The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานภาวะฯ ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง แก้ไข 17 ก.พ.65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by planning.zone7, 2022-07-11 04:28:27

รายงานภาวะฯ ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง แก้ไข 17 ก.พ.65

รายงานภาวะฯ ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง แก้ไข 17 ก.พ.65

รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ภาคกลาง

ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

ROAE Outlookภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับ
หน้า ปีท่ีผ่านมา เป็นผลมาจากสาขาพืชซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 49.5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
1. ภาพรวมเศรษฐกจิ ภาคกลาง……….....….…..2
2. ปจั จัยท่เี กย่ี วข้องกบั การผลิตภาคเกษตร.....3 ภาคเกษตร ขยายตัวร้อยละ 1.2 จากปริมาณผลผลิตข้าว มันสาปะหลังโรงงาน
สบั ปะรดโรงงาน และข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ เพม่ิ ข้ึน สง่ ผลใหส้ าขาบริการทางการเกษตร
2.1 สถานการณ์น้า
2.2 สถานการณภ์ ัยธรรมชาติ และโรคแมลง ขยายตัว ร้อยละ 1.1 สาขาป่าไม้ขยายตัวรอ้ ยละ 1.8 เน่ืองจากกิจกรรมการปลูกป่า
ศตั รพู ชื ระบาด
และตัดไม้เศรษฐกิจเพื่อจาหน่ายมากขึ้น ประกอบกับการเก็บผลผลิตรังนก
2.3 ราคาน้ามนั ท่ีมีคุณภาพ และการเก็บหาผลิตภัณฑ์จากป่า ส่วนสาขาปศุสัตว์ หดตัวร้อยละ 0.3
3. เครอ่ื งชภี าวะเศรษฐกิจการเกษตรภาคกลาง...4

4. ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตร ปี 2563.............6 จากการลดลงของปริมาณผลผลติ สกุ ร ซึง่ เปน็ สินค้าเกษตรท่ีสาคญั ของสาขาปศุสัตว์
สาขาพืช และสาขาประมง หดตัวร้อยละ 3.1 เม่ือเทียบกับปีที่ผ่านมา จากการลดลงของ
สาขาปศุสตั ว์
ปริมาณผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม เน่ืองจากเกษตรกรลดพ้ืนที่เพาะเล้ียง และชะลอ
สาขาประมง

สาขาบริการทางการเกษตร การลงลูกกงุ้ ปัจจัยสา้ คัญท่ีส่งผลดีตอ่ ภาคเกษตร คือ ปรมิ าณน้าฝนท่ีเพิ่มขึ้นต้งั แต่
สาขาป่าไม้ ปลายปี 2563 ต่อเนื่องถึงปี 2564 ทาให้ปริมาณน้ามีเพียงพอสาหรับการเพาะปลูก
5. แนวโนม้ ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564..12

สาขาพชื รวมถึงสภาพอากาศท่ีเอื้ออานวยต่อการเจริญเติบโตของพืช ทาให้เกษตรกรขยาย
สาขาปศุสตั ว์ พ้ืนที่และทาการเพาะปลูกเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรของปี 2564
สาขาประมง
เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรลดลง
สาขาบริการทางการเกษตร

สาขาป่าไม้ ร้อยละ 1.2 ส่วนดัชนีรายไดภ้ าคเกษตรเพิม่ ขนึ้ ร้อยละ 0.6
ตารางท่ี 1 อัตราการเตบิ โตของผลติ ภัณฑ์

มวลรวมภาคเกษตร ภาคกลาง....13 แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2565 คาดว่าจะมีการขยายตัว
ตารางท่ี 2 ผลผลิตสนิ คา้ เกษตรทส่ี า้ คัญ
(ปีปฏิทนิ )…………….……............. 13 อยู่ในช่วงร้อยละ 1.0 - 2.0 โดยสาขาพืชคาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ
ตารางท่ี 3 ราคาสนิ คา้ เกษตรท่เี กษตรกร
ขายได้..............…………..……...... 14 2.5 – 3.5 สาขาปศุสัตว์ คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5 – 1.5 สาขาประมง

คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.0 – 1.0 สาขาบริการทางการเกษตรคาดว่าจะ

ขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 3.1 – 4.1 และสาขาป่าไม้ คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วง

ร้อยละ 0.5 – 1.5 ส้าหรับปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนให้ภาคเกษตรขยายตัว ได้แก่

สภาพอากาศท่ีเอ้ืออานวยต่อการทาการเกษตร และปริมาณฝนท่ีมีมากข้ึน

ทาให้คาดว่าจะมีปริมาณน้าเพียงพอสาหรับการเพาะปลูก ประกอบกับภาครัฐมี

นโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรและการดาเนินนโยบายด้านการเกษตรที่

ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องติดตามสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเกษตร

เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพภมู ิอากาศท่อี าจทาให้เกิดความแปรปรวนของสภาพ

อากาศและภัยธรรมชาติ การระบาดของโรคพืชและสัตว์ สถานการณ์การแพร่

ระบาดของโควิด-19 ราคาน้ามันดิบที่มีทิศทางปรับตัวสูงขึ้น ล้วนเป็นปัจจัย

ที่จะสง่ ผลกระทบตอ่ การผลิตภาคเกษตรในทศิ ทางทด่ี ีขนึ้ หรือหดตัวลง

จัดทาโดย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 และ 10

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง

1. ภาพรวมเศรษฐกิจภาคกลาง
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค ณ ราคาประจาปี ของภาคกลาง ปี 2562 มมี ูลค่า 3,723,612 ล้านบาท ประกอบด้วย

