เริ่ม ริ่ ต้น เริ่ม ริ่ ต้น เทรด ฉบับสำ หรับมือใหม่โดยเฉพาะ คลังความรู้TECHNICAL https://www.youtube.com/@MixerKrisharlan/playlists ดูดูค ดู ค ดู ลิลิลิปลิเรีรีย รีรี นเพิ่พิ่พิ่มพิ่เติมได้ที่ ด้ ที่ ดูค ดู ลิปเรีย รี นเพิ่ม พิ่ เติมได้ที่ ด้ ที่ ม พิ่ เติมได้ที่ ด้ ที่ เปิดปิพอร์ตร์กับ OANDA คลิกเลย
1.ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (Volatility): ตลาด Forex มีความผันผวนสูง, ทำ ให้ราคาของค่าเงินเปลี่ยนแปลงได้รวดเร็ว ราคา อาจเกิดการเคลื่อนไหวที่ไม่คาดคิดอาจทำ ให้นักเทรดสูญเสียเงินได้อย่างรวดเร็ว หรือได้ รับกำ ไรมากมายได้เหมือนกัน 2.การผลกระทบจากเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจและเหตุการณ์ทางการเมือง: ข้อมูลเศรษฐกิจ, การประชุมของธนาคารกลาง, และเหตุการณ์ทางการเมืองสามารถ ทำ ให้ตลาด Forex มีความผันผวนเพิ่มขึ้น และเกิดผลกระทบต่อค่าเงินทำ ให้ราคา เคลื่อนไหวได้อย่างรุนแรง 3.ความเสี่ยงทางเทคนิค: การใช้เทคนิคการเทรดที่ยังไม่แม่นยำ หรือเกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาดสามารถทำ ให้นัก เทรดสูญเสียเงิน การทำ ความเข้าใจเทคนิคการเทรดและการบริหารความเสี่ยงถึงมีความ สำ คัญอย่างยิ่งก่อนจะเข้ามาในตลาด 4.การเลือกคู่เงินที่ไม่เหมาะสม: บางคู่เงินมีความผันผวนและความเสี่ยงมากกว่าคู่เงินอื่นๆ การเลือกคู่เงินที่ไม่เหมาะสม สามารถทำ ให้เกิดความเสี่ยงมากขึ้น เช่น คู่เงินที่ไม่เป็น ป็ ที่นิมยมในการเทรด หรือ คู่ค่าเงิน ที่มีค่า Spread ในการเทรดสูงเกินไป 1.ความรู้เริ่มต้นเทรด 1.1 รู้จักกับตลาด และสินทรัพย์ที่ต้องการเทรด การเข้าใจตลาด หรือสินทรัพย์ที่เราสนใจเทรดนั้นสามารถช่วยให้นักเทรดมีโอกาสที่ มากขึ้นดีในการทำ กำ ไร เพราะแต่ละสินทรัพย์มีความผันผวนและได้รับผลกระทบจาก เศรษฐกิจในรูปแบบที่แตกต่างกัน วันนี้ผมจะพามารู้จักกับตลาดและสินทรัพย์ยอด ฮิตที่เทรดเดอร์ส่วนใหญ่เทรดกัน ตลาดในที่นี้ คือ ที่ๆเรามาแลกเปลี่ยนซื้อขายสินทรัพย์ทางการเงิน เช่น หุ้น,ค่า เงิน,ทองคำ ,คริปโต นักลงเทรดจำ เป็นต้องรู้จักให้ดีว่าตลาดที่เรากำ ลังจะเข้าไป เทรดนั้นมีความเสี่ยงอะไรที่ต้องรับรู้ก่อนเข้ามาบ้าง เพราะ ถ้าเราไม่ทำ ความเข้าใจใน ตลาด และความเสี่ยงให้ดีก็มีโอาสสูงที่เราจะสูญเสียเงินจากการลงทุนไป เพราะ ความไม่รู้ และไม่เข้าใจ 1.2 รู้จักกับความเสี่ยง ของตลาดค่าเงิน (Forex)
