The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

OBEC-Art Book-Arts Education Exhibition 2013

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

OBEC-Art Book-Arts Education Exhibition 2013

OBEC-Art Book-Arts Education Exhibition 2013

สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ



ส�ำนกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั
ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตรของ
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ณ วงั ทา่ พระ

๑๒ ตลุ าคม ๒๕๑๓

4

p

“งานด้านการศึกษาศลิ ปะและวฒั นธรรมนน้ัp
คืองานสร้างสรรคค์ วามเจรญิ ทางปัญญาและทางจติ ใจ
ซ่งึ เป็นทั้งต้นเหตุท้งั องค์ประกอบท่ีขาดไม่ไดข้ องความเจรญิ ด้านอืน่ ๆ ทง้ั หมด
และเปน็ ปจั จัยที่จะชว่ ยให้เรารกั ษาและดำ� รงความเป็นไทยไว้ไดส้ บื ไป”

5

สารบญั

สารจากเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๘
สารจากรองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๙
สารจากผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา ๑๐
สารจากผอู้ �ำ นวยการศนู ยศ์ ิลป์สริ ินธร ๑๑
สารจากประธานกรรมการบริหารหอศิลปส์ มเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ฯิ์ ๑๒
เล่าขานงานนทิ รรศน ์ ๑๓
จำ�แนกศลิ ป ์ ๑๗
รางวัลเหรียญทองระดับประเทศ ๒๘
ผลงานศิลปส์ ร้างสรรค ์ ๒๙
ผลงานภาพระบายสี ๔๐
ผลงานภาพไทยประเพณี ๕๑
ผลงานภาพไทยสีเอกรงค ์ ๕๘
ผลงานภาพลายเสน้ ๖๕

รางวัลเหรียญทองระดับภูมิภาค ๗๒
ผลงานศลิ ปส์ ร้างสรรค์ ๗๓
ผลงานภาพระบายส ี ๑๑๔
ผลงานภาพไทยประเพณ ี ๑๕๕

ผลงานภาพไทยสเี อกรงค์ ๑๘๐
ผลงานภาพลายเสน้ ๒๐๕
ประมวลภาพกจิ กรรม ๒๓๐
ประมวลภาพกิจกรรม (ระดบั ประเทศ) ๒๓๑
ประมวลภาพกิจกรรม (ระดับภมู ิภาค) ๒๓๕
ภาคผนวก ๒๔๓
ประกาศส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๒๔๔
หนงั สือประชาสมั พันธ์โครงการ “นิทรรศน์ศลิ ป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” ๒๔๘
คณะกรรมการตัดสนิ ผลงานระดับประเทศ ๒๔๙
ขอขอบคณุ ๒๕๑
คณะผู้จัดทำ� ๒๕๒

7

ศิลปะ คือ ความงามอันเป็นพ้ืนฐานแห่งการดำ�รงอยู่กับธรรมชาติได้อย่างมีความสุขซ่ึงความสำ�คัญน้ันอาจถูกมองข้าม
จากการเรียนการสอนในกรอบของวิชาการไปไม่มากก็น้อย สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตระหนักถึง
ความสำ�คญั ดังกลา่ ว จงึ รเิ ริม่ บูรณาการการเรียนการสอนศิลปะกบั การเรียนรตู้ า่ งๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ผ่านการขับเคล่ือนอย่างมนี ยั สำ�คัญ
ของ “โครงการ Arts Education เพื่อพัฒนาผู้เรียน” ในหลากหลายมติ ิและกจิ กรรมทมี่ งุ่ เนน้ การเสริมสร้างจินตนาการ รวมท้งั พัฒนาการ
ทางด้านอารมณแ์ ละจติ ใจใหเ้ พยี บพรอ้ มสมบูรณ์
การแสดงผลงานนักเรียน “นิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” เป็นหน่ึงในกิจกรรมที่มีประโยชน์และน่าสนใจ โดยนำ�เสนอ
ภาพผลงานที่ชนะการประกวด ท้ังระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ผ่านการจัดแสดงเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยให้นำ้ �หนัก
ของฝีไม้ลายมอื ทางศิลปะเป็นอนั ดบั รอง หากแต่ใหค้ วามสำ�คัญกบั การได้รูจ้ ักความงาม สุนทรียะ และความคดิ สร้างสรรค์ เป็นอนั ดบั ต้น
ถือเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนที่เติบโตข้ึนบนแผ่นกระดาษและผืนผ้าใบ แต่งแต้มสีสันต่างๆ ดุจกระจกสะท้อนความนึกคิด
ทเี่ ปย่ี มดว้ ยจินตนาการของนักเรยี น นับเป็นปฐมบทแห่งการต่อยอดการพฒั นาดา้ นศลิ ปะของนกั เรยี นทย่ี อดเย่ยี ม
ผมขอชืน่ ชมและเปน็ กำ�ลงั ใจใหแ้ ก่ผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกท่าน ตอ่ ความต้งั ใจจรงิ ในการพัฒนานกั เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพ และให้ความสำ�คัญ
กับการพัฒนาการเรียนการสอนศิลปะอย่างต่อเนื่อง จนเกิดแนวทางอันเข้มแข็งในการพัฒนาองค์ความรู้และสุนทรียภาพ
ด้วยความพอเหมาะ กลมกลืน และสมดลุ ดงั่ ป๋ยุ ท่ใี ห้กับเมล็ดพนั ธ์คุ วามรใู้ นตน เบง่ บานกลายเป็นดอกผลแหง่ ปัญญาทีง่ ดงาม

