The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือค่ายเยาวชน...รักษ์พงไพร 2562

ปี 2562

ÊÒúÑÞ 

ศูนยก ารเรยี นรู ๓๑ ศนู ย ๒
พระราชดํารสั ๓
ความเปนมา ๔
เรยี นรภู าษาไทยกนั เถอะ ๑๑
เพลง “ตนไมของพอ ” ๑๒
เพลงคา ย “เยาวชน...รักษพ งไพร เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ” ๑๓
“รวมพลัง สามคั คี รว มใจ เพอื่ เยาวชนของชาต”ิ ๑๔
๑๕
กจิ กรรม พัฒนาความคุนเคย ๑๗
คณุ คาทรพั ยากรปา ไม ๑๗
๑๘
ประโยชนของปา ไม ๒๐
ปาไมในประเทศไทย ๒๒
สวนพฤกษศาสตรใ นโรงเรยี น ๒๓
ทรัพยากรธรรมชาติเดน ในทอ งถ่ิน ๒๔
ตนไมทหี่ นปู ลกู ๒๖
โครงการ สรางปา สรา งรายได ๒๘
พชื ในทอ งถนิ่ ของหนแู ละการแปรรูปอาหารจากพชื ๒๙
พระมารดาแหงไหมไทย ๓๐
หมอ นไหมสารพัดประโยชน ๓๒
พลงั สหกรณ ๓๔
บัญชี นําวถิ ีสคู วามพอเพยี ง ๓๕
คณุ คาทรัพยากรสัตวป า ๓๖
โซอ าหาร ๓๗
สายใยอาหาร ๓๘
โลกใบเล็ก ๓๙
กิจกรรมรับอรณุ ๔๐
เร่อื งเลาจากปา ๔๑
ทักษะชวี ิตทีเ่ ปน มติ รกับส่งิ แวดลอม ๔๒
การจัดการขยะเพอ่ื โลกสวย “มาแยกขยะกันเถอะ” ๔๓
ขยะไปไหน ๔๕
สูตรปยุ พระราชทาน ๔๗
หญา แฝก พชื เพ่ือการอนุรกั ษดนิ และนาํ้ ๔๘
เรยี นรคู ณุ คา พรรณไมดวยเทคโนโลยี
บทสวดมนต / แบบฝก การทาํ สมาธภิ าวนา เมตตาพรหมวหิ าร



ó ñ ñ
ôõ ò ò
ó
ö ô
õ
òð ÷ ø ö
ñð ÷
ù
ñò ññ ø
ñó ù
òñ ñð
ññ
ñô
ñõ ñò
ñó
ñö ñô
òò ñ÷ ñõ
ñö
ñø ñ÷
ñù
ñø
òó ñù

òô òð
òñ
òõ òò
òö òó

òø ò÷ òô
òù òõ
òö
óð óñ ò÷
òø
òù
óð
óñ

¾ÃÐÃÒª´íÒÃÑÊ 

“ใหครูรักเด็กและเด็กรักครู”

“ใหครูสอนเด็กใหมีนํ้าใจตอเพื่อน ไมใหแขงขันกัน แตใหแขงกับตัวเอง
ใหเด็กท่ีเรียนเกงกวาชวยสอนเพ่ือนที่เรียนชากวา”

“ใหครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนทํารวมกัน เพื่อใหเห็นคุณคาของความสามัคคี”

พระราชกระแสฯ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชทานใหองคมนตรีในการจัดต้ังกองทุนการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๕

“...ต้ังใจท่ีจะปลูกฝงใหเด็กมีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
และพฒั นาลกั ษณะนสิ ยั ในการใชทั รพั ยากรอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพหลายอยา งเดนิ ตามแนวพระราชดาํ ริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช)

จากหนังสือ สืบสานพระราชปณิธาน สามทศวรรษจรัสหลา
การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงบรรยายเรื่อง “ประสบการณการพัฒนาชนบทที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม”

ณ ธนาคารกสิกรไทย สํานักงานใหญ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓

“...นอกจากการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแลว ยังสอนใหอนุรักษวัฒนธรรม เพราะ
เปนสิ่งที่เปนรากฐานชีวิตของนักเรียนทุกคน เม่ือรูวาทองถิ่นของตน มีอะไรดีบาง ก็จะทําใหเกิด
ความภาคภมู ใิ จ มกี ารบนั ทกึ สงิ่ ทเี่ ปน ของมคี ณุ คา ทเ่ี ปน ความคดิ ของมนษุ ย เปน จติ วญิ ญาณของบคุ คล
ใหรวมกันทํางานอนุรักษพรอม ๆ กับงานพัฒนาชุมชน...”