5.การใช้ Leverage ในการเทรด: มีทั้งข้อดีที่เราไม่จำ เป็นต้องมีเงินเยอะ ก็สามารถเทรดทำ กำ ไรได้เยอะๆ และ ข้อเสียก็ทำ ให้เงินทุนของเราเสียหายได้เช่นกันถ้าเทรดผิดทาง 6.ปัญหาเทคนิค: ปัญหาทางเทคนิค เช่น การหยุดทำ งานของระบบเทรดหรือปัญหาด้านความ ปลอดภัยที่ส่งผลต่อการเทรด และเงินทุนของเราได้ 7.ค่าธรรมเนียมและ spread: ค่าธรรมเนียมการซื้อขายและค่า spread เป็น 1 ในต้นทุนการเทรดที่ เทรดเดอร์ควรรับรู้ก่อนเปิด Position 8.การเลือกโบรกเกอร์ที่ไม่เหมาะสม: การเลือกโบรกเกอร์ที่ไม่น่าเชื่อถือหรือไม่เหมาะสมสามารถทำ ให้นักเทรดต้อง เผชิญกับความเสี่ยงที่ไม่จำ เป็น ควรเลือกโบรกเกอร์ที่ได้รับการรับรอง (Regulated) จากประเทศใหญ่ๆ เพื่อให้ได้รับความมั่นใจว่าโบรกเกอร์ที่เรา เลือกทำ ธุรกิจอย่างถูกต้อง 1.ความผันผวนสูง (High Volatility): ตลาดคริปโตเคอเรนซี่มีความผันผวนสูงมากสามารถขึ้น และลงได้ไม่มี เพดาน และไม่มีใครเข้ามาควบคุมได้ตลาดเปิด 24ชั่วโมง ไม่มีวันหยุด 2.ข่าวสารและเหตุการณ์ไม่คาดคิด: ข่าวสารทางเศรษฐกิจ, กฎหมาย, หรือเหตุการณ์ทาง สามารถมีผลกระทบ ต่อราคาของคริปโตได้อย่างรุนแรง ที่สำ คัญข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นแบบไม่คาด คิดอาจส่งผลกระทบที่มีนัยสำ คัญต่อตลาด เช่น กองทุนใหญ่เทขายทำ ให้ เทรดเดอร์รายย่อยเทขายตามด้วย , เกิดการ Hack Project ทำ ให้ได้รับ ผลกระทบต่อผู้ถือเหรียญคริปโต 3.ขาดความเสถียรของตลาด: ตลาดคริปโตเคอเรนซี่ยังไม่เสถียรเท่ากับตลาดสินทรัพย์อื่นๆ เพราะ เนื่องจากอยู่ในกลุ่มของ Technology ซึ่งมีความไม่แน่นอนสูงโปรเจคที่ดี ในวันนี้อาจจะไม่ดีแล้วก็ได้ในอีกไม่กี่ปี เพราะ ไม่ได้ถูกนำ มาใช้จริง มีการ แข่งขันสูงและเม็ดเงินไหลเข้ามาเพื่อเก็งกำ ไรเป็นหลักทำ ให้มีความเสี่ยงสูง เมื่อเทียบกับการลงทุนรูปแบบอื่น 1.3 รู้จักกับความเสี่ยง ของตลาดคริปโตเคอเรนซี่ (Crypto Currency)
4.ความเสี่ยงจากการใช้บริการ Exchanges: บริการแลกเปลี่ยน (exchanges) ที่ให้บริการการซื้อขายคริปโตเคอเรนซี่ เช่นเรื่อง ความปลอดภัย, ความน่าเชื่อถือ, และความถูกต้อง ยกตัวอย่าง FTX Exchanges เจ้าใหญ่ที่ล้มละลายจากการถูกตรวจสอบ งบการเงินผิดปกติ จนคนแห่ถอนเงินออก ทำ ให้ขาดสภาพคล่องจนต้อง ยื่นล้มละลาย 5.การใช้ Leverage: การใช้ Leverage ในการเทรดคริปโตเคอเรนซี่สามารถทำ ให้มีโอกาสทำ กำ ไรมากขึ้น แต่ในทางกลับกันก็สามารถทำ ให้ความเสี่ยงของการขาดทุน เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน 6.