(นายชนิ ภัทร ภูมริ ตั น)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

8

ปัจจุบัน พลังอำ�นาจของแต่ละประเทศวัดจากฐานพลังทางเศรษฐกิจ การวัดขีดความสามารถทางการแข่งขันของชาติ
จึงวัดกันท่ีสมรรถนะของพลเมือง ดังนั้นปฏิเสธไม่ได้ว่าการศึกษาเพ่ือสร้างพลเมืองผู้เป็น “พลังของประเทศชาติ” ให้พร้อม
สู่โลกแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ จึงมีความสำ�คัญอยา่ งย่ิง
เพ่ือเตรียมความพรอ้ มพลเมืองสู่การแข่งขันในเวทีโลก การศึกษาทมี่ งุ่ เนน้ การสรา้ งองค์ความรู้ (Knowledge) และทักษะหลัก
ทเ่ี กี่ยวข้องกับการทำ�งานโดยตรง หรอื Hard Skills ไมเ่ พยี งพออกี ตอ่ ไป พลเมืองตอ้ งได้รับการสรา้ งเสริม Soft Skills ซงึ่ ถอื เป็นทักษะ
ท่สี ง่ เสรมิ ให้การทำ�งานมีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ เช่น ทักษะดา้ นการคิด (คดิ เปน็ ระบบ คิดวเิ คราะห์ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ คิดสร้างสรรค)์
ทักษะในการทำ�งานร่วมกับผู้อื่น (การสอ่ื สารและนำ�เสนอ การทำ�งานเปน็ ทีม) หาก Hard skills ถอื เป็น “ปจั จัยทที่ ำ�ใหค้ นทำ�งานได”้
Soft Skills กถ็ ือเป็น “ปจั จยั ที่ทำ�ให้คนทำ�งานดี” ซึง่ การเรียนร้ผู ่านกระบวนการการสร้างงานศลิ ปะ เป็นหน่งึ ในกิจกรรมทที่ ำ�ให้ผู้เรียน
เกิด Soft Skills ไดเ้ ป็นอย่างดี
สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาได้จัดทำ� “โครงการ Arts Education เพื่อพัฒนาผู้เรียน” และจัดการแสดง
ผลงานนักเรียน “นิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองเป้าประสงค์ของการศึกษาในศตวรรษท่ี ๒๑
เพราะเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ผ่านการใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ นำ�เสนอส่ือออกมาเป็นผลงาน เป็นการฝึกฝน
และพฒั นา Soft Skills รวมถึงทักษะท่จี ำ�เปน็ ตา่ งๆ ทำ�ใหผ้ เู้ รยี นเป็นพลเมืองทมี่ คี วามม่งั ค่ังทางความรแู้ ละมั่นคงทางอารมณ์
ขอชน่ื ชมยนิ ดีกบั ศลิ ปนิ นอ้ ย สพฐ. ทกุ คนทีส่ รา้ งสรรค์ผลงานได้อย่างดีเยี่ยม เป่ียมล้นด้วยฝมี ือ เป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชน
พร้อมท้ังขอขอบคุณคณะผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากรทุกท่าน รวมถึงพ่อแม่ผู้ปกครองท่ีให้การส่งเสริม สนับสนุน ให้ความสำ�คัญ
และเล็งเห็นประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอนศิลปศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการน้ี
จะเปน็ การนำ�ไปสกู่ ารพฒั นาเยาวชนใหพ้ รอ้ มเปน็ พลเมอื ง ทม่ี คี ณุ ภาพ ประสบความสำ�เรจ็ ตามวถิ ชี วี ติ ของมนษุ ยท์ สี่ มบรู ณ แ์ ละเปยี่ มไปดว้ ย
ความสุข เปน็ “พลังของประเทศชาติ” สบื ไปในอนาคต

(นางเบญจลักษณ์ นำ�้ ฟ้า)
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

9

การเรียนรู้ด้านศิลปะสำ�หรับนักเรียนน้ัน มุ่งเน้นให้เกิดความผ่อนคลาย รู้จักการแก้ปัญหา นำ�ไปประยุกต์ใช้ร่วมกับ
สาระการเรียนรู้อื่นและปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำ�วนั ได้ สงิ่ สำ�คัญท่สี ดุ คอื นักเรียนจะได้ฝกึ ใชค้ วามคิดในเชิงสรา้ งสรรค์ และรู้จักการถ่ายทอด
จนิ ตนาการของตนเอง ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ความมงุ่ มัน่ มานะ พยายาม เพ่ือใหบ้ รรลดุ ังเป้าหมายที่กำ�หนดไวอ้ ย่างมีสุนทรียภาพ
เป็นที่น่ายินดีอย่างย่ิงที่มีการจัดแสดงผลงานนักเรียน “นิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” ซ่ึงถือเป็นการต่อยอด
การเรียนรู้ด้านศิลปะสำ�หรับนักเรียนให้มีประโยชน์มากย่ิงขึ้น ทำ�ให้เรามีเวทีให้กับศิลปินตัวน้อยๆ เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียน
ครผู สู้ อน และผเู้ กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ในผลงานทมี่ ผี ลสมั ฤทธเิ์ ปน็ ทป่ี ระจกั ษแ์ ละภาคภมู ใิ จ ขอใหง้ านในครงั้ น้ี เปน็ การจดุ ประกาย
ให้เกิดการเรียนรู้บนฐานแห่งศิลปะ สู่การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประโยชน์ และมีชีวิตชีวามากย่ิงขึ้น
สมดังคำ�กลา่ วของ อลั เบิรต์ ไอนส์ ไตน์ ที่ว่า “จนิ ตนาการ ส�ำ คญั กว่าความรู”้

(นางพจมาน พงษไ์ พบูลย)์
ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา
รกั ษาการในตำ� แหนง่ ท่ีปรึกษาดา้ นการศึกษาพเิ ศษและผู้ดอ้ ยโอกาส
ปฏิบตั ิหน้าทใี่ นตำ� แหน่ง ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา

10

ศิลปะเป็นผลึกทางความคิด จินตนาการและจิตใจของมนุษย์ เป็นส่ิงสะท้อนการเรียนรู้ปรากฏการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม
และสิ่งแวดล้อมรอบตัวอย่างใคร่ครวญ เป็นผลงานที่สร้างสุนทรียภาพ ความปิติ อิ่มเอมใจแก่ผู้ชม ผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
จึงต้องเป็นบุคคลทีใ่ ฝ่เรียนรู้ ชา่ งคิด ช่างสงั เกต และมีความขยัน หม่ันเพยี รในการฝกึ ฝนทักษะ การปลกู ฝงั ศิลปะใหก้ บั เดก็ และเยาวชน
จึงเปน็ การบม่ เพาะความคิด จินตนาการ ความมสี นุ ทรียภาพ รวมถงึ การตระหนกั ถึงคุณค่าของสิ่งแวดลอ้ มและภมู ิปญั ญาของคนในสงั คม
ทำ�ให้เยาวชนมีจิตใจที่ละเอียดอ่อน เป็นพื้นฐานของความดีและสันติสุข ประเทศที่พัฒนาแล้วท่ัวโลก จึงให้ความสำ�คัญในการส่งเสริม
กจิ กรรมทางศลิ ปะ
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตระหนักถึงความสำ�คัญของศิลปะดังกล่าว จึงได้จัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ชาตติ อ่ เนอ่ื งนบั เปน็ ครง้ั ท่ี ๖๒ และครบรอบ ๑๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ น้ี สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ได้เพ่ิมการจัดค่ายบ่มเพาะทัศนศิลป์ ต่อยอดนักคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งในการจัดต้ังศูนย์บ่มเพาะอัจฉริยภาพทางทัศนศิลป์
ของเยาวชนเป็นครั้งแรกของประเทศ นับว่าเป็นก้าวสำ�คัญของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในการจัดกิจกรรม
และจัดตั้งศูนย์ศิลปะที่มีมาตรฐานสากล ให้กระจายไปยังภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ ให้นักเรียนได้เรียนรู้จากศิลปินแห่งชาติ
และอาจารย์ผู้เชีย่ วชาญการสอนศิลปะ เพ่อื เป็นฐานในการจัดกจิ กรรมพฒั นาเยาวชนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
การจัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภูมิภาคและระดับชาติ ครั้งท่ี ๖๒ และค่ายบ่มเพาะทัศนศิลป์ต่อยอดนักคิดสร้างสรรค์
ของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีนำ�มาสู่การจัดการแสดงผลงานศิลปะหลากหลายประเภทของนักเรียนทุกระดับช้ัน
ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นหอศิลป์ท่ีมีช่ือเสียงของประเทศ จึงนับเป็นก้าวสำ�คัญ
ท่ีแสดงถึงความมุ่งมั่นของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่จะบ่มเพาะและต่อยอดความสามารถทางทัศนศิลป์
ของเยาวชนไทยอยา่ งจรงิ จงั และย่ังยืน