ภาคเกษตร มูลค่า 224,546 ลา้ นบาท และนอกภาคเกษตร มูลคา่ 3,499,066 ล้านบาท โดยมสี าขาการผลิตเปน็ สาขาหลัก
ในการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ของภาค คดิ เป็นสัดสว่ นร้อยละ 43.4 รองลงมา คือ สาขาการขายสง่ และการขายปลีก
มสี ัดส่วนรอ้ ยละ 14.2 สาขาการขนส่งและการเก็บรักษามีสัดสว่ นรอ้ ยละ 7.2 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง
มีสัดสว่ นร้อยละ 6.0 สาขาการเงนิ และการประกันภัยมีสัดสว่ นร้อยละ 3.9 และสาขาอน่ื ๆ มีสดั สว่ นรวมกันรอ้ ยละ 25.3

โครงสร้างการผลิตทางการเกษตรท่ีสาคัญของภาคกลาง ในปี 2564 ได้แก่ สาขาพืช ซ่ึงมีสัดส่วนถึงร้อยละ
49.5 ของผลิตภัณฑ์ภาค ภาคเกษตร หรือ GRP ภาคเกษตร รองลงมา คือ สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง สาขาบริการ
ทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.1 21.0 3.3 และ 0.1 ตามลาดบั

ทมี่ า: สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 และ 10 และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2. ปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลิตภาคเกษตร
2.1 สถานการณน์ ้า
 ปริมาณน้ าในอ่างเก็บน้าสาคัญ

ของภาคกลาง ปี 2564 ณ วันท่ี 1 มกราคม 2564
มีปริมาตรเท่ากับ 29,582 ล้านลูกบาศก์เมตร ลดลง
จากปีที่ผา่ นมาซ่ึงมีปริมาณ 33,193 ล้านลูกบาศก์เมตร
หรือลดลงรอ้ ยละ 10.9

ท่มี า: กรมชลประทาน

2

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

 จานวนวันฝนตกในภาคกลาง วัน จา้ นวนวัน นตก
ปี 2564 เฉลี่ย 134 วัน เพิ่มขึ้นจากปีท่ีผ่านมา
ซึ่งอยทู่ ่ี 121 วัน หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 10.7 ในขณะท่ี 170 147 134
ปริมาณน้าฝนมีปริมาณ 1,151 มิลลิเมตร เพ่ิมข้ึน 106 121
จากปีที่ผ่านมาที่มีปริมาณ 1,030 มิล ลิเม ต ร 150 140
หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 11.8 130

110

90

70 2561 2562 2563 2564
256

ทมี่ า: กรมอตุ ุนิยมวิทยา

2.2 สถานการณภ์ ัยธรรมชาติ และโรคแมลงศัตรพู ชื ระบาด

1) ช่วงปี 2564 มีพายุที่ส่งอิทธิพลต่อประเทศไทยหลายลูก ทาให้มีฝนตกหนักต่อเนื่อง เกิดน้าท่วมในหลายพ้ืนท่ี
2) สถานการณ์การระบาดของโรคพืช แมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลทาลายต้นข้าว โรคใบด่าง
มันสาปะหลัง หนอนกระทู้ในข้าวโพดลายจุด และหนอนกออ้อย ซ่ึงเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องได้ลงพ้ืนท่ีติดตามสถานการณ์
และใหค้ าแนะนา สามารถควบคมุ การระบาดในพ้ืนทไี่ ด้
3) กรมปศุสัตว์มีการเตรียมความพร้อมรับมือ เพ่ือเฝ้าระวังป้องกันการระบาดของโรคปากเท้าเป่ือย (FMD)
โรคเพิรธ์ (PRRS) รวมทงั้ โรคอหวิ าหแ์ อฟริกาในสุกร (ASF) อย่างเขม้ งวดมากขน้ึ

2.3 ราคานา้ มนั
ในปี 2564 ราคาน้ามันแก๊สโซฮอล์ 95 ของภาคกลาง เฉล่ียอยู่ท่ี 28.81 บาทต่อลิตร เพิ่มข้ึนร้อยละ 31.3

จากปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ 21.94 บาทต่อลิตร ขณะท่ีราคาน้ามันดีเซล เฉล่ียอยู่ที่ 27.88 บาทต่อลิตร เพ่ิมข้ึนร้อยละ 25.6
จากปีท่ีผ่านมา ซ่ึงอยู่ท่ี 22.20 บาทต่อลิตร เนื่องจากการปรับตัวของราคาน้ามันในตลาดโลกสูงขึ้น จากความต้องการ
ใช้พลังงานทั่วโลกเพิ่มขึ้น และปัจจัยค่าเงินบาทที่อ่อนตัวลง ส่งผลกระทบต่อราคาขายปลีกน้ามันในประเทศ
ซง่ึ น้ามนั เป็นปัจจยั การผลติ จงึ มีผลต่อต้นทนุ การผลติ ทางการเกษตร

บาท ลิตร ราคาน้ามัน

34
32
30 28.95 28.81
28 28.31 27.85 27.88
26 25.31 26.62
2564
24 25.64 21.94
22 22.20
20
18 2563

256 2561 2562

ทม่ี า: ค้านวณจากข้อมูลของบรษิ ทั ปตท. จ้ากดั (มหาชน)

3

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

3. เครอื่ งชภี าวะเศรษฐกจิ การเกษตร ภาคกลาง
3.1 ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ในปี 2564 อยู่ที่ระดับ 152.8 เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.4 จากปีท่ีผ่านมา ซ่ึงอยู่ที่ระดับ

152.2 ส่วนดัชนีราคาท่ีเกษตรกรขายได้อยู่ท่ีระดับ 126.3 ลดลงร้อยละ 1.2 จากปีท่ีผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ระดับ 127.8
ส่งผลให้ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกรอยู่ท่ีระดับ 196.4 เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 0.6 จากปที ี่ผา่ นมา ซ่ึงอยทู่ รี่ ะดบั 195.3