ปัญหาทางเทคนิค: ปัญหาเทคนิคเช่นการโจมตีทางไซเบอร์, การทำ งานผิดปกติของเครือข่าย, หรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำ ธุรกรรมสามารถส่งผลให้ผู้ลงทุน สูญเสียเงินลงทุนได้ 2.ความเสี่ยงในการเทรดและ การจัดการความเสี่ยง การเทรดเป็นสิ่งที่มีความเสี่ยงสูง จึงมีโอกาสที่จะทำ กำ ไรได้มาก แต่ก็มีความเสี่ยงที่มากตามมาด้วย ดังนั้นเราจึงจำ เป็นที่ต้องมีวิธีการ จัดการความเสี่ยงในการเทรดเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิด ขึ้นได้ในแต่ละครั้งที่เรากดเทรด อย่ามองแต่กำ ไรว่าเราจะได้เท่าไหร่แต่ ให้นึกถึงความเสี่ยงที่เรามีโอกาสเสียหายด้วย 2.1 ทำ ความเข้าใจความเสี่ยง 2.1.1 การวิเคราะห์ทางเทคนิคและพื้นฐาน: การทำ ความเข้าใจเกี่ยวกับทั้งการวิเคราะห์ทางเทคนิค และพื้นฐานของ สินทรัพย์ที่คุณกำ ลังเทรดจะช่วยให้คุณทราบถึงโอกาสและความเสี่ยงที่เป็นไป ได้หมายความว่าถ้าเราวิเคราะห์แล้วว่า Set Up ที่เราใช้มีโอกาสที่จะชนะ 70% จากการเก็บสถิติ ที่ระยะเก็บกำ ไร 1:2 เราจะรู้ว่าโอกาสที่เราจะชนะมีอยู่เท่าไหร่ และควรออกความเสี่ยงที่กี่ % ของพอร์ตที่เรารับได้
2.1.2 การวิเคราะห์ผลกระทบจากข่าวสาร: ข้อมูลเศรษฐกิจและเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจสามารถมีผลต่อทิศทางของตลาดการ ติดตามข่าวสารและเหตุการณ์ที่อาจมีผลกระทบต่อการเทรดเป็นสิ่งสำ คัญ ถ้าเรารู้ว่า ข่าวไหนมีความผันผวนแรงเราไม่จำ เป็นที่จะต้องเข้าไปเทรดก็ได้เพื่อหลีกเลี่ยงความ เสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น 2.2 การจัดการทางการเงิน 2.2.1 การกำ หนดขนาดเงินที่เราต้องการเทรด: ควรกำ หนดเงินที่จะเทรดให้เป็นไปตามระดับความเสี่ยงที่คุณสามารถรับได้จริงๆ เช่น 0.5%-2% ของพอร์ต ต่อการกด Position 1 ครั้ง 2.2.2 ใช้ Leverage อย่างระมัดระวัง: อย่าให้ความโลภบังตาว่าถ้าเราชนะเราจะได้เงินเท่าไหร่ ควรใช้ Leverage เพื่อ ลดความเสี่ยง ไม่ใช่เพิ่มความเสี่ยงในการออก Position เพราะ เราไม่จำ เป็น ต้องใส่เงินเยอะแล้ว ดังนั้นใช้ Leverage ให้เหมาะสมกับความเสี่ยงที่เรารับได้ 2.2.3 การควบคุมการขาดทุน (Stop-Loss): การใช้ Stop-Loss เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมความเสี่ยงที่สุด ไม่ ต้องแก้ไม้ ไม่ต้องมโนว่าราคาจะกลับมา ยอมแพ้และยอมรับว่าแผนของเราผิด เพื่อไม่ให้เงินทุนของเราเสียหายหนัก 2.3 การทบทวนและปรับปุรงแก้ไขการเข้าเทรด 2.3.1 การทบทวนผลการเทรด: ทบทวนและวิเคราะห์ผลการเทรดที่ผ่านมาเพื่อเรียนรู้จากความสำ เร็จและข้อผิดพลาด ของเรา