The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกร

แนวการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกร

45

Innovative School

ขนั้ ตอนท่ี 1 • การศกึ ษา
ขอ้ มลู พืน้ ฐาน

ขน้ั ตอนที่ 2 • การสร้าง
นวตั กรรม

ขัน้ ตอนที่ 3 • การนา
นวัตกรรมไปใช้

ขั้นตอนท่ี 4 • การประเมินผล
การใช้
นวัตกรรม

ภาพท่ี 10 กระบวนการวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม

ขนั้ ตอนท่ี 1 การศึกษาข้อมูลพน้ื ฐาน เปน็ ขั้นตอนแรกที่มีความสำคญั อย่างยิ่งต่อการนำไปสู่
การสร้างนวัตกรรมท่ีสอดคล้องปัญหาและความต้องการของโรงเรียน ขั้นตอนนี้มีวตั ถุประสงคใ์ นการ
ดำเนนิ การเพอ่ื ใหร้ ับรเู้ ข้าใจบริบท สภาพปญั หา และความตอ้ งการของโรงเรียน กจิ กรรมทด่ี ำเนินการ
ได้แก่ การศึกษา สำรวจ หรือรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ รับทราบ
ประเดน็ ปัญหา พิจารณาสาเหตุของปัญหา เพอ่ื เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างแนวคดิ แนวทาง วิธีการใหม่
สกู่ ารออกแบบและสร้างนวัตกรรมเพ่อื แกป้ ญั หาและพัฒนา

ขั้นตอนที่ 2 การสร้างนวัตกรรม เป็นการนำข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากขั้นตอนการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพปัญหา และความต้องการ มาใช้ในการออกแบบสร้างนวัตกรรมเพ่ือ
แก้ปัญหาและพัฒนาการบริหารจัดการ หรือการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ซึ่งต้องใช้ทักษะการคิด
ออกแบบ คดิ ริเริ่ม ทักษะการคดิ บูรณาการและการคิดสังเคราะห์ของผสู้ ร้างนวัตกรรม ได้แก่ ผู้บรหิ าร
โรงเรียน ครู หรือคณะวิจัย ให้สร้างนวัตกรรมที่อาจมีลักษณะเป็นแนวทาง รูปแบบ ระบบ วิธีการใหม่ ๆ
ซ่งึ จะชว่ ยแก้ปัญหา เพ่ิมประสิทธผิ ล เกดิ ประโยชนแ์ ก่ผู้เรียน และโรงเรยี น

ขั้นตอนที่ 3 การนำนวัตกรรมไปใช้ ขั้นตอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผล หรือ
ผลที่เกิดขึ้นหลังการใช้นวัตกรรมว่า สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ หรือการบริหาร
จัดการในงานนั้น เกิดผลในทางที่ดีขึ้นหรือไม่ มากน้อยเพียงใด โดยนำนวัตกรรมที่ปรับปรุงแล้วไปสู่
การทดลองใชห้ รือลงมือปฏบิ ตั ใิ นโรงเรยี นกับกลุ่มเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้

46

Innovative School

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้นวัตกรรม เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้
นวัตกรรม ปัญหา อุปสรรคในการใช้นวัตกรรมตามความคิดเห็นของกลุ่มผู้ใช้นวัตกรรม เพื่อให้ได้
ขอ้ มูลสารสนเทศในการปรบั ปรุงและพัฒนานวัตกรรมให้มีความเหมาะสมและเกิดประสิทธผิ ล รวมท้ัง
สอดคล้องกับความต้องการของผ้ใู ชน้ วตั กรรม