ดัชนผี ลผลติ สินคา้ เกษตร ดชั นีราคาท่เี กษตรกรขายได้ และดัชนรี ายได้เกษตรกร

210.0 176.4 185.1 193.1 195.3 196.4
190.0

170.0 159.8 158.8 152.2 152.8
150.0 146.7 121.6 127.8 126.3

130.0 120.3 115.9

110.0 ดชั นผี ลผลิตสินคา้ เกษตร

90.0 ดชั นรี าคาทเ่ี กษตรกรขายได้

70.0 ดัชนรี ายได้เกษตรกร
50.0

256 2561 2562 2563 2564

ที่มา: ส้านักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 7 และ 10

3.2 ดชั นีผลผลิตสาขาพชื ในปี 2564 อยู่ท่ีระดับ 90.7 เพิม่ ข้ึนร้อยละ 2.6 จากปีทผ่ี ่านมา ซ่ึงอยู่ทร่ี ะดับ 88.4
ขณะท่ีดัชนีราคาสินค้าพืชที่เกษตรกรขายได้อยู่ที่ระดับ 133.4 ลดลงร้อยละ 3.8 จากปีท่ีผ่านมา ซ่ึงอยู่ท่ีระดับ 138.7
สง่ ผลให้ดัชนีรายไดเ้ กษตรกรสาขาพืชอยูท่ ร่ี ะดบั 121.3 ลดลงร้อยละ 1.1 จากปีทผ่ี ่านมา ซึ่งอยทู่ ่ีระดบั 122.6

ดัชนผี ลผลติ สนิ คา้ เกษตร ดชั นรี าคาทเี่ กษตรกรขายได้ และดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร สาขาพืช

150.0 142.1 138.7 133.4
140.0 133.6 122.6 121.3

130.0 120.3122.4 119.9118.5 120.9
120.0 110.5

110.0 101.8
100.0
88.4 90.7
90.0 2563 2564 ดัชนผี ลผลติ สินค้าเกษตร
ดชั นรี าคาท่ีเกษตรกรขายได้
80.0 ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร

70.0

60.0

50.0 2561 2562
256

ท่ีมา: ส้านักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 7 และ 10

4

ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

3.3 ดชั นีผลผลติ สาขาปศุสัตว์ ในปี 2564 อยทู่ ร่ี ะดบั 227.2 ลดลงร้อยละ 0.6 จากปที ่ผี ่านมา ซ่ึงอยทู่ ่ีระดับ 228.6
ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าปศุสัตว์ท่ีเกษตรกรขายได้อยู่ท่ีระดับ 130.7 ลดลงร้อยละ 0.1 จากปีที่ผ่านมา ซ่ึงอยู่ท่ีระดับ
130.8 ส่วนดัชนีรายได้เกษตรกรสาขาปศุสัตว์อยู่ท่ีระดับ 296.9 ลดลงร้อยละ 1.4 จากปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ท่ีระดับ
301.1

ดชั นีผลผลติ สนิ คา้ เกษตร ดัชนรี าคาทเี่ กษตรกรขายได้ และดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร สาขาปศสุ ัตว์

350.0

300.0 280.7 301.1 296.9
245.5 249.3
250.0 228.6 227.2 ดัชนผี ลผลติ สินค้าเกษตร
200.1 210.1 218.7

200.0 ดชั นีราคาท่ีเกษตรกรขายได้

150.0 122.7 118.7 128.4 130.8 130.7 ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร

100.0

50.0
256 2561 2562 2563 2564

ทม่ี า: สา้ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 7 และ 10

3.4 ดชั นีผลผลติ สาขาประมง ในปี 2564 อย่ทู ี่ระดับ 128.0 ลดลงร้อยละ 0.3 จากปีทผี่ ่านมา ซง่ึ อยู่ที่ระดับ 128.4
ขณะท่ีดัชนีราคาสินค้าประมงท่ีเกษตรกรขายได้อยู่ท่ีระดับ 76.1 เพ่ิมขึ้นร้อยละ 0.9 จากปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ระดับ
75.4 ส่วนดัชนีรายได้เกษตรกรสาขาประมงอยู่ท่ีระดับ 112.9 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 16.6 จากปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ท่ีระดับ
96.8

ดชั นผี ลผลิตสนิ คา้ เกษตร ดชั นีราคาท่ีเกษตรกรขายได้ และดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร สาขาประมง

170.0 157.4

150.0 133.5 132.6 131.0 133.6 128.4 128.0
130.0 117.9 123.1 96.8 112.9

110.0 98.8 92.1 75.4 76.1 ดัชนผี ลผลติ สนิ คา้ เกษตร
90.0 ดัชนีราคาทเ่ี กษตรกรขายได้
2563 2564 ด ัชนีรายได ้เก ษ ต รก ร
70.0

50.0
256 2561 2562

ท่มี า: ส้านกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 7 และ 10

5

ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

4. ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2564
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของภาคกลาง ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

เน่ืองจากปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตภาคเกษตรดังกล่าวข้างต้น อาทิ ปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าท่ีสาคัญและ
แหล่งน้าตามธรรมชาติมีเพียงพอสาหรับภาคเกษตร ประกอบกับราคาสินค้าหลายชนิดปรับตัวดีขึ้น จูงใจให้เกษตรกร
เพิ่มการผลิตโดยสาขาพืช ขยายตัวร้อยละ 1.2 สาขาบริการทางการเกษตร ขยายตัวร้อยละ 1.1 และสาขาป่าไม้ ขยายตัว
ร้อยละ 1.8 ส่วนสาขาปศุสัตว์ หดตัวร้อยละ 0.3 และสาขาประมง หดตัวร้อยละ 3.1 โดยรายละเอียดในแต่ละสาขา
มดี ังนี้

4.1 สาขาพืช ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 1.2 เม่ือเทียบกับปีท่ีผ่านมา โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณน้าฝน
สะสมท่ีเพิ่มขึ้นในช่วงคร่ึงหลังของปี 2563 ทาให้มีปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของพืช
สง่ ผลให้พืชสาคัญ ได้แก่ ขา้ ว มันสาปะหลงั โรงงาน และสับปะรดโรงงาน มผี ลผลิตเพมิ่ ข้ึน

 ข้าว ตัน ปรมิ าณผลผลติ ขา้ ว
ภาวะการผลติ 5,700,000
ผลผลิตข้าว ปี 2564 เท่ากับ 5,687,292 ตัน เพ่ิมขึ้น 5,687,292