เป็นสิ่งที่ดีที่สุดในการพัฬนาทักษะและฝีมือการเทรดให้ดียิ่งขึ้น 2.3.2 ทำ Money Management: ปรับเงินตามผลลัพธ์การเทรดและความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเสี่ยงสูงมากเราอาจจะออก Position เล็ก แต่ถ้าหน้าเทรดที่เรามั่นใจมากๆ อาจจะเพิ่มเงินลงไปบนความเสี่ยงที่ เรารับได้ สรุป การจัดการความเสี่ยงในการเทรดคือส่วนสำ คัญของการลงทุนที่ประสบความ สำ เร็จ. การทำ ความเข้าใจความเสี่ยง, การจัดการทางการเงิน, และการทบทวน แผนการเทรด และ Money Management เป็นเครื่องมือที่สำ คัญในการเป็น นักเทรดที่ประสบความสำ เร็จในระยะยาว การทำ ตามวินัยและควบคุมความเสี่ยง จะช่วยให้คุณมีความมั่นใจและเพิ่มความเสถียรในการเทรด
3.1 การอ่านแท่งเทียน 3.2 Price Action 3.3 โครงสร้างราคา 3.4 Demand Supply 3.5 Pullback Throwback 3.6 Pattern 3.7 QML 3.8 Divergence เครื่องมือในการเทรด 3. กราฟ และการวิเคราะห์ทางเทคนิค 3.1 การอ่านแท่งเทียน “พื้นฐานสำ คัญที่เทรดเดอร์ต้องเข้าใจ” แท่งเทียน หรือ Candlestick เป็นตัวบอกการเคลื่อนที่ ของ “ราคา” ในกราฟโดยในแต่ละแท่งจะเท่ากับ 1 Time Frame ใน Time Frame นั้นจะเป็นได้ตั้งแต่ 1 นาที 5นาที 10 นาที หรือ 1 วัน หรือ 1 เดือนก็มีได้ เราสามารถเลือก TF ที่ต้องการจะดูได้เองซึ่งส่วนใหญ่แล้วกราฟระยะสั้นมากๆอาจจะ มีอยู่แค่ในบางโปรแกรมเท่านั้นยกตัวอย่าง Trading View ที่สามารถดูได้เล็กที่สุด ถึง TF 1วินาที กันเลยทีเดียว แท่งเทียนบอกอะไรเรา ? นอกจากบอกการเคลื่อนที่ของราคาแล้ว แท่งเทียนยังบอกเราได้ถึงความแข็งแรงของแรงซื้อและแรงขายด้วยเพื่อบอกความ ต้องการซื้อ – ขายของตลาด รวมถึงการคาดการณ์แนวโน้มของตลาดที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต แท่งเทียนบอกแรงซื้อขาย ยังไงบ้าง ? จากรูปแท่งเทียนแต่ละประเภทที่เราได้เห็นด้านบนจะเห็นว่าแท่งเทียนมีหลากหลายรูป แบบมากและแต่ละแบบบอกแนวโน้มราคาที่แตกต่างกันตามลักษณะของแท่งเทียนที่ เกิดขึ้น ดังนั้น วิธีดูว่าแท่งเทียนบอกแรงซื้อขายยังไง “ให้เราดูที่ตัวแท่ง เทียนว่ามีการเปิด และปิดในรูปแบบไหน” พร้อมกับดูภาพ ประกอบของแท่งเทียนว่าเกิดรูปแบบไหนขึ้นเพื่อใช้คาดการถึง ทิศทางที่เขากำ ลังจะเคลื่อนที่ไปในอนาคต