ตัวอยา่ งโรงเรียนนวตั กรรมพัฒนาผ้เู รียนสกู่ ารเปน็ นวัตกร
ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ผลจากการใช้รูปแบบโรงเรียนนวัตกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกรของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมายในปี 2561-2562 ยกตัวอย่างภาพความสำเร็จ
โรงเรียนประถมศึกษา 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นวดั กลางบางแกว้ (พทุ ธวิถปี ระสทิ ธ)์ิ สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และโรงเรียนวัดปรางแก้ว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสงขลา เขต 2 โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นบ้านหว้ ยไคร้
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 และโรงเรียนบ้านท่าอ่าง สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2 และโรงเรยี นมัธยมศึกษา 3 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรียนวิเชียร
มาตุ 3 จงั หวัดตรัง สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 13 โรงเรียนมัธยมปา่ กลาง จงั หวัดน่าน
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 37 และโรงเรียนบ้านไร่วิทยา จังหวัดอุทัยธานี สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ทุกโรงเรียนมีผลจากการนำรูปแบบโรงเรียนนวัตกรรมพัฒนา
ผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกรของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ และได้พัฒนารูปแบบ
โรงเรยี นนวัตกรรมตามบริบทของแต่ละโรงเรียน ดงั นี้

1. ระดับประถมศึกษา
1.1 โรงเรยี นวดั กลางบางแก้ว (พุทธวิถีประสทิ ธิ์) ไดร้ ูปแบบ 5s WKK Administrative

Model ดังนี้

ภาพที่ 11 รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมของโรงเรยี นวดั กลางบางแกว้ (พุทธวิถีประสทิ ธิ)์

48

Innovative School

การขับเคลือ่ นโรงเรียนนวัตกรรม
1) การพัฒนาบุคลากร (ผู้บริหาร ครู และนักเรียน) ให้มีศักยภาพสามารถสร้างสรรค์
นวัตกรรมได้ ส่วนการพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนานวัตกรรมได้ สร้างการมี
สว่ นร่วมการเรยี นรู้ส่โู รงเรยี นวัตกรรมสร้างสรรค์
2) การพัฒนาระบบงาน (การบรหิ ารจดั การ และระบบสนบั สนนุ ) โดยพฒั นาโรงเรียน
ให้เป็นโรงเรียนนวัตกรรมสร้างสรรค์ (Innovative School) พัฒนาการบริหารโรงเรียนให้สนับสนุน
และพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศใหท้ นั สมัย เอ้อื ตอ่ การสรา้ งสรรค์นวัตกรรม

ภาพที่ 12 ผลงานรองเท้าแตะแกะลายของนักเรียนโรงเรยี นวัดกลางบางแกว้ (พทุ ธวิถีประสทิ ธ์)ิ
ตวั อย่าง ผลงานนักเรยี น “รองเท้าแตะแกะลาย” เป็นงานศิลปะสร้างมลู ค่าจากรองเท้าแตะ

ธรรมดาสู่งานสร้างสรรค์ สะท้อนกระบวนการคิดในการออกแบบลวดลายที่ทันสมัย ตรงกับ
ความตอ้ งการของลูกคา้ ทำใหส้ ามารถเพิ่มมูลคา่ ใหก้ ับผลติ ภัณฑ์ สร้างรายได้ระหวา่ งเรยี น

49

Innovative School

1.2 โรงเรยี นวดั ปรางแกว้ ได้รปู แบบ WATPRAGKEAW Model ดังน้ี

ภาพที่ 13 รปู แบบการพฒั นาโรงเรยี นนวัตกรรมของโรงเรียนวดั ปรางแก้ว
การขับเคลอ่ื นโรงเรียนนวตั กรรม
1) สร้างความรู้ ความเข้าใจกับครูและผู้เกี่ยวข้อง โดยการประชุมชี้แจงครู บุคลากร
นกั เรยี น ชมุ ชน ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี
2) วิเคราะหจ์ ุดเดน่ จุดด้อยของโรงเรยี นตามกรอบ 5 ดา้ นของโรงเรยี นแห่งนวัตกรรม
ต้นแบบ
3) พฒั นาครูให้มคี วามรู้และมีเทคนคิ ในการจัดการเรยี นการสอนที่หลากหลาย
4) จัดหลักสูตรที่เน้นทักษะความคิดต้นแบบและเป็นนวัตกร มีคุณธรรม จริยธรรม
และมีจิตอาสา
5) สร้างความตระหนัก และส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
(Creativity Based Learning: CBL) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และบูรณาการในรายวิชา
พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