จากหนังสือ สืบสานพระราชปณิธาน สามทศวรรษจรัสหลา
การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงบรรยายเร่ือง “การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร”

พ.ศ. ๒๕๕๐

 ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ

มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ โดย ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธาน
กรรมการ และดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา กรรมการและเลขาธิการ ไดใหนโยบายในการจัดสราง
สวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ ใหมีเอกลักษณเปน “ปาเล็กในเมืองใหญ” เพื่อเปนแหลงเรียนรูปลูก
จติ สาํ นกึ เยาวชนและประชาชนใหเ หน็ ความสาํ คญั ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละปกปอ งรกั ษาไวเ พอื่ ตนเอง
และชนรุนหลังสืบไป ตามพระราโชบายของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙

ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ ไดรวมกับ
กรุงเทพมหานคร กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และกรมปาไม
จัดคาย “วัยซน...ผจญปาเล็กในเมืองใหญ” ขึ้น ณ สวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ
ในชวงปดเทอม สําหรับเยาวชนอายุ ๖ - ๑๒ ป

เพื่อขยายใหโครงการคา ย “เยาวชน...รกั ษพ งไพร เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ” เปนประโยชนแกเยาวชน
ทั่วประเทศ โดยหลักสูตรครอบคลุมทุกดานของการดํารงชีวิต มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ
กรมอทุ ยานแหง ชาตฯิ กรมปา ไม สาํ นกั การศกึ ษา กทม. ไดน าํ เรยี นนายแพทยธ รี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป
ผชู ว ยรฐั มนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ในขณะนนั้ ) ถงึ ความพรอ มของศนู ยก ารอบรมของทงั้ ๓ องคก ร และ
หลกั สตู รคา ยทีจ่ ะใชอ บรมเยาวชน ซึง่ ทา นผูช ว ยรฐั มนตรเี หน็ ชอบดว ย และไดจ ดั ใหม กี ารประชมุ ระหวา ง
คณะทํางานจากองคกรทั้ง ๔ กับ ผูอํานวยการสถาบันวิทยาศาสตร สํานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗

ตนป ๒๕๕๘ โครงการคาย “เยาวชน...รักษพงไพร เฉลิมพระเกียรติฯ” ไดเริ่มกิจกรรม
อบรมเยาวชน โดยใชศูนยสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ ๑ ศูนย ศูนยศึกษาธรรมชาติและสัตวปา
ของกรมอุทยานแหงชาติฯ ๒๑ ศูนย (ทั่วประเทศ) และศูนยเรียนรูเพื่อการอนุรักษทรัพยากรปาไม
ตามแนวพระราชดําริ ของกรมปาไม ๕ ศูนย รวม ๒๗ ศูนยทั่วประเทศ โดย สพฐ. มอบให สํานักพัฒนา
นวัตกรรมการจัดการศึกษา เปนหนวยงานเขารวมโครงการฯ รับผิดชอบจัดเยาวชนเขารับการอบรม
พรอมงบประมาณสวนหนึ่ง และแตละองคกรตั้งงบประมาณรองรับอีกสวนหนึ่ง พรอมกันนี้โครงการฯ
ไดเชิญกรมตรวจบัญชีสหกรณ และกรมพัฒนาที่ดิน เขารวมบูรณาการรวม ๗ หนวยงาน อบรมเยาวชน
ได ๖,๕๔๙ คน เกินกวาเปาหมายที่กําหนด