ทำ ความรู้จักกับ Price Action ให้ดีขึ้นเชื่อว่าเทรดเดอร์หลายคนน่าจะคุ้น ตากับรูปแบบแท่งเทียนมากันเยอะแล้ว แต่จะมีสักกี่คนที่เข้าใจและรู้จักวิธี การนำ Price Action ไปใช้สิ่งที่ผมจะพามารู้จักกัน คือ "ประเภทการกลับตัวของแท่งเทียน" โดยจะแบ่งเป็น 1.Bullish กลับตัวขึ้น 2.Bearish กลับตัวลง 3.2 Price Action รูปแบบ Price Action มีตั้งแต่ - รูปแบบแท่งเทียนกลับตัวแบบ แท่งเดียว - รูปแบบแท่งเทียนกลับตัวแบบ สองแท่ง - รูปแบบแท่งเทียนกลับตัวแบบ สามแท่ง ดังนั้นเทรดเดอร์ควรสังเกตุให้ดีว่าเมื่อเกิดแท่งเทียนในรูปแบบ Price Action มักจะเกิดการกลับตัวแต่เราไม่นำ Price Action มาใช้กัน เพียงแค่อย่างเดียวควรนำ ไปใช้เป็น Confirm ตัวสุดท้ายก่อนเข้าเทรด เช่น เรามี Set Up | Pullback + Supply DBD แล้วรอราคาย้อนมาเกิด Price Action เราถึงค่อยเข้าเมื่อเกิด Price Action เป็นการคอนเฟริม อย่างสุดท้ายก่อนการเข้าเทรดเพื่อเพิ่มโอกาสเทรดชนะให้มากขึ้นนั้นเอง
มี 3 รูปแบบ 1. ขึ้น (Up Trend) ราคามีการเคลื่อนที่ขึ้น สังเกตจากมีการทำ High และ Low ที่สูงขึ้นไม่มีการทำ Low ที่ต่ำ ลง 2. ลง (Downtrend) ราคามีการเคลื่อนที่ลง สังเกตจากมีการทำ High และ Low ที่ต่ำ ลงไม่มี การทำ Low ที่สูงขึ้น 3. ออกข้าง (Side Way) ราคาไม่มีการทำ Highหรือ Low ที่ต่ำ ลงแต่เคลื่อนที่อยู่ในกรอบราคา 3.3 โครงสร้างราคา (Market Structure)
เมื่อเราดู Swing Low และ Swing High ออกแล้วเราจะเห็น Trend ได้ชัดขึ้น ทีนี้สิ่งที่ต้องนำ มาประกอบใช้คือ ในแต่ละ Time Frame จะมี Trend ของตัวเอง ดูให้ออกว่าโครงสร้างของแต่ละ TF นั้นกำ ลังเป็น Trend อะไร เพื่อให้เราสามารถวางแผน Set Up ในการเข้าเทรดได้ แม่นยำ มากยิ่งขึ้น TF 1H เป็น Up Trend แต่สังเกตว่าจะมีการพักตัวลงมาเสมอ แสดงว่าใน TF ที่เล็กกว่า Correction พักตัวเป็น Down Trend
ตัวอย่างการ Correction พักตัวใน TF m15 Note: โครงสร้างราคาของ TF ใหญ่จะเป็นตัวกำ หนด Trend เสมอ ดังนั้นเราต้องดูให้ออกว่า TF ใหญ่กำ ลังเป็น Trend อะไร และ TF ปัจจุบันกำ ลังจะทำ อะไรต่อ เช่น เป็นการพักตัวลงมาเพื่อขึ้นต่อ แล้วเราจะ เข้า Buy ตรงไหนตรงนี้จะต้องมาวางแผน Trade Set Up กันอีกทีหนึ่ง 3.4 Demand Supply Demand Supply คืออะไร? คือ โซนของราคาที่เกิดการซื้อ หรือขายมาก อาจจะดูคล้ายกับ แนวรับแนวต้าน ที่เรา รู้จักกัน แต่เป็นการต่อยอดมาจากการใช้แนวรับแนวต้านให้เราเทรดได้อย่างแม่นยำ มากยิ่งขึ้นโดยความแตกต่างคือ แนวรับแนวต้าน มักจะถูกมองเป็นราคาใดราคาหนึ่ง ที่ราคาสัมผัสบ่อยๆ ส่วน “Demand และ Supply จะมองเป็นช่วงหรือกรอบราคา” ซึ่งจะมองเป็นโซนที่จะเกิดการซื้อหรือขายมาก ซึ่งเป็นพฤติกรรมราคาที่เจ้าสร้างเอาไว้ โดยมี 2 รูปแบบนั้นก็ คือ 1.Demand Zone