จากปีที่ผ่านมา ซ่ึงผลิตได้ 5,517,911 ตัน หรือเพ่ิมข้ึน 5,650,000
ร้อยละ 3.1 เนื่องจากปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก
และการเจริญเติบโตของต้นข้าว เกษตรกรจึงขยายพื้นที่ 5,600,000
ปลูกข้าวเพ่ิมข้ึน จากพ้ืนท่ีนาเดิมที่ไม่สามารถปลูกได้
ในปีที่ผ่านมา ประกอบกับสภาพอากาศที่เอ้ืออานวย 5,550,000 5,517,911
ต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ส่งผลให้ผลผลิตเฉล่ียต่อไร่ 5,500,000 2563
เพิ่มข้นึ ดว้ ย แม้พืน้ ทนี่ าบางส่วนจะได้รบั ผลกระทบจากน้าทว่ ม 5,450,000
แตใ่ นภาพรวมปรมิ าณผลผลิตยังคงเพ่มิ ขึน้ 5,400,000

2564

ทมี่ า: ปี 2563 ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร
ปี 2564 ประมาณการโดยส้านกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 7 และ 10

ระดับราคา
ปี 2564 ราคาข้าวเปลือกเจ้าความช้ืน 15% ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยตันละ 8,474 บาท ลดลงจากปีท่ีผ่านมา
ซึ่งมรี าคาเฉลี่ยนตันละ 8,879 บาท หรือลดลงร้อยละ 4.6 เนื่องจากปรมิ าณผลผลติ ที่ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้นและบางพ้ืนท่ี
ประสบปัญหาน้าท่วมส่งผลต่อคุณภาพข้าว รวมท้ังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลให้ความต้องการข้าวท้ังใน
และต่างประเทศชะลอตัว ประกอบกับการแข็งค่าของเงนิ บาทในช่วงต้นปี 2564 ทาให้ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่า
ประเทศคู่แข่งขัน ซ่งึ กระทบตอ่ ราคาขา้ วภายในประเทศ

 ออ้ ยโรงงาน ปรมิ าณผลผลติ อ้อยโรงงาน
ภาวะการผลิต
ผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2564 เท่ากับ 14,885,017 ตัน

ตัน ลดลงจากปีท่ีผ่านมา ซึ่งผลิตได้ 16,863,209 ตัน หรือ 17,500,000 16,863,209
ลดลงร้อยละ 11.7 เนื่องจากปัญหาภัยแล้งจากปีที่ผ่านมา 17,000,000
ส่งผลให้อ้อยโรงงานมีคุณภาพต่า ประกอบกับราคารับซ้ือ 16,500,000
อ้อยโรงงานในปีท่ีผ่านมาลดลง ทาให้เกษตรกรปรับเปลี่ยน 16,000,000 14,885,017
ไปปลูกมันสาปะหลังโรงงานและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ซ่ึงให้ 15,500,000
ผลตอบแทนที่ดีกวา่ 15,000,000
14,500,000
14,000,000
13,500,000

2563 2564

ท่มี า: สา้ นักงานคณะกรรมการอ้อยและนา้ ตาลทราย

6

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง

ระดับราคา
ปี 2564 ราคาอ้อยโรงงานทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลยี่ ตันละ 845 บาท เพิม่ ขึ้นจากปีทผี่ า่ นมา ซ่ึงมีราคาเฉลี่ยตนั ละ
676 บาท หรือเพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 25.00 เน่ืองจากราคาเพิ่มขึน้ ตามทิศทางของราคาน้าตาลในตลาดโลกท่ีปรบั ตัวสูงข้นึ

 มันส้าปะหลงั โรงงาน ตัน ปรมิ าณผลผลติ มันสา้ ปะหลงั โรงงาน
ภาวะการผลิต
ผลผลิตมันสาปะหลังโรงงาน ปี 2564 เท่ากับ 4,000,000 3,938,431

3,9 3 8 ,431 ตั น เพิ่ ม ข้ึ น จ าก ปี ท่ี ผ่ าน ม า ซึ่ งผ ลิ ต ได้ 3,800,000
3,305,272 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.2 เน่ืองจากปริมาณ
น้าฝนเพียงพอในช่วงมันสาปะหลังเร่ิมลงหัวและสะสม 3,600,000
อาหาร และเกษตรกรสามารถควบคุมการแพร่ระบาด
และกาจัดโรคใบด่างได้ดีขึ้น ประกอบกับราคารับซ้ืออยู่ใน 3,400,000 3,305,272
เกณฑ์ดี เกษตรกรจึงขยายเนื้อที่ปลูกมันสาปะหลังโรงงาน
แทนอ้อยโรงงานท่รี าคามแี นวโนม้ ลดลงในปที ี่ผา่ นมา 3,200,000

3,000,000

2,800,000

2563 2564

ทีม่ า: ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดบั ราคา
ปี 2564 ราคามันสาปะหลังโรงงานสดคละที่เกษตรกรขายได้เฉล่ียกิโลกรัมละ 1.97 บาท เพ่ิมข้ึนจาก
ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 1.73 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.9 เน่ืองจากผลผลิตมันสาปะหลังของไทย
ยังเป็นทตี่ อ้ งการของตลาดต่างประเทศอย่างต่อเน่ือง

 สับปะรดโรงงาน ตัน ปรมิ าณผลผลติ สบั ปะรดโรงงาน
ภาวะการผลิต 950,000
ผลผลิตสับปะรดโรงงาน ปี 2564 เท่ากับ 896,525
900,000
896,525 ตั น เพ่ิ ม ข้ึน จาก ปี ท่ี ผ่ าน ม า ซึ่งมี ผล ผลิ ต
800,564 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.0 เน่ืองจากราคา 850,000 800,564
ในปีท่ีผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรขยาย 800,000
พ้ืนท่ีปลูกในพ้ืนที่ท่ีเคยปล่อยว่าง รวมทั้งเกษตรกร
มีการบารุงรักษาต้นสับปะรดเป็นอย่างดี ประกอบกับ 750,000
ปรมิ าณน้าฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโต สง่ ผลให้ปรมิ าณ
ผลผลติ เพิม่ ขนึ้ 2563 2564