&-D5 ฯพณฯ พลเอก เปรม ตณิ สูลานนท ประธานกรรมการ
มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ เล็งเห็นความสําคัญ
ŮD#+) < 2A-:!! čů ของเยาวชนท่ีเปนอนาคตของชาติ ใหเติบโตข้ึนเปนคนดี
#+8 :! ++) :+ ตอบแทนคุณแผนดิน ไดกรุณามอบเกียรติบัตรใหเยาวชน
ทีผ่ า นโครงการคาย “เยาวชน...รกั ษพ งไพร เฉลมิ พระเกียรตฯิ ”
)-A !< <2/!2)D K &+8!: D Ċ:2<+< < <P7



เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
(ผูชวยรัฐมนตรีในขณะนั้น) ไดมาเยี่ยมสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ
เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ พลเอก
ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี (รัฐมนตรี
วาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ในขณะนั้น) ไดมาเยี่ยมศูนย
สวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ และเมื่อ
มีโอกาสทานไดไปเยี่ยมคายเยาวชนที่
ตางจังหวัดดวย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃà»´ ¤Ò‹  “àÂÒǪ¹...Ãѡɾ §ä¾Ã à©ÅÔÁ¾ÃÐà¡ÕÂÃμÏÔ ”

ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ใหเกียรติ
มาเปนประธานเปดโครงการคายเยาวชนฯ
ทวั่ ประเทศ สมยั ท่ี ๒ เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ มนี าคม ๒๕๕๙
ณ สวนสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ิตฯิ์

ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสลู านนท ใหเ กยี รติมาเปน ประธานเปด โครงการคาย “เยาวชน...รกั ษพ งไพร เฉลิมพระเกยี รติฯ”
ทวั่ ประเทศ สมยั ที่ ๓ เมอื่ วนั ท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๖๐
ดร.เกษม วฒั นชยั องคมนตรี ใหเกียรตเิ ปน ประธาน
เปดคายสมัยแรก เม่ือวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘
และ ดร.ธรี ภทั ร ประยรู สทิ ธิ อธบิ ดกี รมปา ไม (ในขณะนน้ั )
เ ป น ป ร ะ ธ า น ป ด ค า ย แ ล ะ ม อ บ ใ บ เ กี ย ร ติ บั ต ร
ของ ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท แกเยาวชน
ณ ศธส.เชิงดอยสุเทพ กรมอุทยานแหงชาติฯ รวมจัด
กับ ศรร.เชียงใหม กรมปาไม



พ.ศ. ๒๕๕๘ เมื่อโครงการคาย “เยาวชน...รักษพงไพร เฉลิมพระเกียรติฯ” ประสบผลสําเร็จอยางดี
เหมาะสมทจ่ี ะนาํ ความกราบบงั คมทลู ฯ แลว ดร.จริ ายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา เลขาธกิ ารมลู นธิ สิ วนสมเดจ็ พระนางเจา
สริ กิ ติ ิฯ์ จงึ ไดก ราบบงั คมทลู ใหท รงทราบใตฝ า ละอองพระบาท สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
จงึ มพี ระมหากรุณาพระราชทานพระราชานุญาตใหใชพ ระนามาภิไธยเปน ชอ่ื โครงการวา

“คา ยเยาวชน...รักษพ งไพร เฉลิมพระเกยี รติ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี”

นับเปนพระมหากรุณาธิคุณหาท่ีสุดมิได และเปนสิริมงคลแกทุกองคกรรวม รวมทั้งคณะทํางานทุกคน
ที่รวมพลงั กนั เพ่อื จุดมุงหมายเดียวกัน เพื่อสรางเยาวชนใหเปน ทรพั ยากรทีด่ ขี องชาติตอ ไป

พ.ศ. ๒๕๕๙ กรมสง เสรมิ การเกษตร และกลมุ บริษัท ทรู ไดเ ขา รว มโครงการ และกรมปา ไมไ ดเ พ่มิ
ศูนยการเรียนรูข้ึนอีกหน่ึงศูนย โดยใชศูนย “สวนศรีนครเขื่อนขันธ” จังหวัดสมุทรปราการเปนศูนยอบรม
รวมองคก รทรี่ วมบรู ณาการ ๙ องคก ร มีศูนยการเรยี นรู ๒๘ ศนู ยฯ เยาวชนเขา รับการอบรม ๖,๘๐๓ คน และ
ไดเพ่ิมการอบรมครแู ละ สพป. ๕ ภาค อีกจาํ นวน ๕๓๗ คน