Demand Zone คือ เป็นโซนที่ราคามาถึงแล้ว มักจะถูกรับเอาไว้ได้คือ เมื่อมาถึงโซนนี้ แล้ว มักจะมีแรงซื้อเข้ามามากขึ้น เพื่อให้ราคาขึ้นกลับไป หรือเรียกว่าโซนของความ ต้องการซื้อนั้นเอง ดูคลิปอธิบาย Demand Zone: https://www.youtube.com/watch?v=HqgdWZtf7xA 2.Supply Zone Supply Zone คือ เป็นโซนที่ราคามาถึงแล้ว มักจะถูกต้านเอาไว้ได้ คือ เมื่อมาถึงโซน นี้แล้ว มักจะมีแรงขายเข้ามามากขึ้น เพื่อให้ราคาขึ้นกลับลงมา หรือเรียกว่าโซนของ ความต้องการขายนั้นเอง ดูคลิปอธิบาย Supply Zone: https://www.youtube.com/watch?v=7OfpoPtI8GM&t=3s
รูปแบบที่ 1 Drop Base Drop (DBD) DBD คือ ราคาเป็นเทรนขาลง (Drop) มาก่อน แล้วราคาเกิดการพักตัว (Base) จากนั้นราคาร่วงลงต่อ (Drop) รูปแบบที่ 2 Rally Base Drop (RBD) RBD คือ ราคาเป็นเทรนขาขึ้น (Rally) มาก่อน แล้วราคาเกิดการพักตัว (Base) จากนั้นราคาร่วงลงต่อ (Drop) รูปแบบที่ 1 Drop Base Rally (DBR) DBR คือ ราคาเป็นเทรนขาลง (Drop) มาก่อนฃแล้วราคาเกิดการพักตัว (Base) จากนั้นราคาเปลี่ยนเป็นเทรนขาขึ้น (Rally) รูปแบบที่ 2 Rally Base Rally (RBR) RBR คือ ราคาเป็นเทรนขาขึ้น (Rally) มาก่อนแล้วราคาเกิดการพักตัว (Base) จากนั้นราคาขึ้นไปต่อ (Rally) Demand Pattern Supply Pattern
ตัวอย่าง Demand Zone : Drop Base Rally
ตัวอย่าง Demand Zone: Rally Base Rally
ตัวอย่าง Supply : Rally Base Drop
ตัวอย่าง Supply : Drop Base Drop
3.5 Pullback Throwback Pullback กับ Throwback ก็คืออันเดียวกับแนวรับแนวต้านหรือเปล่านะ? เป็นเรื่องที่นักเทรดหลายคนอาจจะยังเข้าใจผิดกันอยู่ หลายคนมักบอกว่า Pullback หรือ Throwback คือ สิ่งเดียวกับแนวรับแนวต้าน ก็มันคืออย่าง เดียวกันไม่ใช่เหรอ ก็เหมือนกันหนิ่ แนวรับ แนวต้าน คืออะไร ? คือ “แนวที่ราคาสัมผัสกันบ่อยที่สุด” วิธีสังเกตก็คือ ให้หาช่วงราคาที่กราฟ มาสัมผัสกันมากที่สุด - ราคาที่สัมผัสกันด้านล่างจะเรียก แนวรับ (รับราคาไว้ได้) - ราคาที่สัมผัสกันด้านบนจะเรียก แนวต้าน (ต้านราคาไว้ได้) Throwback Pullback คืออะไร? - Throwback หรือ TB คือ จุดที่ราคาทำ ลาย High ก่อนหน้า TB จะเกิดขึ้นใน แนวโน้มขาขึ้น ราคาทะลุแนวต้านขึ้นไป และกลับลงมาทดสอบแนวต้านเดิมเพื่อขึ้น ไปต่อ - Pullback หรือ PB คือ จุดที่ราคาทำ ลาย Low ก่อนหน้า PB จะเกิดในแนวโน้ม ขาลง เมื่อราคาทะลุผ่านแนวรับลงไป และกลับขึ้นมาทดสอบแนวรับเดิม แล้วราคา ลงต่อ สรุปว่าต่างกันยังไง ? แนวรับ แนวต้าน คือ แนวที่ราคาสัมผัสกันมากที่สุด เป็นแนวที่ราคาขึ้น หรือลงไปถึงที่แนวนั้น “TB เป็น จุดที่ทำ ลายแนวต้าน” / “PB เป็น จุดที่ทำ ลายแนวรับ” เมื่อแนวรับถูกทำ ลายจะกลายเป็นแนวต้าน และเมื่อแนวต้านถูกทำ ลายจะ กลายเป็นแนวรับ นี่เป็นเพียงเทคนิคอลเบสิคพื้นฐาน ที่นักเทรดมือใหม่ จำ เป็นต้องรู้