(ครสู ังคม ทองมี)
ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศลิ ป์สิรนิ ธร

11

โครงการ “นิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” เป็นอีกหนึ่งเวทีสำ�คัญทางศิลปะที่เปิดโอกาสให้เยาวชนไทยได้แสดงออก
ซ่งึ ความคดิ สร้างสรรค์ และจินตนาการของเด็กไทยยคุ ใหม่
ผลงานที่ได้รับคัดเลือกให้นำ�มาจัดแสดงในคร้ังนี้ มีเน้ือหาสาระและแนวคิดท่ีลึกซ้ึงน่าช่ืนชม ในความสามารถของเยาวชนทุกคน
ทงั้ ยังจะช่วยจุดประกายใหเ้ ยาวชนทไี่ ด้มาชมนทิ รรศการ ไดเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดุจเดียวกับศิลปนิ น้อยเหลา่ นี้
ในนามของหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ผมขอแสดงความยินดีกับเยาวชนทุกคนท่ีมีผลงานดีเด่น
เป็นท่ียกย่อง และขอช่ืนชมสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีอยู่เบ้ืองหลังความสำ�เร็จในการปลูกฝังเยาวชนไทย
ให้รักในงานศิลปะ ซาบซึ้งในความงดงามของธรรมชาติ และรู้จักใช้เวลาสร้างสรรค์ผลงานอันมีคุณค่า ผมหวังเป็นอย่างย่ิง
ว่าโครงการ “นิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” จะมีส่วนอย่างสำ�คัญในการพัฒนาชีวิต และกล่อมเกลาจิตใจของเยาวชนไทยให้เติบโต
เปน็ คนดีของสังคมไทยต่อไป

(นายโฆสติ ป้ันเปี่ยมรัษฎ)์
ประธานกรรมการบริหารหอศิลป์สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชินนี าถ

12

เลา่ ขานงานนทิ รรศน์

13

หลักการและเหตุผล

สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยสำ�นกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา ไดด้ ำ�เนนิ โครงการ Arts Education
เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียน ด้วยการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ทางศิลปะ ซ่ึงสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นสาระการเรียนรู้
ท่ีบรรจุไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยเป็นท่ียอมรับว่า กิจกรรมด้านศิลปะมีความสำ�คัญ
และมีบทบาทต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สติปัญญา อารมณ์ สังคมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในตัวผู้เรียน
ได้เป็นอย่างดี เพราะกิจกรรมศิลปะเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง ที่มีการแสดงออกทางความคิด ถ่ายทอดรูปแบบ เรื่องราว ความถนัด
และความสนใจอยา่ งอสิ ระตามจนิ ตนาการของผสู้ รา้ งผลงาน เนน้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรจู้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ รจู้ กั คดิ เปน็ ทำ�เปน็ สามารถแกป้ ญั หา
ได้ดว้ ยตนเอง นอกจากน้แี ล้ว ยงั เปน็ การปฏิบตั ิทผ่ี ่อนคลาย สรา้ งสมาธิ สร้างสุนทรียภาพ และสง่ เสริมการใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์
ผลงานสร้างสรรค์ด้านศิลปะของนักเรียนอันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนการสอนทางด้านศิลปะ ได้รับการส่งเสริม
และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้เกิดผลเชิงประจักษ์ได้จากผลงานท่ีนักเรียนสร้างสรรค์ข้ึนในการแข่งขันผลงานทางวิชาการ
และศิลปหัตถกรรมนักเรียน ที่ทางสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้จัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี โดยในปีนี้
สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ได้รวบรวมผลงานศิลปะและนำ�ผลงานของนักเรียน โดยเฉพาะผลงานในกลุ่มทัศนศิลป์
มาจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน ภายใต้โครงการ Arts Education เพ่ือพัฒนาคุณภาพนักเรียน ในชื่องานว่า
“นิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.” (OBEC Arts Education Exhibition 2013) เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน
ได้ร่วมชน่ื ชม ยินดี เปน็ เวทแี หง่ แลกเปล่ียนเรียนร้อู ยา่ งสรา้ งสรรค์ ส่งเสริมและกระต้นุ ให้เกิดพลังในการพัฒนางานเกีย่ วกบั ศลิ ปศึกษา
และคุณภาพผู้เรยี น

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้พัฒนาความรู้ ทักษะ และเรียนรู้เกี่ยวกับงานศิลปะ
แขนงตา่ งๆ สามารถแสดงออกทางด้านศิลปะ ไดต้ ามความคดิ อสิ ระ สรา้ งสรรค์ และเหมาะสม

๒. เพ่ือประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ศักยภาพและผลงานด้านศิลปะของนักเรียนในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขึ้นพน้ื ฐาน

๓. เพ่ือเป็นเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ซาบซ้ึงงานศิลปะและสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำ�วันได้

14

เป้าหมาย

ผลงานท่ีนำ�เสนอ คัดเลือกจากผลงานนักเรียนที่ชนะเลิศการแข่งขัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์
ในงานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน คร้งั ที่ ๖๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕ ระดบั ภูมิภาค ๔ ภูมิภาค และระดบั ชาติ พร้อมผลงานการต่อยอด
พฒั นาเยาวชน นักคิด นักสร้างสรรค์ รวมจำ�นวนมากกวา่ ๓๐๐ ผลงาน
ผู้เข้าร่วมงาน ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการและสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ผู้อำ�นวยการเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักวิชาการศึกษา นักเรียน ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ
รวมจำ�นวนมากกวา่ ๑,๐๐๐ คน

ลักษณะงาน

๑. การจัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะของนักเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระทศั นศิลป์
๒. การแลกเปลีย่ นเรียนรดู้ า้ นศลิ ปะ สาระทศั นศิลป์
๓. การต่อยอดพฒั นา นกั คิด นักสร้างสรรค์

ระยะเวลาและสถานที่

ก า ร แ ส ด ง ผ ล ง า น ศิ ล ป ะ ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ห ว่ า ง วั น ท่ี ๒ ๕ เ ม ษ า ย น – ๒ ๒ มิ ถุ น า ย น พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๖
ณ หอศลิ ป์สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ กรงุ เทพมหานคร

ผลท่คี าดว่าจะได้รับ

๑. นกั เรียน ได้พัฒนาความรู้ และทักษะเกย่ี วกบั งานศลิ ปะแขนงต่างๆ สามารถแสดงออกทางด้านศิลปะไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์
๒. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ นักวิชาการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง สามารถพัฒนาการจัดกิจกรรม

การเรยี นรูศ้ ิลปะท่ีสง่ เสรมิ ให้เกิดคุณภาพผ้เู รียนได้
๓. ช่วยประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานศิลปะของนักเรียนสู่สาธารณชน ได้ร่วมชื่นชม ยินดี และเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้

อย่างสร้างสรรค์ และสามารถนำ�ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำ�วันได้