ทีม่ า: ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ระดับราคา
ปี 2564 ราคาสับปะรดโรงงานท่ีเกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.29 บาท ลดลงจากปีท่ีผ่านมา
ซ่ึงมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.54 บาท หรือลดลงร้อยละ 45.5 เน่ืองจากปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาดเพิ่มข้ึน
ประกอบกับการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงงานแปรรูปเพ่ือการส่งออกลดกาลังการผลิต และจากัดการซ้ือ
ผลผลิตจากเกษตรกร ทาใหร้ าคาสบั ปะรดโรงงานภายในประเทศปรับตัวลดลง

7

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง

 ขา้ วโพดเลยี งสัตว์ ตนั ปริมาณผลผลิตขา้ วโพดเลียงสตั ว์
ภาวะการผลิต 530,000
ผลผลิ ตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2564 เท่ ากั บ 527,797
528,000
527,797 ตัน เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมา ซึ่งมีผลผลิต 523,204 ตัน
หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.9 เนื่องจากเกษตรกรมีการดูแลเอาใจ 526,000
ใส่แปลงปลูกและเฝ้าระวังโรคมากข้ึน ประกอบกับปริมาณ
น้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก ทาให้ต้นข้าวโพดเจริญเติบโต 524,000 523,204
ได้ดี ส่งผลให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่เพ่ิมข้ึน นอกจากนี้ยังมี
เกษตรกรบางส่วนปรับเปลี่ยนพื้นท่ีจากอ้อยโรงงานมาปลูก 522,000
ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์
520,000

2563 2564

ทม่ี า: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดบั ราคา
ปี 2564 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ความช้ืน 14.5% ท่ีเกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.20 บาท เพ่ิมข้ึน
จากปีท่ีผ่านมา ซ่ึงมีราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 7.63 บาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 7.5 เนื่องจากราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ในตลาดโลกปรับตัวสูงข้ึน และความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ยังเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง อีกท้ังรัฐบาล
มีโครงการประกนั ราคาข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ และมกี ารควบคุมการนาเขา้ ขา้ วสาลี ทาใหร้ าคาขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์เพ่มิ สงู ข้ึน

4.2 สาขาปศุสัตว์ ในปี 2564 หดตัวร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เน่ืองจากการลดลงของปริมาณผลผลิตสุกร
ซ่ึงเป็นสินค้าเกษตรท่ีสาคัญของสาขาปศุสัตว์ เนื่องจากมีการระบาดของโรคอหิวาห์แอฟริกาในสุกร (ASF) ทาให้เกษตรกร
ชะลอการเลี้ยงสุกร ประกอบกับต้นทุนการเล้ียงสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาณการผลิตสุกรลดลง ขณะที่ไก่เนื้อ น้านมดิบ ไข่ไก่
และโคเนื้อ มีปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น เน่ืองจากยังมีความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ประกอบกับ
การบรหิ ารจดั การฟาร์มทด่ี ี

 ไกเ่ นอื ลา้ นตัว ปรมิ าณผลผลติ ไก่เนอื

ภาวะการผลติ 715 691.95 709.66
ผ ลผลิ ตไก่ เน้ื อ ปี 2564 เท่ ากั บ 709.66 ล้ านตั ว 710 2563 2564
เพิ่ มข้ึนเมื่ อ เที ย บ กั บ ปี ท่ี ผ่ าน ม า ซ่ึ งมี ผ ล ผ ลิ ต 69 1.9 5 705
ล้านตัว หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.6 เน่ืองจากการขยายการผลิต 700
เพื่อรองรับความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับ 695
มีการพัฒนามาตรฐานการเล้ียงและระบบการผลิตท่ีปลอดภัย 690
และเน้อื ไกย่ ังมีราคาต่ากว่าเนอ้ื สัตว์ประเภทอน่ื 685
680

ท่ีมา: ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร ส้านกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดับราคา

ในปี 2564 ราคาไก่รุ่นพันธุ์เน้ือท่ีเกษตรกรขายได้เฉล่ียกิโลกรัมละ 35.42 บาท ลดลงจากปีท่ีผ่านมา

ซ่ึงมีราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 36.36 บาท หรือลดลงร้อยละ 2.6 เน่ืองจากปริมาณผลผลิตไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาด

คอ่ นข้างมาก

8

ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

 สกุ ร ลา้ นตวั ปรมิ าณผลผลติ สกุ ร
ภาวะการผลติ
ผลผลิตสุกร ปี 2564 เท่ากับ 10.53 ล้านตัว ลดลง 12.00 11.12 10.53
11.00 2564
เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ซ่ึงมีผลผลิต 11.12 ล้านตัว หรือลดลง 10.00
รอ้ ยละ 5.3 เน่ืองจากเกษตรกรชะลอการเลี้ยงสุกร เพราะต้นทุน 9.00
ค่าอาหารปรับตัวสูงขึ้น และความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ 8.00
การระบาดของโรคอหิวาห์แอฟริกาในสุกร (ASF) และใน 7.00
บางพื้นที่ในบางพ้ืนท่ีเกิดโรคเพิร์ธ (PRRS) ในสุกร ทาให้อัตรา 6.00
การตายของสุกรเพิ่มข้ึน ส่งผลให้ปริมาณ การผลิตสุกร 5.00
ในภาพรวมลดลง
2563

ทม่ี า: ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดบั ราคา
ปี 2564 ราคาสุกรน้าหนัก 100 กิโลกรัมข้ึนไปท่ีเกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.60 บาท เพิ่มข้ึน
จากปีที่ผ่านมา ซ่ึงมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.04 บาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 0.8 เน่ืองจากปริมาณการผลิตสุกรที่ออกสู่
ตลาดลดลง ท้ังทีค่ วามตอ้ งการยังมีอยา่ งต่อเน่ือง ราคาสุกรจงึ สงู ขึ้น