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี 
เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรนทิ รรศการ

โครงการคา ย “เยาวชน...รกั ษพ งไพร เฉลิมพระเกยี รตฯิ ”
ในงาน สีสรรพรรณไม เทดิ ไทบ รมราชนิ นี าถ ณ สวนสมเดจ็ พระนางเจาสิรกิ ิตฯิ์

เม่ือวันท่ี ๙ สิงหาคม ๒๕๕๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทอดพระเนตรนิทรรศการมีชีวิตหลักสูตรโครงการคาย
“เยาวชน...รกั ษพ งไพร เฉลิมพระเกียรติฯ” โดยมเี ยาวชนที่ผา นการอบรม กราบบังคมทูลรายงานสง่ิ ทีเ่ รยี นรจู ากคา ยแลว ทรงพอพระทยั

เมื่อวนั ที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จฯ ทอดพระเนตรนิทรรศการความคบื หนา โครงการคาย
“เยาวชน...รกั ษพ งไพร เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ” จากการนาํ ไปปฏบิ ตั จิ รงิ โดยมปี ระธานมลู นธิ สิ วนสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ฯ์ิ รมว.กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รมว.กระทรวง
เกษตรและสหกรณ และ รมว.กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม เฝารับเสด็จฯ เลขาธิการ กพฐ. กราบบงั คมทูลรายงาน



เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ สงิ หาคม ๒๕๖๐ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทอดพระเนตร ความคืบหนาโครงการฯ
เยาวชนกราบบังคมทลู รายงานการตอยอดสู โรงเรยี น และ ชมุ ชน

เมอ่ื วนั ที่ ๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ สมเดจ็ พระเทพรตั น
ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ
ทอดพระเนตร ความคืบหนาโครงการฯ การ
บรู ณาการหลกั สตู ร รวมถงึ การตอ ยอดขยายผล
สูโรงเรียนและชุมชน โดยมีประธานมูลนิธิ
สวนสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ ผบู รหิ ารระดบั สงู
ของหนวยงานภาคีเครือขาย และผูปฏิบัติงาน
ในพื้นทีท่ ้ัง ๓๑ ศูนย พรอมดวยผูนาํ เยาวชนรกั ษพ งไพร เฝารบั เสด็จฯ และเลขาธิการ กพฐ. (ดร.บุญรกั ษ ยอดเพชร) กราบบังคมทูลรายงาน

ป ๒๕๖๐ โครงการคาย “เยาวชน...รักษพงไพร เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี เพมิ่ องคก รรว มอกี ๓ องคก ร ไดแ ก กรมสง เสรมิ สหกรณ กรมหมอ นไหม
และองคการสวนสัตวใ นพระบรมราชปู ถมั ภ รวมองคก รบรู ณาการรว มทง้ั สน้ิ ๑๒ องคก ร

และไดเ พม่ิ ศนู ยเ รยี นรเู พอ่ื การอนรุ กั ษท รพั ยากรปา ไมต ามแนวพระราชดาํ ริ (กรมปา ไม) ท่ี ศรร.นา น
อ.บอ เกลอื จ.นา น เปน ศนู ยท ่ี ๒๙

สพฐ. ไดน าํ เยาวชนระดบั ชน้ั ป.๔ - ป.๖ จาก ๔๒๐ โรงเรยี น เขา รบั การอบรมจาํ นวน ๗,๐๔๗ คน
ทว่ั ประเทศ และไดอ บรมครแู ละบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง ๕ ภาค จาํ นวน ๖๑๓ คน