50

Innovative School

6) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสอดคล้องกับความต้องการ และความแตกต่างระหว่าง
บุคคลของผู้เรียน เน้นทักษะกระบวนการ (Creativity Based Learning: CBL) และจัดกิจกรรม
การเรยี นรแู้ บบบูรณาการอย่างหลากหลาย

7) ผู้บริหารเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของโรงเรยี น

ภาพที่ 14 ผลงานฟักขา้ วโรงเรยี นหนูของนักเรียนโรงเรยี นวดั ปรางแก้ว
ตวั อยา่ ง ผลงานนกั เรยี น ได้แก่ “ฟักขา้ วโรงเรยี นหนู” ได้ทำการแปรรูปฟักขา้ วในรูปแบบ
ผลติ ภัณฑต์ ่าง ๆ เพ่ือการอุปโภค บริโภค ได้แก่ ขา้ วเกรยี บฟักข้าว นำ้ ฟกั ขา้ ว สบู่ฟักข้าว แยมฟักข้าว
ไอศกรมี ฟักข้าว คกุ ก้ีฟักข้าว ครมี ทาผวิ ฟกั ข้าว เปน็ ต้น

51

Innovative School

2. ระดบั ขยายโอกาสทางการศึกษา
2.1 โรงเรียนบ้านห้วยไคร้ ได้น้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนนวตั กรรม

ดว้ ย KING BHUMIBOL Model ดงั น้ี

ภาพที่ 15 รปู แบบการพฒั นาโรงเรียนนวัตกรรมของโรงเรยี นบ้านห้วยไคร้
การขับเคลือ่ นโรงเรยี นนวัตกรรม
1) ทบทวนกระบวนการพฒั นาโรงเรยี นนวัตกรรมสรา้ งสรรค์ในชว่ งทีผ่ า่ นมา
2) ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างความรู้ ความเข้าใจคณะครูและ
บุคลากรทางการศึกษาในเรื่องแนวทางการพัฒนาโรงเรยี นนวัตกรรม (Innovative School) ตน้ แบบ
3) ขับเคลือ่ นพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ ครูแหง่ นวตั กรรม
4) นิเทศ กำกับ ติดตามการขับเคลื่อนการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรม (Innovative
School)
5) จัดนิทรรศการนำเสนอผลการใช้รูปแบบกาน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนา
โรงเรยี นนวัตกรรม (Innovative School) ตน้ แบบ
6) ประเมินและสรุปผลการดำเนินการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรม (Innovative
School) ตน้ แบบ
7) เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ผลการดำเนนิ การขยายผลสเู่ ครอื ขา่ ยและสาธารณชน

52

Innovative School

ภาพท่ี 16 ผลงานร้านกาแฟ Q-Coffee ของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยไคร้
ตัวอย่าง ผลงานนักเรียน ได้แก่ “กาแฟ Q-Coffee เชียงดา ชาพื้นบ้านสานต่อความดี”
โดยการนำผลิตพันธุ์ทางการเกษตรในท้องถิ่น เช่น กาแฟ ชา มาประกอบอาชีพสร้างเสริมรายได้ให้กับ
นักเรียน สร้างสถานประกอบการประเภทร้านกาแฟในสถานศึกษา น้อมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา การจดั การเรียนรขู้ องครู และการเรียนรู้ของผเู้ รียน
2.2 โรงเรียนบ้านท่าอ่าง บริหารจัดการเรียนรู้แบบ CPS plus : Tha-ang Innovative
School ดังน้ี

ภาพที่ 17 รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมของโรงเรียนบา้ นท่าอา่ ง