15

ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ

กล่มุ วจิ ัยและพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
สำ�นักพฒั นานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๘๙๒, ๐ ๒๒๘๐ ๕๔๙๔
โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๕๕๕๙
E-mail: [email protected]

16

จำ� แนกศลิ ป์

๑.ศิลป์สร้างสรรค์

คณุ สมบัตผิ ู้เข้าแข่งขัน
• เปน็ นักเรียนระดับชั้น ป.๑-ป.๓
• เป็นนักเรียนระดบั ชน้ั ป.๔-ป.๖
• เปน็ นกั เรียนระดบั ช้ัน ม.๑-ม.๓
• เปน็ นักเรียนระดบั ชนั้ ม.๔-ม.๖

ประเภทและจ�ำนวนผ้เู ข้าแข่งขนั
แข่งขนั เป็นทีม ๓ คน

จ�ำนวนผเู้ ขา้ แข่งขัน
• เปน็ นกั เรยี นระดับชั้น ป.๑-ป.๓ จำ�นวน ๑ ทมี
• เป็นนกั เรียนระดับชั้น ป.๔-ป.๖ จำ�นวน ๑ ทีม
• เป็นนกั เรยี นระดบั ชน้ั ม.๑-ม.๓ จำ�นวน ๑ ทมี
• เปน็ นักเรียนระดับชัน้ ม.๔-ม.๖ จำ�นวน ๑ ทมี

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑๐๐ คะแนน ๒๐ คะแนน
ความคดิ สร้างสรรค ์ ๒๐ คะแนน
ความสวยงามของรูปภาพ ๒๐ คะแนน
ความสอดคลอ้ งของภาพกบั หวั ข้อทก่ี ำ�หนด ๒๐ คะแนน
ความสมบรู ณแ์ ละการจดั องค์ประกอบของภาพ ๒๐ คะแนน
เทคนิคการใช้สี

เกณฑ์การตดั สิน
รอ้ ยละ ๘๐-๑๐๐ ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรยี ญทอง
ร้อยละ ๗๐-๗๙ ได้รับรางวัลระดบั เหรยี ญเงนิ
ร้อยละ ๖๐-๖๙ ได้รับรางวลั ระดบั เหรียญทองแดง
ต่ำ�กวา่ ร้อยละ ๖๐ ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร เวน้ แตก่ รรมการจะเหน็ เป็นอยา่ งอน่ื

18

คณะกรรมการการแขง่ ขนั ระดบั ช้นั ละ ๓ หรอื ๕ คน
คุณสมบตั ขิ องคณะกรรมการ

• เปน็ ศกึ ษานิเทศกท์ ร่ี บั ผดิ ชอบกลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
• เป็นครทู ท่ี ำ�การสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ
• ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นด้านศิลปะ
ขอ้ ควรค�ำนึง
• กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแขง่ ขนั
• กรรมการที่มาจากครูผสู้ อนควรแตง่ ตั้งใหต้ ัดสินในระดบั ชน้ั ท่ีทำ�การสอน
• กรรมการควรมีที่มาจากสำ�นกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาอืน่ อย่างหลากหลาย
• กรรมการคววรใหข้ อ้ เสนอแนะเตมิ เตม็ ให้กบั นักเรยี นท่ชี นะในลำ�ดับที่ ๑-๓

และจดั แสดงผลงานต่อสาธารณชน
การแขง่ ขนั ระดบั ชาติ

• ทีมท่ีได้คะแนนสูงสุด ลำ�ดับท่ี ๑-๓ จากการแข่งขันระดับภาค
จะได้เป็นตวั แทนเข้าแขง่ ขันในระดบั ชาติ

• กรณีท่มี ที ีมในลำ�ดับสงู สดุ เกินกวา่ ๓ ทมี ให้พจิ ารณาลำ�ดบั ที่
ตามลำ�ดับขอ้ ของเกณฑ์การให้คะแนน เชน่
มีผู้ทไ่ี ด้คะแนนข้อท่ี ๑ เทา่ กนั ใหด้ คู ะแนนขอ้ ท่ี ๒
ทีมใดได้คะแนนข้อท่ี ๒ มากกว่าถอื เปน็ ผชู้ นะ
แตถ่ ้าขอ้ ที่ ๒ เท่ากันใหด้ คู ะแนนในลำ�ดับถัดไป
กรณคี ะแนนเทา่ กันทุกข้อใหใ้ ชว้ ิธีจับฉลาก

ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพจิ ารณา ในระดบั ชาตคิ วรตอ่ ยอด
โดยการจดั คา่ ยพัฒนาทักษะด้านศลิ ปะ

19

๒. ภาพระบายสี

คณุ สมบตั ผิ ู้เข้าแข่งขนั
• เปน็ นกั เรยี นระดบั ชน้ั ป.๑-ป.๓
• เป็นนักเรียนระดบั ช้นั ป.๔-ป.๖
• เปน็ นักเรยี นระดับชน้ั ม.๑-ม.๓
• เป็นนักเรยี นระดบั ชนั้ ม.๔-ม.๖

ประเภทและจ�ำนวนผ้เู ขา้ แข่งขนั
ประเภทเด่ียว

จ�ำนวนผ้เู ข้าแขง่ ขัน
• เปน็ นกั เรียนระดับชั้น ป.๑-ป.๓ จำ�นวน ๑ คน
• เปน็ นกั เรยี นระดบั ช้ัน ป.๔-ป.๖ จำ�นวน ๑ คน
• เปน็ นักเรียนระดับชั้น ม.๑-ม.๓ จำ�นวน ๑ คน
• เปน็ นกั เรยี นระดบั ช้ัน ม.๔-ม.๖ จำ�นวน ๑ คน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑๐๐ คะแนน ๒๐ คะแนน
ความสวยงามและการจัดองคป์ ระกอบของภาพ ๒๐ คะแนน
ความคิดสร้างสรรค ์ ๒๐ คะแนน
เทคนคิ การใช้สี ๒๐ คะแนน
ความสอดคล้องของภาพกบั หวั ข้อที่กำ�หนด ๒๐ คะแนน
ความประณตี ความสมบูรณข์ องงาน

เกณฑก์ ารตัดสนิ
ร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญทอง
รอ้ ยละ ๗๐-๗๙ ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญเงิน
ร้อยละ ๖๐-๖๙ ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญทองแดง
ต่ำ�กวา่ ร้อยละ ๖๐ ได้รบั เกยี รติบัตร เว้นแตก่ รรมการจะเห็นเปน็ อยา่ งอน่ื

20

คณะกรรมการการแข่งขนั ระดบั ชนั้ ละ ๓ หรอื ๕ คน
คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ

• เปน็ ศึกษานิเทศก์ท่ีรับผดิ ชอบกลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
• เปน็ ครทู ที่ ำ�การสอนกลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ
• ผทู้ รงคณุ วุฒิในด้านศิลปะ
ขอ้ ควรค�ำนึง
• กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขา้ แข่งขัน
• กรรมการทมี่ าจากครูผสู้ อนควรแตง่ ต้ังให้ตัดสนิ ในระดบั ชัน้ ทที่ ำ�การสอน
• กรรมการควรมที ี่มาจากสำ�นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาอน่ื อย่างหลากหลาย
• กรรมการคววรใหข้ ้อเสนอแนะเติมเตม็ ให้กบั นักเรียนทชี่ นะในลำ�ดับท่ี ๑-๓