 นา้ นมดบิ ตัน ปริมาณผลผลติ นา้ นมดิบ
ภาวะการผลิต
ผลผลิตน้านมดิบ ปี 2564 เท่ากับ 633,121 ตัน 700,000 623,470 633,121
600,000
เพิ่มข้ึนจากปีที่ผ่านมา ซ่ึงผลิตได้ 623,470 ตัน หรือเพิ่มข้ึน
ร้อยละ 1.5 เน่ืองจากจานวนแม่โครีดนมเฉลี่ยในรอบปีเพ่ิมข้ึน 500,000
ประกอบ กับ ภ าครัฐมีนโยบายพัฒ นาคุณ ภ าพ น้านมโค
โดยการเพิ่มประสิทธิภาพอาหารสาหรับเล้ียงโคนม ทาให้ราคา 400,000
น้านมดิบที่เกษตรกรขายได้อยู่ในเกณฑ์ดี จึงจูงใจให้เกษตรกร
มีการพัฒนาการเล้ียงโคนม รวมทั้งการบริหารจัดการฟาร์ม 300,000
ท่ีเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้น้านมดิบมีคุณภาพ
และปริมาณเพม่ิ ข้ึน 200,000

100,000 2563 2564

ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

ระดบั ราคา
ปี 2564 ราคาน้านมดิบที่เกษตรกรขายได้เฉล่ียกิโลกรัมละ 18.34 บาท ลดลงจากปีที่ผ่านมา ซ่ึงมีราคาเฉล่ีย
กิโลกรัมละ 18.16 บาท หรือลดลงร้อยละ 10 เน่ืองจากราคาที่เกษตรกรขายได้เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดซึ่งขึ้นอยู่กับ
คณุ ภาพของน้านม

9

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง

 ไข่ไก่ ล้าน อง ปรมิ าณผลผลติ ไขไ่ ก่
ภาวะการผลิต 3,350
ผลผลิตไข่ไก่ ปี 2564 เท่ากับ 3,329 ล้านฟอง เพิ่มข้ึน 3,300 3,329
3,250
เม่ือเทียบกับปีที่ผ่านมา ซ่ึงมีผลผลิต 3,084 ล้านฟอง หรือ 3,200 3,084
เพ่ิมขึ้นร้อยละ 7.9 เนื่องจากความต้องการบริโภคยังมี 3,150
อย่างต่อเน่ือง และเกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์มท่ีมี 3,100 2563 2564
ประสทิ ธิภาพมากขึ้น มีการเฝ้าระวงั โรคระบาดได้ดี ประกอบกับ 3,050
สภาพอากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ืออานวย ส่งผลให้อัตรา 3,000
การใหไ้ ข่เพิม่ ข้ึน 2,950

ทม่ี า: ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดบั ราคา
ปี 2564 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉล่ียฟองละ 2.99 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมา ซึ่งมีราคาเฉล่ียฟองละ
2.90 บาท หรอื เพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ 3.1 เนื่องจากความต้องการบริโภคไข่ไก่เพิ่มมากขน้ึ และต้นทุนการผลิตท่ีสงู ขึน้

 โคเนือ ตวั ปรมิ าณผลผลิตโคเนอื
ภาวะการผลิต 445,000
ผลผลิตโคเน้ือ ปี 2564 เท่ากับ 441,382 ตัว เพิ่มขึ้น 440,000 441,382
435,000
เม่ือเทียบกับปีที่ผ่านมา ซ่ึงมีผลผลิต 416,259 ตัว หรือเพ่ิมข้ึน 430,000 416,259
ร้อยละ 6.0 เนื่องจากความต้องการบริโภคทั้งในประเทศและ 425,000 2563
ต่างประเทศยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับภาครัฐมีโครงการ 420,000
ส่งเสริมการเลี้ยงโคเน้ือคุณภาพเพ่ือสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร 415,000
และลดความเส่ียงจากปัญหาภัยธรรมชาติและปัญหาด้านการเกษตร 410,000
อื่น ๆ ประกอบกับหน่วยงานปศุสัตว์ในพ้ืนท่ีมีการควบคุม 405,000
การเคล่ือนย้ายและเฝ้าระวังโรคระบาดอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้ 400,000
ปริมาณการผลติ เพิ่มขึน้
2564

ที่มา: ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดับราคา
ในปี 2564 ราคาโคเน้ือขนาดกลางท่ีเกษตรกรขายได้เฉล่ียกิโลกรัมละ 113.03 บาท เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมา
ซ่ึงมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 112.88 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 เนื่องจากความต้องการของตลาดท้ังเพ่ือการบริโภค
ภายในประเทศและการสง่ ออกไปยงั ประเทศเพื่อนบา้ นเพิ่มขึ้น

10

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง

4.3 สาขาประมง ในปี 2564 หดตัวร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับปีท่ีผ่านมา เน่ืองจากการลดลงของปริมาณ
ผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม เน่ืองจากเกษตรกรลดพ้ืนท่ีเพาะเลี้ยง และชะลอการลงลูกกุ้ง ขณะที่ปริมาณผลผลิต
ปลาน้าจืดเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากความต้องการของผู้บริโภคมากข้ึน ประกอบกับปริมาณ และคุณภาพน้าเหมาะสม
สาหรับการเล้ยี ง

 กงุ้ ขาวแวนนาไม ตนั ปรมิ าณผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม
ภาวะการผลติ
ผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม ปี 2564 เท่ากับ 79,403 ตัน 90,000

ลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ซ่ึงมีปริมาณการผลิต 80,659 ตัน 82,000 80,659 79,403
หรอื ลดลงร้อยละ 1.6 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรค โค วิด – 19 ส่ งผล ให้ เก ษ ต รก รล ด พื้ น ท่ี เพ าะเล้ี ย ง 74,000
ลดจานวนลกู พันธ์ุ และชะลอการลงลูกกุ้ง ประกอบกับบางพื้นที่
ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้าท่วมและมีการแพร่ระบาด 66,000
ของโรคข้ีขาว ทาให้ผลผลิตออกสตู่ ลาดลดลง
58,000