53

Innovative School

การขับเคลอื่ นโรงเรียนนวตั กรรม
1) สรา้ งความเข้าใจ สรา้ งความตระหนัก สร้างแรงบันดาลใจ
2) กำหนดเปา้ หมาย วางแผนพัฒนารว่ มกัน
3) พฒั นาบุคลากร ให้ความรเู้ กี่ยวกบั การสอนแบบ Active Learning และนวัตกรรม
การเรยี นรู้
4) ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผน ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสร้างสรรค์
(Creative teaching CPS plus)
5) พฒั นา ปรับปรุง สรุป ประเมินผล
6) ตอ่ ยอดนวตั กรรมท่เี กิดจากผลเพ่อื การพฒั นาอย่างย่ังยืน
7) เผยแพร่สู่สาธารณชน เช่น จัดแสดงนิทรรศการ เผยแพร่บนเครือข่าย การแลกเปลี่ยน
เรียนรู้

ภาพที่ 18 ผลงานสนกุ กับดนิ ปั้น สรา้ งสรรคง์ าน ของนักเรียนโรงเรยี นบา้ นทา่ อ่าง

ตัวอย่าง ผลงานนักเรียน ได้แก่ “สนุกกับดินปั้น สร้างสรรค์งาน” โดยนำภูมิปัญญาและ
ปราชญ์ในท้องถิ่นที่มีวิถีชีวติ ในการประกอบอาชีพด้วยการทำเครื่องปั้นดินเผาเปน็ สนิ ค้าส่งออกที่สำคญั
ของชุมชน มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบลวดลายตามความต้องการคนรุ่นใหม่ สนองตอบการนำไปใช้
ประโยชน์และการตกแต่งเพื่อความสวยงาม และสามารถผลิตลวดลายได้ตามความต้องการลวดลายของ
ผู้ซื้อเป็นหลัก จึงสามารถเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้มากกว่าลวดลายธรรมดาที่วางจำหน่ายอยู่ทั่วไป
ในร้านคา้ ของชมุ ชน

54

Innovative School

3. ระดบั มธั ยมศึกษา
3.1 โรงเรียนวเิ ชยี รมาตุ 3 บรหิ ารภายใตโ้ มเดล 2A to Goals ดงั น้ี

ภาพท่ี 19 รปู แบบการพฒั นาโรงเรียนนวตั กรรมของโรงเรียนวิเชยี รมาตุ 3
การขบั เคลอื่ นโรงเรียนนวัตกรรม
1) วิเคราะห์บรบิ ท สภาพแวดลอ้ มดว้ ยเทคนคิ SWOT
2) จัดการศกึ ษา 2 ระบบ
3) กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
4) จัดทำแผนกลยุทธ์สถานศกึ ษา
5) พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาสำหรบั นักเรียนการศึกษาปกติ-ทางเลือก
6) สร้างนวตั กรรมและจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning และแบบ Active Online

55

Innovative School

ภาพท่ี 20 ผลงาน Young Entrepreneur ของนักเรยี นโรงเรยี นวเิ ชยี รมาตุ 3
ตัวอย่าง ผลงานนักเรียน ได้แก่ “เมลอน CBL” และการแปรรูป “ลูกปาล์ม” การทำ

ยาหม่องปาล์ม การผลิตมูลไส้เดือนดินสู่.....ดวงดาว ฯลฯ เพื่อเป็น Young Entrepreneur เป็นการฝึก
ทักษะอาชีพสร้างสรรค์ของกลุ่มนักเรียนที่สนใจ ด้วยวิชากลุ่มความดีมุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพนักเรียน
เพิ่มความหลากหลายของกลุ่มงานอาชีพที่สอดคล้องกับสภาพสังคมไทยในยุค 4.0 โดยการเรียนรู้แบบ
Active learning ลงมอื ปฏิบัติจริง