และจัดแสดงผลงานต่อสาธารณชน
การแข่งขันระดับชาติ

• ทีมทไี่ ดค้ ะแนนสงู สุด ลำ�ดับที่ ๑-๓ จากการแขง่ ขนั ระดับภาค
จะไดเ้ ป็นตัวแทนเขา้ แขง่ ขันในระดบั ชาติ

• กรณีท่ีมที ีมในลำ�ดับสงู สุดเกินกว่า ๓ ทมี ใหพ้ จิ ารณาลำ�ดับที่
ตามลำ�ดับขอ้ ของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น
มผี ู้ท่ไี ด้คะแนนข้อท่ี ๑ เท่ากันให้ดคู ะแนนขอ้ ที่ ๒
ทีมใดได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถอื เป็นผู้ชนะ
แตถ่ า้ ข้อท่ี ๒ เทา่ กนั ใหด้ ูคะแนนในลำ�ดบั ถดั ไป
กรณีคะแนนเท่ากนั ทุกข้อให้ใช้วธิ ีจับฉลาก

ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพิจารณา ในระดบั ชาติควรต่อยอด
โดยการจดั คา่ ยพฒั นาทักษะดา้ นศิลปะ

21

๓. ภาพไทยประเพณี

คุณสมบตั ิผูเ้ ข้าแข่งขนั
• เป็นนักเรียนระดับช้นั ม.๑-ม.๓
• เปน็ นักเรยี นระดับชั้น ม.๔-ม.๖

ประเภทและจำ� นวนผ้เู ข้าแขง่ ขัน
ประเภทเดี่ยว

จ�ำนวนผเู้ ขา้ แขง่ ขัน
• เป็นนักเรยี นระดับชั้น ม.๑-ม.๓ จำ�นวน ๑ คน
• เป็นนกั เรยี นระดบั ชั้น ม.๔-ม.๖ จ�ำ นวน ๑ คน

เกณฑก์ ารให้คะแนน ๑๐๐ คะแนน ๒๐ คะแนน
ความสวยงามทางรูปแบบศิลปะ ๒๐ คะแนน
ความถกู ต้องของลักษณะภาพไทยและ ๒๐ คะแนน
ความสอดคล้องกับหัวข้อทก่ี �ำ หนด ๒๐ คะแนน
เทคนิคการใช้สีพหุรงค ์ ๒๐ คะแนน
การจดั องค์ประกอบของภาพ
ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์

22

เกณฑ์การตัดสนิ
รอ้ ยละ ๘๐-๑๐๐ ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรยี ญทอง
รอ้ ยละ ๗๐-๗๙ ได้รบั รางวลั ระดบั เหรยี ญเงนิ
ร้อยละ ๖๐-๖๙ ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญทองแดง
ต่ำ�กวา่ ร้อยละ ๖๐ ไดร้ บั เกียรตบิ ตั ร เวน้ แตก่ รรมการจะเหน็ เปน็ อย่างอน่ื

คณะกรรมการการแขง่ ขัน ระดับช้นั ละ ๓ หรือ ๕ คน
คณุ สมบัตขิ องคณะกรรมการ

• เป็นศึกษานิเทศกท์ ี่รับผดิ ชอบกลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ
• เปน็ ครูที่ทำ�การสอนกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
• ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นด้านศิลปะ
ขอ้ ควรค�ำนงึ
• กรรมการต้องไมต่ ัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแขง่ ขัน
• กรรมการทม่ี าจากครูผ้สู อนควรแตง่ ตัง้ ใหต้ ดั สนิ ในระดบั ชนั้ ทที่ ำ�การสอน
• กรรมการควรมที ี่มาจากสำ�นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาอื่นอยา่ งหลากหลาย
• กรรมการคววรใหข้ อ้ เสนอแนะเตมิ เต็มให้กับนกั เรียนที่ชนะในลำ�ดบั ที่ ๑-๓ และจัดแสดงผลงานต่อสาธารณชน
การแข่งขนั ระดับชาติ
• ทีมท่ีไดค้ ะแนนสูงสุด ลำ�ดบั ที่ ๑-๓ จากการแข่งขันระดบั ภาคจะไดเ้ ป็นตวั แทนเข้าแขง่ ขันในระดับชาติ
• กรณีที่มีทีมในลำ�ดับสูงสุดเกินกว่า ๓ ทีมให้พิจารณาลำ�ดับที่ตามลำ�ดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น

มผี ู้ท่ีได้คะแนนข้อที่ ๑ เทา่ กันให้ดูคะแนนข้อที่ ๒ ทีมใดไดค้ ะแนนขอ้ ที่ ๒ มากกว่าถอื เป็นผูช้ นะ แต่ถา้ ขอ้ ท่ี ๒
เทา่ กันใหด้ คู ะแนนในลำ�ดบั ถดั ไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกขอ้ ใหใ้ ช้วธิ จี ับฉลาก
ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพจิ ารณา ในระดบั ชาตคิ วรต่อยอดโดยการจดั คา่ ยพัฒนาทกั ษะดา้ นศิลปะ

23

๔. ภาพไทยสเี อกรงค์

คุณสมบัตผิ ูเ้ ขา้ แขง่ ขัน
• เปน็ นักเรยี นระดบั ชน้ั ม.๑-ม.๓
• เปน็ นักเรียนระดบั ชน้ั ม.๔-ม.๖

ประเภทและจ�ำนวนผ้เู ข้าแข่งขนั
ประเภทเด่ยี ว

จ�ำนวนผู้เข้าแข่งขนั
• เปน็ นักเรยี นระดับช้นั ม.๑-ม.๓ จำ�นวน ๑ คน
• เปน็ นกั เรยี นระดบั ชั้น ม.๔-ม.๖ จำ�นวน ๑ คน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑๐๐ คะแนน ๒๐ คะแนน
การจดั องค์ประกอบของภาพ ๒๐ คะแนน
ความถกู ต้องของลักษณะภาพจิตรกรรมไทยและ ๒๐ คะแนน
ความสอดคลอ้ งกบั หวั ข้อทก่ี ำ�หนด ๒๐ คะแนน
เทคนคิ การใชส้ เี อกรงค์ ๒๐ คะแนน
ความสวยงามทางรปู แบบจติ รกรรมไทย
ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค ์

เกณฑก์ ารตดั สิน
ร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ได้รบั รางวลั ระดบั เหรียญทอง
รอ้ ยละ ๗๐-๗๙ ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญเงนิ
รอ้ ยละ ๖๐-๖๙ ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญทองแดง
ต่ำ�กว่ารอ้ ยละ ๖๐ ไดร้ บั เกยี รตบิ ัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเปน็ อยา่ งอน่ื

24

คณะกรรมการการแข่งขนั ระดับชน้ั ละ ๓ หรอื ๕ คน
คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ

• เป็นศกึ ษานเิ ทศกท์ ี่รับผดิ ชอบกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
• เป็นครูทีท่ ำ�การสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
• ผู้ทรงคุณวุฒใิ นด้านศิลปะ
ขอ้ ควรค�ำนงึ
• กรรมการต้องไม่ตัดสนิ ในกรณสี ถานศกึ ษาของตนเขา้ แขง่ ขนั
• กรรมการที่มาจากครูผูส้ อนควรแต่งตงั้ ให้ตัดสินในระดบั ช้ันท่ที ำ�การสอน
• กรรมการควรมีทม่ี าจากสำ�นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาอ่นื อยา่ งหลากหลาย
• กรรมการคววรใหข้ ้อเสนอแนะเติมเตม็ ใหก้ บั นกั เรยี นท่ชี นะในลำ�ดับท่ี ๑-๓ และจัดแสดงผลงานตอ่ สาธารณชน
การแขง่ ขนั ระดับชาติ
• ทมี ท่ีได้คะแนนสูงสดุ ลำ�ดบั ที่ ๑-๓ จากการแข่งขนั ระดบั ภาคจะได้เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันในระดบั ชาติ
• กรณีที่มีทีมในลำ�ดับสูงสุดเกินกว่า ๓ ทีมให้พิจารณาลำ�ดับท่ีตามลำ�ดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น

มีผู้ที่ได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากันให้ดูคะแนนข้อท่ี ๒ ทีมใดได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒
เท่ากันใหด้ คู ะแนนในลำ�ดับถดั ไป กรณคี ะแนนเทา่ กันทุกขอ้ ใหใ้ ชว้ ิธจี บั ฉลาก
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพิจารณา ในระดับชาตคิ วรตอ่ ยอดโดยการจดั คา่ ยพฒั นาทกั ษะด้านศิลปะ

25

๕ ภาพลายเส้น

คณุ สมบัตผิ เู้ ขา้ แข่งขัน
• เปน็ นกั เรียนระดบั ชัน้ ม.๑-ม.๓
• เปน็ นกั เรียนระดบั ชั้น ม.๔-ม.๖

ประเภทและจ�ำนวนผูเ้ ขา้ แขง่ ขัน
ประเภทเดี่ยว

จ�ำนวนผเู้ ขา้ แขง่ ขนั
• เป็นนักเรยี นระดับช้นั ม.๑-ม.๓ จำ�นวน ๑ คน
• เปน็ นักเรยี นระดบั ชัน้ ม.๔-ม.๖ จำ�นวน ๑ คน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑๐๐ คะแนน ๒๐ คะแนน
ลักษณะความสมบูรณข์ องเส้น ๒๐ คะแนน
ความถกู ตอ้ งของแสงเงา ๒๐ คะแนน
การจัดภาพ / องค์ประกอบ ๒๐ คะแนน
ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ๒๐ คะแนน
ความสมบรู ณ์ ความประณีตของชนิ้ งาน
ความสอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้ ท่กี ำ�หนด

26

เกณฑก์ ารตดั สิน
ร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญทอง
รอ้ ยละ ๗๐-๗๙ ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญเงิน
ร้อยละ ๖๐-๖๙ ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง
ต่ำ�กว่าร้อยละ ๖๐ ไดร้ บั เกยี รติบัตร เวน้ แต่กรรมการจะเหน็ เปน็ อยา่ งอ่ืน

คณะกรรมการการแข่งขัน ระดบั ชั้นละ ๓ หรือ ๕ คน
คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ

• เปน็ ศึกษานิเทศก์ทร่ี บั ผิดชอบกลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
• เป็นครทู ี่ทำ�การสอนกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
• ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นดา้ นศลิ ปะ
ขอ้ ควรค�ำนึง
• กรรมการต้องไมต่ ัดสนิ ในกรณีสถานศกึ ษาของตนเขา้ แขง่ ขัน
• กรรมการทม่ี าจากครูผูส้ อนควรแต่งต้งั ใหต้ ัดสนิ ในระดับช้นั ทีท่ ำ�การสอน
• กรรมการควรมีทม่ี าจากสำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอน่ื อยา่ งหลากหลาย
• กรรมการคววรใหข้ อ้ เสนอแนะเติมเต็มให้กับ

นักเรียนที่ชนะในลำ�ดับท่ี ๑-๓ และจัดแสดงผลงานต่อสาธารณชน
การแข่งขนั ระดับชาติ

• ทีมท่ีได้คะแนนสงู สดุ ลำ�ดบั ท่ี ๑-๓ จากการแข่งขันระดับภาค
จะได้เปน็ ตัวแทนเข้าแข่งขันในระดบั ชาติ

• กรณีทมี่ ที มี ในลำ�ดับสูงสดุ เกินกวา่ ๓ ทีม
ใหพ้ ิจารณาลำ�ดบั ทีต่ ามลำ�ดับข้อของเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เช่น
มีผู้ที่ไดค้ ะแนนขอ้ ท่ี ๑ เทา่ กนั ให้ดคู ะแนนขอ้ ที่ ๒
ทมี ใดไดค้ ะแนนขอ้ ท่ี ๒ มากกวา่ ถอื เป็นผชู้ นะ แต่ถ้าขอ้ ที่ ๒ เท่ากัน
ให้ดคู ะแนนในลำ�ดับถัดไป กรณคี ะแนนเทา่ กนั ทกุ ข้อให้ใชว้ ธิ จี ับฉลาก

ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพิจารณา ในระดบั ชาติควรต่อยอด

27

รางวลเหรยี ญทองระดบประเทศ

28

ศลิ ป์สรา้ งสรรค์

“ จินตนาการ สรรสร้างศลิ ป์วจิ ิตร

แต่งแตม้ สีเนรมิต งานสร้างสรรค์ ”

29

รางวัลชนะเลศิ เหรียญทอง

ชือ่ เดก็ ชายปราโมทย์ ปราชกระโทก
ช่อื เด็กชายธชั พล แกว้ กำ� กง
ชื่อ เด็กหญิงศริ กิ ร ฉวีรมั ย์
ระดับชนั้ ป.๑-ป.๓
โรงเรยี นบา้ นไทยสามคั คี
สังกัด ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต ๒
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้ว
ครผู ู้สอน นายสิทธชิ ัย จนั ทร์คลาย
ครูผูส้ อน นางวิมลฉัตร ชาวดา่ น

30

รางวัลรองชนะเลิศเหรียญทองอนั ดับท่ี ๑ รางวลั รองชนะเลิศเหรยี ญทองอันดับที่ ๒

ชือ่ เดก็ หญิงพลอยพรรณ ธัญญโกเศศสุข ชื่อ เด็กชายชติ ตะวัน จันทะดวง
ชอ่ื เดก็ หญิงเกศกนก มบี ญุ ชื่อ เดก็ ชายภบู ดนิ ทร์ ชมภพู ฤกษ์
ชอ่ื เดก็ หญงิ เสาวภาคย์ กระจ่างพมุ่ ชอื่ เด็กชายวริ ยิ ะ สาสงิ ห์
ระดบั ชั้น ป.๑-ป.๓ ระดบั ชัน้ ป.๑-ป.๓
โรงเรียนอนุบาลสมุทรสาคร โรงเรยี นอนบุ าลรอ้ ยเอด็
สังกดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร สังกัด ส�ำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต ๑
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ น้ิว ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นว้ิ
ครูผู้สอน นางสาวพวงทิพย์ หมุยจนิ ดา ครูผสู้ อน นางอมรรตั น์ โพธิจ์ ักร
ครูผู้สอน นางสาววัฒนา เชยจติ ต์ ครูผสู้ อน นายถาวร จนั ทร์ขอนแกน่