ตัวอย่างท่า Throwback + Demand Zone
ตัวอย่างท่า Pullback + Supply Zone
3.6 Chart Pattern Chart Pattern หรือ Price Pattern คืออะไร? Chart Pattern คือ พฤติกรรมแท่งเทียนที่มีการเคลื่อนที่สะสมจนออกมาเป็นรูปแบบ การเคลื่อนที่ โดยนักเทรดจะต้องสังเกตการเกิดขึ้นซ้ำ ของรูปแบบต่างๆ โดยแต่ละรูป แบบนั้นจะบอกถึงทิศทางความเป็นไปได้ที่ราคาจะเคลื่อนที่ไปต่อ หรือ บางคนจะเรียกว่า Price Pattern ก็ได้ Bullish Continuation รูปแบบการเคลื่อนที่ที่มีการสะสมพลัง มีโอกาสจะขึ้นต่อ แต่ขึ้นอยู่กับ Trend ที่ เคลื่อนที่มาใน TF ที่เราเข้าเทรดด้วย ไม่ได้จำ เป็นว่าเกิด Pattern นี้แล้วกราฟจะต้อง ขึ้นเสมอ เพราะสามารถ Break out และลงต่อได้เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยอย่างอื่น มาประกอบด้วย 1.Bullish Wedge หรือ Falling Wedge 2.Bullish Flag
3.Double Bottom 4.Tripple Bottom 5.Inverted H&S
Bullish Continuation รูปแบบการเคลื่อนที่ที่มีการสะสมพลัง มีโอกาสจะขึ้นต่อ แต่ขึ้นอยู่กับ Trend ที่ เคลื่อนที่มาใน TF ที่เราเข้าเทรดด้วย ไม่ได้จำ เป็นว่าเกิด Pattern นี้แล้วกราฟจะ ต้องขึ้นเสมอ เพราะสามารถ Break out และลงต่อได้เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัย อย่างอื่นมาประกอบด้วย 1.Bearish Wedge หรือ Rising Wedge 2.Bearish Flag
3. Double Top 4.Triple Top 5.H&S
ตัวอย่างการใช้ Pattern + Demand 1.ราคาพักตัวลง Throwback กลับมาหา Demand Zone 2.ทำ Pattern เป็น Double Bottom 3.เกิด Engulfing Bar เป็น Price Action Confirm ในการเข้าเทรด ตัวอย่างการใช้ Pattern + Supply 1.ราคากลับตัวขึ้น Pullback กลับมาหา Supply Zone 2.ทำ Pattern เป็น Bear Flag 3.เกิด Engulfing Bar เป็น Price Action ในการเข้าเทรด