3.2 โรงเรยี นมธั ยมปา่ กลาง ใช้โมเดล MTPK LIVES Innovative School ดังนี้

ภาพท่ี 21 รูปแบบการพฒั นาโรงเรียนนวัตกรรมของโรงเรยี นมัธยมป่ากลาง

56

Innovative School

การขับเคลื่อนโรงเรียนนวัตกรรม
1) ยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้มีกระบวนการคิด ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
โดยใช้เทคโนโลยนี วัตกรรมทางการศึกษา ความรู้กับอัตลกั ษณข์ องตนเอง
2) พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในความเป็นไทย รักและหวงแหน
สบื ทอดวัฒนธรรมของตนเอง
3) จดั การศกึ ษา กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ความรูก้ ับการศึกษาในรปู แบบต่าง ๆ
4) ยกระดับกระบวนการจัดการเรยี นรู้คุณภาพครู ใหค้ รดู ี ครเู ก่ง สอนดี สอนเก่ง
5) พัฒนากระบวนการบริหาร จัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพเอื้อต่อการเรียนรู้
ตามกระบวนการ MTPK LIVES School Innovative ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการสร้างกระบวนการเรียนรู้
แหล่งเรยี นร้สู ู่คณุ ภาพผ้เู รยี นอย่างสร้างสรรค์

ภาพท่ี 22 ผลงานหัตถศิลป์ลายผา้ สืบสานภูมปิ ัญญาชนเผ่า ของนักเรียนโรงเรียนมธั ยมป่ากลาง

ตัวอย่าง ผลงานนักเรียน ได้แก่ “หัตถศิลป์ลายผ้า สืบสานภูมิปัญญาชนเผ่า” โดยใช้
ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบลวดลายด้วยคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ทดแทนการออกแบบด้วย
การเขียนลายแบบดั้งเดิม ซึ่งทำให้ได้ลวดลายที่มีความทันสมัย สร้างรายได้เสริมให้กับผู้เรียน อันเป็น
การยกระดับภูมปิ ัญญา สร้างคณุ คา่ ใหก้ ับผลิตภัณฑ์ของชนเผ่าใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน

57

Innovative School

3.3 โรงเรียนบ้านไรว่ ิทยา ใช้ BANRAI Model ในการพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรม ดังน้ี

รูปแบบการพฒั นาโรงเรยี นนวตั กรรม (Innovative School)
โรงเรยี นบา้ นไร่วทิ ยา สงั กัด สพม. เขต 42

ภาพท่ี 23 รูปแบบการพฒั นาโรงเรียนนวตั กรรมของโรงเรียนบ้านไร่วิทยา
การขับเคลื่อนโรงเรยี นนวตั กรรม

1. พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น
นวตั กร มคี ณุ ลักษณะและทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21

2. สร้างและพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม
มีสมรรถนะตามมาตรฐาน และสอดคล้องกบั การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

3. สร้างสภาพแวดล้อมท่เี อือ้ ต่อการเปลย่ี นแปลงไปสโู่ รงเรียนนวตั กรรม
4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการดำเนินงานเพื่อก้าวไปสู่โรงเรียน
นวัตกรรม
5. พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการสถานศึกษาที่นำไปสู่การเป็น
โรงเรยี นนวัตกรรม

58

Innovative School

6. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นนวัตกร (Innovator) มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21

โดยได้นำแนวคิดทฤษฎีว่าด้วยระบบ (Systems Theory) โดยใช้กระบวนการของวงจร
คุณภาพ PDCA (Deming cycle) มาปรับใช้ในการดำเนินงานตั้งแต่การวางแผน โดยการสำรวจสภาพ
ปัจจุบัน สภาพปัญหา วิเคราะห์ความต้องการ โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis วางแผนออกแบบ
รปู แบบการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาสู่การเป็นโรงเรยี นนวัตกรรม (Innovative School) ทเี่ นน้ การมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การดำเนินงานตามแผนท่ีนำรูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่มุ่งสู่การเป็น
โรงเรียนนวตั กรรม (Innovative School) ท่ีเรยี กวา่ BANRAI MODEL มาดำเนินงานตามแผนพัฒนา
สถานศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ดังนี้