31

รางวัลชนะเลิศเหรยี ญทอง

ชอื่ เดก็ หญิงกานต์ธดิ า ค�ำกลอง
ชื่อ เดก็ หญงิ เปรมวดี แก้วก�ำกง
ชื่อ เดก็ หญงิ จริ ชั ญา แกว้ กำ� กง
ระดบั ชั้น ป.๔-ป.๖
โรงเรยี นบา้ นไทยสามคั คี
สังกัด สำ� นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสระแก้ว เขต ๒
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้
ครผู ูส้ อน นายสทิ ธชิ ยั จันทร์คลาย
ครูผสู้ อน นางเยาวพาณี มะปรางค์

32

รางวัลรองชนะเลศิ เหรียญทองอันดับที่ ๒

ชือ่ เด็กหญิงชฎาพร ช�ำนินา
ชอ่ื เดก็ หญิงสชุ ัญญา ปราบดิน
ช่อื เด็กหญงิ อัสซารีนา งานแข็ง
ระดบั ชนั้ ป.๔-ป.๖
โรงเรยี นบา้ นคลองบอน
สังกดั ส�ำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพังงา
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ น้วิ
ครผู สู้ อน นายกมลพนั ธ์ งานแข็ง
ครูผสู้ อน นางขนษิ ฐา เบ็ญอ้าหมาด

รางวัลรองชนะเลศิ เหรยี ญทองอันดบั ท่ี ๑

ชือ่ เด็กหญงิ ฐติ ิยาพร เศษโถ
ช่ือ เด็กหญงิ สาวิตรี เย็นศริ ิ
ช่อื เดก็ หญงิ เสาวลกั ษณ์ เหนอื โท
ระดบั ช้นั ป.๔-ป.๖
โรงเรยี นบา้ นกู่กาสงิ ห์
สงั กดั ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต ๒
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นว้ิ
ครูผู้สอน นายสุชาติ จำ� ปาทิพย์
ครผู สู้ อน นางพรพมิ ล จำ� ปาทิพย์

33

รางวลั ชนะเลศิ เหรียญทอง

ช่ือ เด็กหญิงสกุ ฤตตา คล้ายกุล
ชอ่ื เดก็ หญิงปภานนั ท์ จนี อาศัย
ชอ่ื เด็กหญิงฉตั รลดา เกาทณั ฑ์
ระดบั ช้ัน ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นบา้ นบุ (ประชารฐั พฒั นา)
สงั กดั ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา

นครราชสมี า เขต ๑
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นว้ิ
ครผู ู้สอน นางเนาวรตั น์ กาญจนะแก้ว

34

รางวัลรองชนะเลศิ เหรียญทองอันดบั ท่ี ๑

ชอ่ื เดก็ หญงิ ชอ่ ผกา มัชฌมิ า
ชอ่ื เดก็ หญิงวารีรัตน์ อุทธาพงษ์
ชอ่ื เดก็ หญงิ รตั นาภรณ์ อนิ แพง
ระดบั ชั้น ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นบ้านช�ำแระกลาง
สังกดั ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นว้ิ
ครผู สู้ อน นางสาวจิตรว์ ริน นพมิตร
ครผู ้สู อน นายโกมล วเิ ชียร

รางวัลรองชนะเลศิ เหรยี ญทองอนั ดบั ท่ี ๒

ชอ่ื เดก็ ชายกติ ติ สงิ หค์ ำ�
ชอ่ื เดก็ หญงิ อรพิณ ลงุ ตะ๊
ชอ่ื เดก็ หญิงเฉลมิ แข แซย่ า่ ง
ระดบั ชัน้ ม.๑-ม.๓
โรงเรียนเจ้าแมห่ ลวงอุปถมั ภ์ ๑
สงั กดั ส�ำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต ๓
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้ว
ครูผู้สอน นางสาวอำ� พร สังบญุ
ครผู ู้สอน นายอดุ ม สาลี

35

รางวัลชนะเลิศเหรยี ญทอง

ชือ่ เดก็ หญงิ จนั ทรตั น์ ไชยราช
ชื่อ เดก็ ชายเกษมชาติ พรมสอน
ชอ่ื เด็กชายภรู นิ ท์ กัลยารตั น์
ระดับชน้ั ม.๑-ม.๓
โรงเรียนอำ� นาจเจรญิ
สังกดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๒๙
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้ว
ครูผู้สอน นายไพฑูรย์ สนุ ทรกั ษ์
ครผู ู้สอน นางสุรพี ร สุนทรักษ์

36

รางวัลรองชนะเลศิ เหรยี ญทองอนั ดบั ท่ี ๑ รางวลั รองชนะเลิศเหรียญทองอนั ดับท่ี ๒

ชอ่ื เดก็ ชายศาสนะ แกว้ แฝก ช่อื เด็กชายอนุวฒั น์ อนิ พู่
ชอ่ื เดก็ หญิงเบญญา พลประสทิ ธ์ิ ช่ือ เดก็ ชายเกรยี งไกร บุญอกั ษร
ชอ่ื เดก็ หญงิ ภทั รนิ เจนชบู ัว ชื่อ เด็กหญิงปศั ญารตั น์ นพี นั ดงุ
ระดบั ช้ัน ม.๑-ม.๓ ระดับชั้น ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นวรี นาทศึกษามูลนิธิ โรงเรยี นบญุ วัฒนา
สังกดั สำ� นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑๒ สงั กดั สำ� นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๑
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้ว ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้ว
ครผู ู้สอน นายวีระชาติ จันทรัตน์ ครผู สู้ อน นางสาวจนั ธิดา อุบลเทพชยั
ครูผู้สอน นางมาลี เพ็ชรกาศ ครผู สู้ อน นายวริ ชั เตมิ ศกั ด์ิ

37

รางวัลชนะเลศิ เหรยี ญทอง

ช่อื นายสุบรรณกริช ไกรคุ้ม
ชอ่ื นายนิธิกร บุญอกั ษร
ชอ่ื นายเจนณรงค์ แคะมะดนั
ระดับช้ัน ม.๔-ม.๖
โรงเรยี นบุญวฒั นา
สงั กดั สำ� นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๓๑
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นวิ้
ครผู ู้สอน นางสาวจนั ธดิ า อุบลเทพชัย
ครผู ู้สอน นายวิรัช เตมิ ศกั ดิ์

38

รางวลั รองชนะเลิศเหรียญทองอนั ดบั ที่ ๑

ชื่อ นายกมล สุวรรณ
ชื่อ นางสาวรสรนิ ทร์ เชอ้ื เมืองพาน
ชอื่ นางสาวนนั ทวนั จันทรงั ษี
ระดับชนั้ ม.๔-ม.๖
โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๑๕
สงั กัด สำ� นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๓๖
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นว้ิ
ครผู ู้สอน นายศภุ กิจ ไชยรนิ ทร์