50,000 2563 2564

ระดับราคา ทมี่ า: ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ปี 2564 ราคากุ้งขาวแวนนาไม ที่เกษตรกรขายได้

เฉล่ียกโิ ลกรมั ละ 104.37 บาท เพ่ิมขึ้นจากปที ่ผี ่านมา ซง่ึ มีราคาเฉลยี่ กิโลกรัมละ 100.66 บาท หรอื เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 3.7

เนื่องจากปริมาณผลผลติ ออกสูต่ ลาดลดลง

 ปลานา้ จดื ตนั ปริมาณผลผลติ ปลาน้าจืด
ภาวะการผลิต
90,000
ผลผลิตปลาน้าจืด ปี 2564 เท่ากับ 79,337 ตัน
เพิ่มข้ึนเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ซึ่งมีปริมาณการผลิต 77,534 ตัน 80,000 77,534 79,337
หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 2.3 เนื่องจากมีปริมาณ น้าเพียงพอ
ต่อการเพาะเลี้ยง ประกอบกับเกษตรกรมีการอนุบาลลูกปลา 70,000
ให้ได้ขนาดและแข็งแรงก่อนปล่อยลงบ่อเลี้ยงเพ่ือเพิ่มอัตรา
การรอด ส่งผลให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้น แม้ว่าบางพื้นที่จะได้รับ 60,000
ผลกระทบจากสถานการณ์นา้ ท่วมก็ตาม แตป่ ริมาณผลผลิตทั้งปี
ยังคงเพมิ่ ขึ้น 50,000 2563 2564

ท่มี า: ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร ส้านกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ระดับราคา
ปี 2564 ราคาปลาน้าจืด ท่ีเกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.80 บาท ลดลงจากปีท่ีผ่านมา
ซึ่งมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.32 บาทหรือลดลงร้อยละ 5.4 เน่ืองจากปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาดมากข้ึน
ทาใหร้ าคาปรับตัวลดลง

11

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 และแนวโน้มปี 2565 ภาคกลาง

4.4 สาขาบริการทางการเกษตร ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 1.1 เนื่องจาก
พ้ืนท่ีเพาะปลูกข้าวและพืชไร่เพ่ิมขึ้น ส่งผลให้มีการใช้เครื่องมือเคร่ืองจักรในการ
บรกิ ารทางการเกษตร ดา้ นการเตรยี มดิน และการเก็บเก่ยี วเพิ่มขึ้น

4.5 สาขาป่าไม้ ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 1.8 เนื่องจากกิจกรรมการปลูก
และตัดไม้เศรษฐกิจเพื่อจาหน่ายมากข้ึน เช่น ไม้ยูคาลิปตัส ไม้ยางพารา
ทม่ี อี ายมุ าก ประกอบกบั การเก็บผลผลิตรังนกที่มคี ุณภาพ ซ่งึ ยังเปน็ ทีต่ ้องการของ
ตลาดท้ังในและต่างประเทศ การเก็บหาผลิตภัณฑ์จากป่า และจากการดาเนิน
กิจกรรมการดูแลรักษาและปลูกป่าโกงกาง ของท้ังภาครัฐและภาคเอกชน
จึงส่งผลให้สาขาป่าไมข้ ยายตวั

5. แนวโนม้ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2565
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของภาคกลาง ในปี 2565 คาดว่าจะมีการขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 1.0 - 2.0

สาหรับปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนให้ภาคเกษตรขยายตัว ได้แก่ สภาพอากาศท่ีเอื้ออานวยต่อการทาการเกษตร และปริมาณฝน
ท่ีมีมากขึ้น ทาให้คาดว่าจะมีปริมาณน้าเพียงพอสาหรับการเพาะปลูก ประกอบกับภาครัฐมีนโยบายและมาตรการ
ชว่ ยเหลอื เกษตรกรและการดาเนินนโยบายด้านการเกษตรทีต่ ่อเนื่อง อย่างไรกต็ าม ยังคงต้องติดตามสถานการณ์ต่างๆ
ที่เก่ียวข้องกับการเกษตร เช่น การเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศท่ีอาจทาให้เกิดความแปรปรวนของสภาพอากาศ
และภัยธรรมชาติ การระบาดของโรคพืชและโรคระบาดในสัตว์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
ราคาน้ามันดิบท่ีมีทิศทางปรับตัวสูงข้ึนล้วนเป็นปัจจัยที่จะส่งผลกระทบต่อการผลิตภาคเกษตรในทิศทางที่ดีขึ้น
หรือหดตวั ลง สาหรับรายละเอียดในแตล่ ะสาขา มีดงั นี้

5.1 สาขาพชื ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงรอ้ ยละ 2.5 - 3.5 โดยสินคา้ พืชที่คาดว่าจะมีปริมาณผลผลิต
เพ่ิมข้ึน ได้แก่ ข้าว อ้อยโรงงาน มันสาปะหลังโรงงาน สับปะรดโรงงาน และข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เน่ืองจากปริมาณน้า
ที่คาดว่าจะมีเพียงพอสาหรับการเพาะปลูก และสภาพอากาศที่เอ้ืออานวยต่อการเจริญเติบโตของพืช ประกอบกับ
ภาครัฐมมี าตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลกู ข้าวอยา่ งตอ่ เน่ือง

5.2 สาขาปศุสัตว์ ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5 - 1.5 โดยขยายตัวจากปริมาณการผลิต
ปศุสัตว์ โดยเฉพาะ ไก่เน้ือ สุกร น้านมดิบ ไข่ไก่ และโคเน้ือ คาดว่าการผลิตจะเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
จากการที่เกษตรกรมีระบบการเลี้ยงที่ดีขึ้นตามมาตรฐานฟาร์มท่ีภาครัฐและเอกชนให้การส่งเสริม และกรมปศุสัตว์
ร่วมมือกันในการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคระบาดอย่างเข้มงวด ทาให้ระบบการผลิตปศุสัตว์มีประสิทธิภาพ
มากข้ึน ประกอบกับราคาในปีท่ีผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี รวมทั้งภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงปศุสัตว์
เปน็ อาชพี เสริมเพือ่ เพม่ิ รายได้