B- Breeding New Gen (การสร้างและพฒั นาบุคลากรรุ่นใหม)่
A- Appropriate Framework Condition (การสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางนวัตกรรม)
N- Network and Technology (การสร้างเครือขา่ ยและพัฒนาเทคโนโลยีทที่ ันสมัย)
R- Research and Development (การวิจัยและพฒั นา)
A- Academic Creative (การพัฒนาวิชาการเชิงสร้างสรรค์)
I- Innovation Alliance (การสร้างภาคแี ละพนั ธมติ รในการดำเนินงาน)
โดยมีตัวชว้ี ัดความสำเร็จของการเป็นโรงเรยี นนวัตกรรม 5 ด้าน คอื
1. ผู้นำแหง่ นวตั กรรม (Innovative Leader)
2. ครสู รา้ งสรรค์ (Creative Teacher)
3. การจดั การเรยี นรู้สร้างสรรค์ (Creative Learning)
4. ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้สรา้ งสรรค์ (Creative Learning Community)
5. ผ้เู รยี นเปน็ นวตั กร (Innovator Student)

ภาพที่ 24 ผลงานด้านการแข่งขันหุ่นยนตข์ องนักเรียนโรงเรยี นบ้านไร่วิทยา

59

Innovative School

ตัวอย่าง ผลงานนักเรียน ได้แก่ การแข่งขันหุ่นยนต์พัฒนาศักยภาพเยาวชนไทยด้านหุ่นยนต์
(Thailand Robot & Robotic Olympiad) รางวัลชนะเลิศประเภทผลิตสื่ออินโฟกราฟิก DigiFam
Awards ภายใตแ้ นวคดิ “เสพสอื่ ใช้สติ มสี ไตล์ ให้สตรอง” โดยราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ์ ปีที่ 1 ประจำปี
2562 ถ้วยพระราชทาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์
อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซึ่งผลงาน/รางวัลสะท้อนการเป็นนวัตกร
ของผู้เรยี น

ภาพท่ี 25 ผลงานด้านการผลิตหนงั สั้น และส่ืออินโฟกราฟิก ของนักเรยี นโรงเรยี นบ้านไรว่ ิทยา

60

Innovative School

การสร้างแรงบนั ดาลใจ และความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดกับครู

นวัตกรเปน็ กา้ วทส่ี ำคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็น

บรรณานกุ รม

ชวลิต ชูกำแพง. (2561). การวิจัยและพัฒนาหลักสตู ร แนวคิดและกระบวนการ. (พิมพค์ ร้ังท่ี 2).
กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

ดษุ ฎี โยเหลา, และคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรยี นรแู้ บบ PBL ท่ีไดจ้ ากโครงการสร้าง
ชดุ ความรเู้ พ่ือสรา้ งเสริมทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์
ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรงุ เทพฯ: ทพิ ยวสิ ุทธ.์ิ

รตั นะ บัวสนธ์. (2552). การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. พษิ ณุโลก : มหาวทิ ยาลยั
นเรศวร.

_______. (2556). การวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา. (พิมพค์ ร้งั ที่ 2). พษิ ณโุ ลก : บวั๊ กราฟฟคิ
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรยี นรูเ้ พื่อศิษยใ์ นศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ:

มลู นิธิสดศรี-สฤษดว์ิ งศ์.
วชิ ติ สุรตั น์เรอื งชัย. (2550). การวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน. ชลบรุ ี : ภาควชิ าหลกั สตู ร

และการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา.
วริ ิยะ ฤาชยั พาณิชย.์ (2558). การสอนแบบสรา้ งสรรคเ์ ป็นฐาน Creativity-based Learning (CBL).