พรอ มทง้ั ไดเ พม่ิ หลกั สตู รโครงการพระราชดาํ ริ “สรา งปา สรา งรายได” เพอ่ื ใหส อดคลอ งกบั พระราโชบาย
ในการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการใชท ด่ี นิ บนพน้ื ทส่ี งู ใหช มุ ชนสรา งรายไดไ ปพรอ มๆ กนั กบั เพม่ิ พน้ื ทป่ี า อยา ง
เกอ้ื กลู พฒั นาผลติ จากปา ใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการของตลาด โดยไดเ ลอื กกาแฟเปน พชื เศรษฐกจิ หลกั โดย
ตอ ยอดสู ๒๖ โรงเรยี น จาํ นวนนกั เรยี น ๓,๑๗๗ คน ครู ๒๑๘ คน รวมทง้ั ชมุ ชนทส่ี นใจเขา รว มอกี จาํ นวนหนง่ึ

ป ๒๕๖๑ โครงการคาย “เยาวชน...รักษพงไพร เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา 
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ไดเพ่มิ ศูนยการเรียนรู จํานวน ๒ ศูนย
ไดแ ก ศรร.แมฮ อ งสอน อ.เมอื ง จ.แมฮ อ งสอน ของกรมปา ไม จาํ นวน ๑ ศนู ย และ ศธส.นา น อ.นานอ ย จ.นา น
ของกรมอทุ ยานแหงชาติ สตั วปา และพนั ธพุ ชื จาํ นวน ๑ ศูนย รวมเปน ๓๑ ศูนย พรอมทง้ั เสรมิ กจิ กรรม
การเรยี นรอู กี ๓ กจิ กรรม ไดแ ก ๑) เรยี นรภู าษาไทยกนั เถอะ ๒) สวนพฤกษศาสตรใ นโรงเรยี น และ ๓) Waste
to Forest

สพฐ. และภาคเี ครอื ขา ย ดาํ เนนิ งานตามเปา หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตรช าติ
ดา นการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม มเี ยาวชนไดร บั การพฒั นา จาํ นวน ๗,๕๖๔ คน
จาก ๕๐๔ โรงเรยี น และครู จาํ นวน ๑,๖๒๘ คน พบวา เยาวชนมคี วามสขุ ในการเรยี นรแู ละมคี ณุ ลกั ษณะของ
นกั อนรุ กั ษเ ปน อยา งดี พรอ มทง้ั ไดม กี ารตอ ยอดพฒั นาสผู นู าํ เยาวชนรกั ษพ งไพรระดบั ประเทศ จาํ นวน ๒๘๕ คน
เพ่อื ใหเยาวชนซาบซ้งึ ในพระมหากรุณาธิคุณตอสถาบันพระมหากษัตริยท่พี ระราชทานโครงการพระราชดําริ
มากมาย ลว นเพอ่ื ประโยชนส ขุ ของประชาชนทง้ั สน้ิ รวมถงึ ใหเ ยาวชนเปน แกนนาํ ขยายผลในพน้ื ท่ี

ป ๒๕๖๒ มุงเนนการตอยอดอยางยั่งยืน

จากการจัดคายท่ีมุงเนนการบูรณาการสหวิชาการท่ี
เ ก่ี ย ว ข อ ง บ น ฐ า น ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น รู สั ง ค ม แ ล ะ อ า ร ม ณ
ดวยกระบวนการเรียนรูแบบ Active Learning ผนวกเขากับการเรียนรูผานประสบการณตรงจากแหลง
ศึกษาธรรมชาติจริงในพื้นที่ พรอมทั้งเสริมสรางใหครูและผูเกี่ยวของ มีความรูความเขาใจในการจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นอยางเปนระบบ สูการเปนแกนนํา
ตอยอดขยายผลในโรงเรียนและชุมชน ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งคํานึง
ถึงความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเยาวชนใหเปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม เกิดผลลัพธตอความยั่งยืน



ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¢Í§
¤‹Ò “àÂÒǪ¹...Ãѡɏ¾§ä¾Ã à©ÅÔÁ¾ÃÐà¡ÕÂÃμÏÔ ”

๑. เยาวชนไดซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณตอสถาบันพระมหากษัตริย
ที่พระราชทานโครงการพระราชดําริมากมายลวนเพื่อประโยชนสุข
ของประชาชนทง้ั สน้ิ

