช้
8.ท่านได้รับความรู้/ทักษะ จากการเข้า 31 1๗ - - -


ร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพยงใด (6๔.๕๘%) (3๕.๔๒%)
9.ท่านสามารถนำความรู้/ทักษะที่ได้ ไป 40 ๘

ใช้ได้มากเพียงใด (83.33%) (16.67%) - - -
10.ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่า 31 14 3 - -

เทียมกันเพียงใด (64.58%) (29.17%) (6.25%)
11.ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลา และ 42 6

ความตั้งใจเพียงใด (87.5%) (๑2.5%) - - -
32 16
12.ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด - - -
(66.67%) (33.33%)
176 61 3
รวม - -
(77.14%) (22.39%) (0.48%)
432 128 16
เฉลี่ยในภาพรวม - -
(75%) (22.22%) (2.78%)

๑๐




จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อย
ละ 75 อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.22 และอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.78ตามลำดับ

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเพิ่มเติม
ความคิดเห็นเพิ่มเติมของผู้เข้าร่วมโครงการ สรุปได้ดังนี้
1. สิ่งดีๆ / ความประทับใจดีๆ ที่ได้รับจากการได้เข้าร่วมกิจกรรม กศน. ได้แก ่

- วิทยากรน่ารักเป็นกันเอง สอนเข้าใจสอนสนุก
- มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น

- มีเกมส์มีสื่อการสอนทำให้การ้รียนสนุกขึ้น

2. ปัญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ เพอการพัฒนา ปรับปรุงการจัดกิจกรรม กศน. ได้แก ่
ื่
- สถานที่คับแคบ

สรุปการวิเคราะห์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะของโครงการ มีดังนี้

1. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรมในครั้งนี้
โครงการฝึกประสบการณ์การการใช้ภาษาจังหวัดชายแดนใด้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร

(ภาษาอังกฤษ) เป็นกิจกรรมในลักษณะการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อฝึกทักษะด้านการ
สื่อสาร ความกล้าแสดงออก กล้าพูด กล้าออกเสียงในภาษาที่ไม่ใช่ภาษาถิ่นแต่มีความจำเป็นยิ่งในการใช้
ชีวิตประจำวัน กิจกรรมนี้มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในการประกอบอาชีพและ

ในชีวิตประจำวันเน้นการสร้างทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียนเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้

2. จุดที่ควรพัฒนาของแผนงาน /โครงการ
เพิ่มความหลากหลายของสื่อและกิจกรรมที่สนุกสนานในบางช่วงของการจัดกิจกรรม

3.ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแผนงาน / โครงการ
ปรับปรุงหลักสูตรให้ครอบคลุม หลากหลาย เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถการนำไปใช้ได้ดียิ่งขึ้น



ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา)

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................


ลงชื่อ............................... .............................................
(นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธิ์)



ผู้อำนวยการศูนย์การศกษานอกระบบและการศกษาตามอธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี

วันที่.............เดือน...........................................พ.ศ..................

๑๑



โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาไทย)
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ระหว่างวันที่ 25- 2๙ มกราคม 256๔






















ผอ.กศน.อำเภอสุไหงปาดี เป็นประธานในพิธีเปิด ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวรายงานต่อประธาน






















กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้

๑๒



โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาไทย)
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ระหว่างวันที่ 25- 2๙ มกราคม 256๔




















กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้























กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้

๑๓



โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาไทย)
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ระหว่างวันที่ 25- 2๙ มกราคม 256๔






















ผู้อำนวยการกศน.อำเภอสุไหงปาดีนิเทศติดตามการจัดกิจกรรม





















ผู้อำนวยการกศน.อำเภอสุไหงปาดีนิเทศติดตามการจัดกิจกรรม

๑๔



โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาอังกฤษ)
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ระหว่างวันที่ ๑ - ๕ กุมภาพันธ์ 256๔






















ผอ.กศน.อำเภอสุไหงปาดี เป็นประธานในพิธีเปิด

























กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้

๑๕





โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาอังกฤษ)
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ระหว่างวันที่ ๑ - ๕ กุมภาพันธ์ 256๔




















กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้























กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้

๑๖



โครงการฝึกประสบการณ์การใช้ภาษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมฝึกภาษาเพื่อการสื่อสาร(ภาษาอังกฤษ)
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ระหว่างวันที่ ๑ - ๕ กุมภาพันธ์ 256๔




















ผู้อำนวยการกศน.อำเภอสุไหงปาดีนิเทศติดตามการจัดกิจกรรม














ผู้อำนวยการกศน.อำเภอสุไหงปาดีนิเทศติดตามการจัดกิจกรรม


Click to View FlipBook Version