วารสารนวัตกรรมการเรียนร.ู้ 1(2): 23-37.
ศนู ยพ์ ัฒนาการนิเทศและเรง่ รัดคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2559). แนวทางการนเิ ทศการจัด

กจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนา 4H. กรงุ เทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก.
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2550). รปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาความสามารถ

ของเดก็ ในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ เขยี น และสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง โดยเนน้
ผเู้ รียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: ผ้แู ต่ง.
สำนกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา. (2560). แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบสร้างสรรค์เป็นฐาน.
กรุงเทพฯ: ผูแ้ ต่ง.
Donald Clark. (2003). “Instructional System Design-Analysis Phase” Retrieved
October, 2003 From www.nwlink.com/donclark/hrd/sat2.html.
Gall, Borg and Gall. (1996). Educational Research An Instruction. (6th ed).
New York : Longman Publishers.
Thorndike, E.L. and Barnhart, C.L. (1965). Thorndike and Barnhart Junior
Dictionary. New York : Doubleday and Company Inc.
Tony Wagner. (2019). Creating Innovators: The Making of Young People Who
Will Change the World. New York : Scribner.

คณะผู้จัดทำ

คณะท่ปี รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
1. นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
2. นายอัมพร พนิ ะสา รักษาการในตำแหนง่ ท่ปี รกึ ษาด้านพัฒนาระบบเครือข่ายและการมสี ว่ นรว่ ม
3. นายพธิ าน พืน้ ทอง ปฏบิ ตั หิ น้าที่ผอู้ ำนวยการสำนักพฒั นานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา
อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
4. นางเบญจลักษณ์ นำ้ ฟ้า (ผูเ้ ชยี่ วชาญพิเศษดา้ นวชิ าการและพัฒนากระบวนการเรียนรู้)

คณะทำงานรา่ งตน้ ฉบบั

1. นางสาวประภาพรรณ เส็งวงศ์ ขา้ ราชการบำนาญ ศกึ ษานเิ ทศกเ์ ช่ยี วชาญ

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมทุ รปราการ เขต 1

2. นางสาววิรยิ ะ บุญยะนวิ าสน์ ขา้ ราชการบำนาญ ศึกษานิเทศกเ์ ช่ยี วชาญ

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต 1

3. นายพทิ ักษ์ กาวีวน รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

4. นางสาวจงรักษ์ ศรที ิพย์ รองผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1

5. นายบุญยฤทธ์ิ ปยิ ะศรี ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 30

6. นางปาริชาติ เข่งแกว้ ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3

7. นายเกชา เหลืองสดุ ใจช้ืน ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดกลางบางแกว้

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2

8. นายธนเสฏฐ สภุ ากาศ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านด้ายเทพกาญจนาอุปถัมภ์

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 3

9. นางสาวฐาปนี พวงงาม ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นมัธยมวดั ดาวคะนอง

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

10. นางสาวขนษิ ฐา ก้อนเพชร รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นไร่วทิ ยา

สำนกั งานพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 42

63

คณะทำงานส่วนกลาง

1. นางสาวสริ ิมา หมอนไหม รองผู้อำนวยการสำนกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา

2. นางอรนชุ ม่ังมีสขุ ศิริ ผู้อำนวยการกลมุ่ วิจยั และสง่ เสรมิ การวจิ ยั ทางการศึกษา

สำนกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

3. นางสาวสมพร สามทองกล่ำ ผอู้ ำนวยการกล่มุ วจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอน

สำนักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

4. นายวสนั ต์ สทุ ธาวาศ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการ

สำนกั พฒั นานวตั กรรมการจัดการศึกษา

5. นางสาวกัญญา อินสอน นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา

6. นางสาวไพรวรรณ ตระกูลชยั ชนะ นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการ

สำนักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา

7. นางสาวฉัตรญาดา สบื สาย นกั วิชาการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร

สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา

บรรณาธกิ ารกจิ ผู้อำนวยการกลุ่มวิจยั และพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
นางสาวสมพร สามทองกล่ำ สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

ออกแบบปกและรปู เล่ม รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านไร่วทิ ยา
1. นางสาวขนษิ ฐา ก้อนเพชร สำนกั งานพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 42
ครโู รงเรียนบา้ นไร่วิทยา
2. นายดลชัย อนิ ทรโกสุม สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42
ครโู รงเรยี นบ้านไร่วิทยา
3. นางสาวเกศศิริ คนึงคดิ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 42


Click to View FlipBook Version