๒. เยาวชนมีความเขมแข็ง สามารถดูแลและพัฒนาตนเองได และ
มีศักยภาพในการเผชิญกับสถานการณตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตได
อันเปนแนวทางสูความมั่นคงและความย่ังยืนตามพระราชดําริของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามปรัชญาของ
“เศรษฐกิจพอเพียง”

๓. เยาวชนไดเขาใจประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ซงึ่ เปน รากฐานของประเทศ ทจี่ ะตอ งชว ยกนั ฟน ฟแู ละรกั ษาใหม นั่ คงและ
ยง่ั ยนื เพอ่ื อนาคตของตนเอง ลูกหลาน ตลอดจนถึงโลกน้ี

๔. เยาวชนไดรื้อฟนวิถีการดํารงชีวิต วัฒนธรรม และภูมิปญญาท่ีดีงาม
ของทองถ่ิน มีความรูและทักษะพื้นฐานการเกษตรยั่งยืนในการผลิต
อาหารเพ่ือการบริโภคและอาชีพในการดํารงชีวิต เชนการแปรรูป
การเพาะขยายพันธุ ซึ่งเปนวิถีที่สามารถชวยเหลือตนเองได ชวยเหลือ
ซึง่ กันและกัน และรจู กั เสยี สละเพอ่ื สว นรวม

๕. เยาวชนไดป ฏบิ ตั จิ รงิ เรยี นรจู ากผเู ชยี่ วชาญแตล ะหลกั สตู รคา ย ไดฝ ก ฝน
ทักษะท้ัง ๔ ดา น คอื พทุ ธิศกึ ษา จริยศกึ ษา หตั ถศกึ ษา และพลศึกษา
ซงึ่ เปน ความรแู ละทกั ษะทน่ี าํ ไปใชใ นชวี ติ จรงิ และถงึ ทสี่ ดุ สามารถพฒั นา
ตอ ไปดวยตนเองได

àÃÕ¹ÃÀŒÙ ÒÉÒä·Â¡Ñ¹à¶ÍÐ 

ยานี ๑๑ พรรณพฤกษา กับ สตั วาภิธาน

ดูรากุมาระ พระยาศรีสนุ ทรโวหาร นอยอาจารยางกรู
จะรํ่าแตหมูไม แตง เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๗
จําปาแลจําป
ชาลีสาล่ีคละ ขาเจาจะเลาไขคํา กอกาวาลํานํา พอใหจําคํา กอ กา
แกแลแคมะคะ
ไขเนากะเบาปรู มีช่ือใชในภาษา ไทยใชตอ ๆ มา แตกอกามีอะโข
ประดูลําภูไผ
ชะบามะคาขา มะลุลีแลยี่โถ เพกาพะวาโพ เหลาโสนตะโกนา
นํ้าเตาเถามะระ
กระเชาสีดาชา จําปาดะดูสาขา มะกล่ําสํามะงา พระยายาสาระภี
มหาสดัมปะคําไก
หญาคาดาดูประ กอสละคละดีหมี หวาเปลาเถาดีปลี เถาเทพีมะละกอ
คือไมคํา
กอไพลดําทํายาดี ไมยี่รูไมสมอ ระกําสํามะลอ ไมตะครอปอกะเจา
ทําเลมีที่ภูผา
มลิลาแลสาคู หมูไมไลแลเสลา กะพอกอกะเพรา กอสาเลาเถาพลูแก
กอชาพลูดูไสว
เอามาใสกระเชาดี สะเดาปาคลาแสม ตอไสไกรแคแกร สะระแหนยี่โนไพร
ไมสมีแสมดํา
มีประจําที่สาขา ดาระดะดูไสว กระพอสมอไทย กระทือไพลลําไยยอ
เถาละดาดรุณี
ที่ขอขําจําใสใจ ฯ โยธะกาแลมะกอ มะไฟไมมะฝอ ตะกูตอตะโกนา