5.3 สาขาประมง ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.0 - 1.0 โดยผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม
คาดว่าจะเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยเม่ือเทียบกับปี 2564 เนื่องจากเกษตรกรบางรายกลับมาเลี้ยงและเพ่ิมศักยภาพการผลิต
เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น ส่วนผลผลิตปลาน้าจืดคาดว่าจะมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น
จากปริมาณน้าท่ีมากกว่าปีที่ผ่านมาและเพียงพอต่อการเล้ียง ประกอบกับเกษตรกรมีการอนุบาลลูกพันธุ์ให้ได้ขนาด
และแข็งแรงก่อนปลอ่ ยลงบ่อเลย้ี งเพอ่ื เพิ่มอัตราการรอด และมีการพฒั นาระบบการเล้ียงทม่ี คี ุณภาพมากขึน้

12

ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

5.4 สาขาบริการทางการเกษตร ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 3.1 - 4.1 เนื่องจากคาดว่า
การเพาะปลูกและเก็บเก่ียวผลผลิตพืชสาคัญมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการใช้เคร่ืองมือเคร่ืองจักรในการบริกา ร
ทางการเกษตร ด้านการเตรยี มดนิ และการเก็บเก่ยี ว เพิม่ ขน้ึ ตามไปด้วย

5.5 สาขาป่าไม้ ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5 – 1.5 เน่ืองจากคาดว่าจะมีกิจกรรมการปลูก
และตัดไม้เศรษฐกิจเพ่ือจาหน่ายมากขึ้น ประกอบกับการเก็บผลผลิตรังนกที่มีคุณภาพ ซึ่งยังเป็นท่ีต้องการของตลาด
ทง้ั ในและตา่ งประเทศ รวมท้ังการเกบ็ หาผลติ ภณั ฑ์จากป่า

ตารางท่ี 1 อตั ราการเตบิ โตของผลิตภณั ฑม์ วลรวมภาคเกษตร ภาคกลาง

สาขา ปี 2564 หน่วย: รอ้ ยละ
ภาคเกษตร 0.3 ปี 2565
1.2 1.0 - 2.0
พืช -0.3 2.5 - 3.5
ปศุสัตว์ -3.1 0.5 - 1.5
ประมง 1.1 0.0 - 1.0
บรกิ ารทางการเกษตร 1.8 3.1 - 4.1
ปา่ ไม้ 0.5 – 1.5

ท่มี า : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 และ 10

ตารางท่ี 2 ผลผลติ สนิ คา้ เกษตรทส่ี ้าคัญ (ปปี ฏทิ ิน)

สินคา้ ปี 2563 ปี 2564 อัตราการเปลีย่ นแปลง
(รอ้ ยละ)
ขา้ วเปลือกเจา้ (ตนั ) 5,517,911 5,687,292 3.1
14,885,017 -11.7
อ้อยโรงงาน* (ตัน) 16,863,209 3,938,431 19.2
12.0
มนั สาปะหลงั โรงงาน (ตัน) 3,305,272 896,525 0.9
527,797 2.6
สับปะรดโรงงาน (ตนั ) 800,564 709.66 -5.3
10,533,324 1.5
ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ (ตัน) 523,204 633,121 7.9
6.0
ไก่เน้ือ (ลา้ นตัว) 691.95 3,329 -1.6
441,382 2.3
สกุ ร (ตัว) 11,117,837 79,403
79,337
น้านมดบิ (ตัน) 623,470

ไข่ไก่ (ลา้ นฟอง) 3,084

โคเนอ้ื (ตัว) 416,259

กุ้งขาวแวนนาไม (ตัน) 80,659

ปลานา้ จืด (ตัน) 77,534

ท่ีมา : ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
หมายเหตุ * ขอ้ มลู จากสานกั งานคณะกรรมการออ้ ยและนา้ ตาลทราย

13

ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565 ภาคกลาง

ตารางที่ 3 ราคาสนิ คา้ เกษตรท่เี กษตรกรขายได้

สนิ ค้า ปี 2563 ปี 2564 อตั ราการเปลยี่ นแปลง
(ร้อยละ)
ขา้ วเปลอื กเจา้ ความช้นื 15% (บาท/ตัน) 8,879 8,474 -4.6
อ้อยโรงงาน (บาท/ตัน) 676 845 25.0
มันสาปะหลงั สดคละ (บาท/กิโลกรมั ) 1.73 1.97 13.9
สบั ปะรดโรงงาน (บาท/กโิ ลกรมั ) 6.29 -45.5
ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ ความชื้น 14.5% (บาท/กโิ ลกรมั ) 11.54 8.20 7.5
ไกร่ นุ่ พันธ์ุเนอ้ื (บาท/กิโลกรัม) 7.63 -2.6
สุกรน้าหนกั 100 กก.ขึ้นไป (บาท/กิโลกรัม) 36.36 35.42 0.8
นา้ นมดบิ (บาท/กโิ ลกรัม) 71.04 71.60 1.0
ไขไ่ ก่ (บาท/ฟอง) 18.16 18.34 3.1
โคเน้อื (บาท/กิโลกรัม) 2.90 2.99 0.1
กุง้ ขาวแวนนาไม (บาท/กิโลกรมั ) 112.88 113.03 3.7
ปลาน้าจืด (บาท/กิโลกรัม) 100.66 104.37 -5.4
46.32 43.80
ท่มี า : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

จดั ท้าโดย ส้านกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 7
เลขท่ี 238 ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชยั นาท 1715
โทรศัพท์ -564 -5 5-8 โทรสาร -564 -5 8
www.zone7.oae.go.th

สา้ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 10
เลขท่ี 8 ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบรุ ี 7
โทรศัพท์ -3233-7951
www.zone10.oae.go.th

14


Click to View FlipBook Version