The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิถีไทยและเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by monchayaopanont, 2022-09-14 08:37:29

วิถีไทยและเศรษฐกิจพอเพียง

วิถีไทยและเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการอันเนื่อง
มาจากพระราชดำริ

Royally initiated project

วิถีไทยและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คำนำ

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรได้เสด็จพระราชดำเนิน
เยี่ยมเยียนประชาชนชาวไทยทุกภูมิภาคของประเทศโดยได้พระราชทานพระราชดำริให้ส่วน
รายการต่างๆดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเพื่อช่วยเหลือประชาชนทุกหมู่
เหล่าซึ่งทุกโครงการล้วนมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือ " ความอยู่ดีกินดีและความผาสุก" ของ
ประชาชนทั้งสิ้น

คณะผู้จัดทำในฐานะประชาชนชาวไทยดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริได้
เล็งเห็นความสำคัญของการบริหารจัดการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในด้านต่างๆ
ตลอดจนความจำเป็นในการรวบรวมฐานข้อมูลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ถูกต้อง
ครบถ้วนและสมบูรณ์คณะกรรมจัดทำหนังสือเล่มนี้จึงขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

คณะผู้จัดทำ


นักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร

สารบัญ บทที่ 1
หน้า 1

บทที่ 2 บทที่ 3
หน้า 4 หน้า 7

บทที่ 4 บทที่ 5
หน้า 10 หน้า 13

บทที่ 6 บทที่ 7
หน้า 16 หน้า 19

บทที่ 8 บทที่ 9
หน้า 22 หน้า 25

บทที่ 10 บทที่ 11
หน้า 28 หน้า 31

บทที่ 1

โครงการแกล้งดิน

แกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว



จะทำด้วยการขังน้ำไว้ในพื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจนทำให้ดินเปรี้ยว
จัด เมื่อถึงที่สุดแล้ว จะมีการระบายน้ำออกแล้วปรับสภาพดินด้วยปูนขาว
จนกระทั่งสามารถใช้ดินในการเพาะปลูกได้

ผู้จัดทำ

บทที่ 1

น.ส.วรัญญา ยุพาพงษ์ 067

บทที่ 2

โครงการปลูกหญ้าแฝก

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้ทรงศึกษาเรื่องการ
ใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ำจากเอกสารของธนาคารโลก ที่นาย Richard
Grimshaw ได้ทูลเกล้าฯ ถวาย และพระองค์ได้พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับ
หญ้าแฝก โดยให้ทรงทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดินจน
ปัจจุบันมีหน่วยงานกว่า 50 หน่วยงาน ดำเนินงานสนองพระราชดำริการพัฒนา
และรณรงค์การใช้หญ้าแฝกส่งผลให้การดำเนินงานก้าวหน้ามากขึ้นตามลำดับ

ผู้จัดทำ

บทที่ 2

น.ส.กรชนก วงษ์แก้ว 092

บทที่ 3

โครงการหน่วยแพทย์
พระราชทาน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล
อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระราชทาน
โครงการแพทย์หลวงพระราชทาน
เมื่อปีพ.ศ. 2510 โดยที่มีการจัดเจ้า
หน้าที่แพทย์ พยาบาล เครื่องมือ
เครื่องใช้ เพื่อตรวจรักษาราษฎรใน
ถิ่นทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่า และ
อบรมหมอหมู่บ้านเพื่อแก้ไขปัญหา
สุขภาพของประชาชน

ผู้จัดทำ

บทที่ 3

น.ส.ดลยา ปาวรีย์ 062

บทที่ 4

โครงการสารานุกรมไทย
สำหรับเยาวชน

พโรคะรบงากทาสรมสเดา็จราพนรุกะเรจม้าแไอทลยยะู่บหสัาวำงหภูสรม่ัิวบพนเลยไอดา้วดเผุชลยนยแเไดพด้ชรจ่ัอรดัอชทกนำาไขึล้ลนนทต์ี่ า9มโพดรยะจรัดาขชึ้นปเรป็ะนสรงูปค์เใลน่ม








อันรวบรวมเนื้อหาจากหลาย
สาขาวิชา โดยที่ฉบับปกติมี
ทั้งหมด 37 เล่ม และฉบับเสริม
การเรียนรู้มีทั้งหมด 20 เล่ม

ผู้จัดทำ

บทที่ 4

น.ส.นภาพร สุขเกษม 085

บทที่ 5

ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล

พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพล
อดุลยเดช รัชกาลที่ 9
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม
พระราชทานพระราช
ทรัพย์ส่วนพระองค์จัด
ตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล
ในปี พ.ศ. 2502 เพื่อให้
นิสิตนักศึกษาที่มีผลการ
เรียนดีเด่น ได้มีโอกาสไป
ศึกษาหาความรู้ชั้นสูงใน
ต่างประเทศ และนำองค์
ความรู้ที่ได้มาช่วยพัฒนา
ประเทศต่อไป

ผู้จัดทำ

บทที่ 5

น.ส.ปาริฉัตร สุวิเวก 091

บทที่ 6

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
เกษตรทฤษฎีใหม่

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานแนว
พระราชดำริเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอ
เพียงในขั้นต้น โดยการทำเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นได้แก่ ขั้นต้น คือ
การแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตรา 30-30-30-10 เพื่อขุดเป็นสระกักเก็บน้ำ
30% ปลูกข้าวในฤดูฝน 30% ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผักสมุนไพร 30% และเป็น

ที่อยู่อาศัยอีก 10%

จากนั้นจึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง คือการให้เกษตรกรรวมกันในรูปแบบ
ของกลุ่ม สหกรณ์ เพื่อดำเนินการในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่
สวัสดิการ การศึกษา จากนั้นจึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม คือการติดต่อ
ประสานงาน จัดหาแหล่งเงินทุน เพื่อใช้ลงทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป

ผู้จัดทำ

บทที่ 6

นาย กฤตมุข บุญจันทร์ 056

บทที่ 7

โครงการส่ วนพระองค์
สวนจิตรลดา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
ได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างโครงการอันหลาก
หลายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งแบ่งออก

เป็น 2 ประเภทคือ โครงการแบบไม่ใช่ธุรกิจ เพื่อพัฒนา
ประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และโครงการกึ่ง
ธุรกิจ อาทิ โรงโคนมสวนจิตรลดา, โรงนมผงสวนดุสิต, น้ำ

ผึ้งสวนจิตรลดา เป็นต้น

ผู้จัดทำ

บทที่ 7

นาย สิทธิศักดิ์ ปั้นนิ่ม 102

บทที่ 8

โครงการฝนหลวง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำริส่วน
พระองค์ในเรื่องการจัดทำฝนหลวง เพื่อบรรเทาปัญหาขาดแคลนน้ำใน

การเกษตร โดยมีการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนหลวงขึ้น ซึ่งจะใช้สารเคมีโปรย
ในท้องฟ้า จนกระทั่งไอน้ำอิ่มตัวและกลั่นตัวออกมากลายเป็นเม็ดฝน

ผู้จัดทำ

บทที่ 8

น.ส.เบญญาภา ทองมี 084

บทที่ 9

กังหันน้ำชัยพัฒนา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้มี
พระราชดำริให้มูลนิธิชัยพัฒนา
ดำเนินการวิจัย และพัฒนากังหัน
น้ำชัยพัฒนาขึ้น เพื่อบำบัดน้ำเสีย
ด้วยวิธีการเติมอากาศ ทำให้น้ำ
เสียกลายเป็นน้ำดี และสามารถ
ประยุกต์ใช้ในการอุปโภคบริโภค
ของประชาชน น้ำเสียจากโรงงาน
อุตสาหกรรม และเพิ่มออกซิเจน
ให้บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทางการ

เกษตร

ผู้จัดทำ

บทที่ 9

น.ส.ภคพร เเก้วเขียว 061

บทที่ 10

โครงการพระราชดำริปางตอง 2
หรือ ปางอุ๋ง

เป็นโครงการในพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงเล็งเห็นว่า พื้นที่
บริเวณนี้อยู่ติดกับแนวชายแดนประเทศเมียนมาร์ ซึ่งเป็นพื้นที่อันตราย เพราะมี
กองกำลังต่างๆ มีการขนส่งอาวุธ ปลูกพืชเสพติด รวมถึงบุกรุกทำลายป่าไม้อยู่
เสมอ จึงโปรดให้รวบรวมราษฎรบริเวณนี้ โดยมีพระราชประสงค์เพื่อสร้างความ
มั่นคงตามแนวชายแดน พร้อมพัฒนาความเป็นอยู่ สร้างอ่างเก็บน้ำ และฟื้นฟู
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์อย่างยั่งยืน ราษฎรจึงมีความเป็นอยู่ที่ดี

ขึ้นนับจนถึงปัจจุบันปัจจุบัน

ปางอุ๋ง เป็นหนึ่งในสถานที่
ท่องเที่ยวอันดับต้นๆ ของ
จ. แม่ฮ่องสอน เนื่องจากมี
บรรยากาศโรแมนทิคแทบ
ทุกพื้นที่ ทิวสนสูงใหญ่ เมื่อ
ตัดกับผืนน้ำช่างงดงามยิ่ง
นัก ปางอุ๋ง จึงได้รับขนาน

นามว่าเป็น "สวิทเซอร์
แลนด์แห่งเมืองไทย"

ไฮไลท์อยู่ที่บรรยากาศยามเช้า จะมีไอหมอกจางๆ ลอยขึ้นเหนือผืนน้ำ มีหงษ์สี
ดำ/ขาวมากมาย ซึ่งทางโครงการฯ เลี้ยงไว้ ต่างเล่นน้ำแหวกว่ายชูคออย่าง

มีความสุข

ผู้จัดทำ

บทที่ 10

น.ส.ชนิดาภา พุ่มพวง 090

บทที่ 11

โครงการโรงงานสกัดน้ำมันพืช
และผลิตไบโอดีเซลครบวงจร

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชดำริให้สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา
ประสานกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อจัดทำโครงการเกี่ยวกับปาล์มน้ำมัน
และพืชพลังงานทดแทน ประกอบด้วย โครงการจัดสร้างโรงงานสกัดน้ำมันพืช
และผลิตไบโอดีเซลครบวงจร โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านไบโอดีเซล
เพื่อการแข่งขัน โครงการวิจัยทดสอบการใช้น้ำมันปาล์มดิบและไบโอดีเซลใน

เครื่องยนต์ดีเซล และโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จาก
อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน

ผู้จัดทำ

บทที่ 10

น.ส.จิตราภา คงฉิม 081

ผู้จัดทำ

นักศึกษาปี 1 สาขานิเทศฯ หมู่ 2 #065

วรัญญา ยุพาพงษ์ 067
กรชนก วงษ์แก้ว 092
ดลยา ปาวรีย์ 062
นภาพร สุขเกษม 085
ปาริฉัตร สุวิเวก 091
กฤตมุข บุญจันทร์ 056
สิทธิศักดิ์ ปั้นนิ่ม 102
เบญญาภา ทองมี 084
ภคพร เเก้วเขียว 061
ชนิดาภา พุ่มพวง 090
จิตราภา คงฉิม 081


Click to View FlipBook Version