สตือใหญไซรสาขา สบูหูปลางา โหระภาหญาใตใบ

เขาเคลาคละพะหญาไซร ใครฝาระอาใจ ท่ีหมูใหญ

ไมออกอขลูคละ เหลาคุคะแลปะหล่ํา กอไผไสวลํา

สะแกแลสาเก โพทะเลกระทือผี เขาวาชาฤๅษี

สมอทะเลใหญ มีอยูใกลท่ีธารา ระยะหมูมะกา

ปาเลาเปราระดะ ข้ีกาคละตําแยอยู สมอช่ือดีงู

มะกลํ่าตาหนูเถา ใบเยาว ๆ ไมโตใหญ ชอ ๆ เขาพอใจ

ท่ีทอกอตะใคร กอใหญ ๆ ใบขจี ไรนาเขาสาลี

มโนราเขาคากอ หมูสะตอตะใครนํ้า กระแตไตไมลํา

สะบาใบรี ๆ เนรภูสีตรีชะวา สาเลาเหลาบุหงา

ทุมานานาหนอ เอาแตลอตอวจี หนู ๆ ดูคดี

 ¾ÃÐÃÒª´Òí ÃÑÊ

“ควรปลกู ตน ไมใ นใจคนเสยี กอ น แลว คนเหลา นนั้ กจ็ ะพากนั ปลกู ตน ไมล งแผน ดนิ และ
รกั ษาตนไมดวยตนเอง”

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
ขณะเสดจ็ ฯ ไปหนว ยงานตนนา้ํ พัฒนาทุงจือ จ.เชยี งใหม พ.ศ. ๒๕๑๔

à¾Å§ : μŒ¹äÁŒ¢Í§¾Í‹

คํารอ ง นิติพงษ หอ นาค
ทํานอง อภไิ ชย เยน็ พนู สุข
เรยี บเรยี ง อภิไชย เย็นพนู สุข

นานมาแลว พอไดปลกู ตนไมไ วใหเ รา
เพอ่ื วันหนึง่ จะบงั ลมหนาว และคอยเปน รม เงา
ปลูกไวเ พอ่ื พวกเราทกุ ทกุ คน
พอ ใชเหง่อื แทนน้าํ รดลงไป เพอ่ื ใหผ ลิดอกใบ ออกผล
ใหเ ราทุกทกุ คน เตบิ โตอยางรมเยน็ ในบา นเรา

ผา นมาแลว เจ็ดสบิ ป ตน ไมน นั้ สูงใหญ จากวนั น้ีสักหมืน่ ป ตน ไมทพ่ี อปลกู
ลมแรงเทาไร ก็บรรเทา ตองสวยตองงดงาม และย่ิงใหญ
ออกผลใหเกบ็ กนิ แตกใบเพ่อื ใหรม เงา สบื สานและตดิ ตาม จากรอยทีพ่ อ ตง้ั ใจ
คอยดูแลเรา ใหเ รายงั มีวันตอไป เหง่ือเราจะเทไป ใหต น ไมของพอยังงดงาม

จนวันน้ี ใตเงาแหงตนไมต นใหญ จากวันน้ีสักหมนื่ ป ตน ไมท ีพ่ อ ปลกู
ลูกไดอ ยไู ดค อยอาศยั แผนดินยังกวางไกล ตอ งสวยตอ งงดงาม และยง่ิ ใหญ
แตเหมอื นวาหวั ใจพอกวางกวา สบื สานและติดตาม จากรอยทพ่ี อต้ังใจ
ลูกทเ่ี กดิ ตรงนี้นนั้ ยงั อยู และยังอยูเพื่อคอยรกั ษา เหง่อื เราจะเทไป จากหวั ใจ
จะรวมใจเขามา จะมเี พยี งสัญญาในหัวใจ เหงื่อเราจะเทไป ใหตนไมของพอ ยังงดงาม





ÿĀÖøè Ť ÖúŠčöđÖþêøÖøđךöĒ×ÜĘ ǰđðîŨ ýĎî÷ÖŤ úćÜĒúąÖúĕÖ×ĆïđÙúęĂČ îđýøþåÖÝĉ
ĒúąÿÜĆ Ùö×ĂÜßöč ßîĂ÷ćŠ Ü÷ĆęÜ÷Čî