3.7 QM QM คืออะไร ? QM หรือชื่อเต็ม Quasimodo เป็น หนึ่งในท่าเทรดกลับตัว สามารถใช้ได้ ทั้งหาจุด กลับตัวขึ้น และจุดกลับตัวลงท่านี้สามารถใช้เทรดได้ในทุกสภาวะ ตลาดเลยถึงแม้ใน Sideway เราก็ยังเห็นการเกิดท่านี้ได้อยู่บ่อยๆ QM มี 2 รูปแบบ ก็คือ 1.Bullish QM หรือ QM กลับตัวขึ้น 2.Bearish QM หรือ MQ กลับตัวลง QM บอกอะไรเรา? Pattern QM เป็น Pattern ที่บอกเราถึงความแข็งแรงของการกลับตัวโดยเขา จะมีการทำ ลายโครงสร้างราคาอย่างชัดเจนก่อนที่จะกลับตัวขึ้น หรือลงให้เราเห็น อย่างชัดเจน Bullish QM จุดสังเกตุราคาสามารถขึ้นไปทำ Higher High ที่สูงกว่าเดิม เป็นสัญญาณว่ามีแนวโนมที่จะกลับตัวเป็นขาขึ้นต่อ Bearish QM จุดสังเกตราคาลงมาทำ Lower Low ที่ต่ำ ลง เป็นสัญญาณ ว่ามีแนวโนมที่จะกลับตัวลงต่อ ทั้งนี้การจะใช้ QM ในการเข้าเทรดควรดู Set Up อย่างอื่นประกอบด้วยอย่ามองหาแค่ QM อย่างเดียว QM ใช้เป็นจุดสังเกตในการดู “ว่าราคาเปลี่ยนโครงสร้างเป็น Sideway ”
3.8 Relative Strength Index (RSI) RSI (Relative Strength Index) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดทางเทคนิคที่นิยมใช้ในการ วิเคราะห์และใช้คาดการทิศทางของสินทรัพย์ เป็นเครื่องมือการเทรดที่นักเทรดหลาย คนนิยมใช้งาน ความหมายของ RSI RSI หมายถึง Relative Strength Index ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่ช่วยในการวิเคราะห์ สภาวะของตลาดว่ามีการซื้อหรือขายมากเพียงใด เพื่อช่วยในการตัดสินใจเข้าซื้อหรือ ขายทรัพย์สิน สรุป RSI (Relative Strength Index) เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการวิเคราะห์แนว โน้มของตลาดและในการช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการซื้อหรือขายทรัพย์สิน การใช้ RSI ร่วมกับการวิเคราะห์อื่น ๆ ช่วยให้นักลงทุนมีความมั่นใจมากขึ้นในการ ตัดสินใจการลงทุนในตลาดการเงิน อย่างไรก็ตาม การใช้ RSI ควรจะเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์และควรใช้งานร่วม กับข้อมูลและเครื่องมืออื่น ๆ เพื่อประเมินสถานะของตลาดอย่างครอบคลุมและมีการ ตัดสินใจที่มีรายละเอียดอย่างถูกต้องและมีความระมัดระวัง
Classic Divergence ส่วนใหญ่จะถูกใช้ในการเทรดแบบ Reversal หรือการหารูปแบบการกลับตัวแต่ จะไม่ใช้ RSI อย่างเดียว แต่ต้องดูองค์ประกอบอื่นด้วยเพื่อทำ ให้ Set Up ในการเทรดแม่นยำ มากยิ่งขึ้น Hidden Divergence ใช้ในการเทรดตามเทรนด์เท่านั้น และเป็นสัญญาณที่บอกว่าราคามีแน้วโน้ม ที่จะวิ่งตามเทรนด์ต่อไป Key ในการใช้ RSI:
ช่อ ช่ งทางการติดตาม สอบถามแอดมิน มิ Oanda สอบถามคอร์ส ร์ เรีย รี น Mixer @mixeroanda @mixerkrisharlan
วิธีเปิดพอร์ต Oanda “เพื่อเทรด ทองคำ Forex “
https://go.oanda.com/visit/?bta=35912&nci=5429
https://go.oanda.com/visit/?bta=35912&nci=5429
https://lin.ee/VhGUzWa