รางวลั รองชนะเลศิ เหรียญทองอันดบั ที่ ๒

ชอ่ื นางสาวธวชั ญาภรณ์ ร่ององั จนั ทร์
ชื่อ นางสาวชนกานต์ ขันทะบตุ ร
ชือ่ นายฉัตรชัย ใจงาม
ระดับช้ัน ม.๔-ม.๖
โรงเรยี นสองพิทยาคม
สงั กัด ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๗
ขนาดภาพ ๓๐x๒๒ นิ้ว
ครูผ้สู อน นายปฐวี มณวี งศ์

39

ภาพระบายสี

“ สะบดั ลาย จากปลายพู่ ส่ภู าพวาด

สสี นั สาด ศาสตรศ์ ลิ ป์ ให้สดใส “

40

รางวลั ชนะเลศิ เหรยี ญทอง

ชือ่ เดก็ ชายอทิ ธศิ ักดิ์ คำ� มา
ระดบั ช้นั ป.๑-ป.๓
โรงเรียนบา้ นนางเข็ม
สังกัด ส�ำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา

สุรินทร์ เขต ๒
ขนาด ๑๑x๑๕ นิว้
ครูผู้สอน นายกมล สตั ย์ซื่อ

41

รางวลั รองชนะเลิศเหรียญทองอันดับที่ ๑ รางวลั รองชนะเลิศเหรยี ญทองอนั ดบั ท่ี ๒

ชือ่ เด็กหญิงพรี ณัฐ วงศเ์ มือง ชื่อ เดก็ ชายวรทิ ธ์ิ ถาวรพานิช
ระดับชัน้ ป.๑-ป.๓ ระดบั ชนั้ ป.๑-ป.๓
โรงเรยี นบ้านหลุก โรงเรยี นสุพรรณภูมิ
สังกัด สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลำ� ปาง เขต ๒ สงั กดั สำ� นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๑
ขนาดภาพ ๑๑x๑๕ นว้ิ ขนาดภาพ ๑๑x๑๕ น้ิว
ครผู ู้สอน นายธานี มณจี นั ทรา ครูผู้สอน นายอภิชาติ ประทุมนนั ท์

42

รางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทอง

ชือ่ เด็กชายธรี ภัทร ทองปาน
ระดบั ช้ัน ป.๔-ป.๖
โรงเรียนบา้ นหว้ ยสาร
สงั กัด สำ� นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษากระบ่ี
ขนาดภาพ ๑๑x๑๕ นิว้
ครผู ้สู อน นางจารีพร พรมชยั ศรี

43

รางวลั รองชนะเลิศเหรียญทองอันดบั ท่ี ๑

ชอ่ื เด็กหญิงพชิ ญาภรณ์ สายกนก
ระดับช้ัน ป.๔-ป.๖
โรงเรยี นเทพพิทกั ษพ์ ทิ ยา
สังกัด สำ� นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔
ขนาดภาพ ๑๑x๑๕ นว้ิ
ครผู ู้สอน นายอณุกลู แพงชว่ ย

รางวัลรองชนะเลศิ เหรยี ญทองอันดับท่ี ๒

ชือ่ เดก็ หญิงรจุ รวี สารบรรณ
ระดับชนั้ ป.๔-ป.๖
โรงเรยี นสขุ านารี
สังกัด สำ� นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต ๑
ขนาดภาพ ๑๑x๑๕ น้ิว
ครูผสู้ อน นางเสงีย่ ม เผ่ารัตนะ

44

รางวลั ชนะเลิศเหรียญทอง

ช่ือ เด็กชายณัฐพล กรธนสขุ อรณุ
ระดบั ชน้ั ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นบา้ นห้วยมาลยั
สงั กัด สำ� นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา

กาญจนบรุ ี เขต ๓
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ น้ิว
ครูผู้สอน นางสาวอรพนิ ห้วยหงษ์ทอง

45

รางวัลรองชนะเลศิ เหรยี ญทองอันดบั ที่ ๑ รางวัลรองชนะเลิศเหรยี ญทองอันดบั ที่ ๒

ช่อื เด็กหญิงวทานยิ า ค�ำจนั ทร์ ชื่อ เด็กชายเดชด�ำรง ทพิ ยร์ ักษ์
ระดบั ชนั้ ม.๑-ม.๓ ระดบั ช้ัน ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นบา้ นทา่ ก่อ โรงเรยี นวดั คลองใหญ่
สงั กดั สำ� นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต ๕ สงั กดั ส�ำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต ๑
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ นิ้ว ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ น้วิ
ครูผสู้ อน นายเนาวรตั น์ แกว้ เล่ือน ครผู ู้สอน นายมนัส นุกูลรัตน์

46

รางวัลชนะเลศิ เหรยี ญทอง

ช่ือ เด็กชายเกียรติศกั ด์ิ ดวงบุปผา
ระดบั ช้นั ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นศรสี งครามวทิ ยา
สงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑๙
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ นิ้ว
ครผู สู้ อน นางพรพรหม ว่องวิเชยี รกุล

47

รางวลั รองชนะเลิศเหรยี ญทองอนั ดบั ที่ ๑

ชอื่ นายสรุะชยั อังกาพย์
ระดบั ชนั้ ม.๑-ม.๓
โรงเรียนศึกษาสงเคราะหธ์ วชั บรุ ี
สังกัด สำ� นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๗
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ นิ้ว
ครูผู้สอน นางกล่ินสุคนธ์ จอมไพรศรี

รางวัลรองชนะเลิศเหรยี ญทองอนั ดับท่ี ๒

ชือ่ นางสาวสุมลทา ภเู ตา้ นลิ
ระดับชน้ั ม.๑-ม.๓
โรงเรยี นสมเด็จพทิ ยาคม
สังกัด ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๔
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ น้ิว
ครูผสู้ อน นางสาวนารรี ตั น์ มนี ะถา

48

รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง

ชือ่ นายเทพพทิ กั ษ์ นลิ วรรณ์
ระดับช้นั ม.๔-ม.๖
โรงเรยี นบางละมุง
สงั กัด ส�ำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑๘
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ นว้ิ
ครผู ู้สอน นายอนนั ต์ บุบผัน

49

รางวัลรองชนะเลิศเหรียญทองอันดับที่ ๒

ช่ือ นายพงศน์ รนิ ทร์ อินทะศร
ระดับชนั้ ม.๔-ม.๖
โรงเรยี นหนองบวั
สังกดั ส�ำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๔๒
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ นิ้ว
ครผู สู้ อน นายทนิ กร ว่องสาริกจิ

รางวัลรองชนะเลิศเหรียญทองอนั ดับท่ี ๑

ชอื่ นางสาวสุทธิดา สนู ย์โรค
ระดบั ช้นั ม.๔-ม.๖
โรงเรียนสารวิทยา
สงั กดั สำ� นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒
ขนาดภาพ ๑๕x๒๒ นว้ิ
ครผู สู้ อน นางธิตพิ ร ธวชั สนิ

50


Click to View FlipBook Version