¡Ô¨¡ÃÃÁ 
¾Ñ²¹Ò¤ÇÒÁ¤Ø¹Œ à¤Â



¡μÔ¡Ò¤‹Ò “àÂÒǪ¹...Ãѡɏ¾§ä¾Ã à©ÅÁÔ ¾ÃÐà¡ÕÂÃμÏÔ ”

ÖêÖĉ ćóČĚîåćî×ĂÜÙŠć÷ǰĶđ÷ćüßî øĆÖþóŤ ÜĕóøǰđÞúĉöóøąđÖĊ÷øêĄĉ ķǰ
Ēúą×šĂêÖúÜÖćøđøĊ÷îøøšĎ ŠüöÖîĆ

¤Ø³¤‹Ò·ÃѾÂҡû†ÒäÁŒ 
»ÃÐ⪹¢Í§»Ò† äÁŒ

ģ üŠćǰöÙĊ üćöĒêÖêŠćÜÖîĆ Ă÷ćŠ Üĕø

Ģǰ ģ

ĀćÖßöč ßî×ĂÜĀîĎöÿĊ õćóĒüéúĂš öêćöõćóìĊęǰģǰÝąÿŠÜñúĂ÷ŠćÜĕø
êĂï :



ความสงู จากระดบั ทะเล (เมตร)

๒,๐๐๐

๑,๕๐๐

ปา ชายหาด ปาหญา

strand vegetation savanna forest

๑,๐๐๐ ปา พรุ ปาบงึ นํ้าจืด
ปาชายเลน
peat swamp forest freshwater swamp forest

mangrove forest

๕๐๐

๐ จกิ อนิ ทนิลน้ํา โสกนาํ้ หญา คา หญาพง
เมตร ตังหน อา ยบา ว หลุมพี ทองบึ้ง และหญาแฝก
เถาวลั ย หมากแดง กะพอ สนทะเล สลดั ได ขอ ยหนาม
โกงกางใบใหญ โกงกางใบเลก็ ระกํา และยานลิเภา เค็ด ปะปนกับยางนา กระทิง
แสมดาํ แสมทะเล โพทะเล หูกวาง และเสมด็
ลําพู ลําแพน



ปา ดบิ เขา

montane rain forest

ปา ดิบชนื้ ปา ดบิ แลง

dry evergreen forest

tropical evergreen rain forest

ปาไมสนเขา กอ สีเสยี ด กอตาหมูนอย
อบเชย กาํ ลงั เสือโครง
lower montane coniferous forest

ปา เต็งรัง

dry dipterocarp forest

ปาเบญจพรรณ

mixed deciduous forest

มะไฟ ลําไยปา คอแลน
วงศย าง เชน ยางนา กระบาก
ตะเคียนหนิ เคี่ยมคะนอง มะคาโมง

อบเชย จําปาปา
วงศย าง เชน ยางนา
ตะเคียนทอง กระบาก

สนสองใบ สนสามใบ ปาผลัดใบ
วงศกอ เชน กอแอบ ปา ไมผลัดใบ
กอ เสียด กอ หมี กอ หมน
เต็ง รงั เหยี ง พลวง และยางกราด

ประดู ชิงชนั มะคา โมง แดง ไผไร ไผซางดอย
ปาไมไผหก สมอพิเภก เปลาหลวง และสา น
(forest) หมายถึง บริเวณท่ีมีตนไมหลายชนิด ขนาดตาง ๆ

ข้ึนอยูอยางหนาแนนและกวางใหญพอที่จะมีอิทธิพลตอสิ่งแวดลอม

ในบรเิ วณนนั้ เชน ความเปลยี่ นแปลงของลมฟา อากาศ ความอดุ มสมบรู ณ

ของดนิ และนา้ํ มสี ตั วป า และสง่ิ มชี วี ติ อนื่ ซง่ึ มคี วามสมั พนั ธซ ง่ึ กนั และกนั

แบงเปน ๒ ประเภท คือ ปาไมผลัดใบ (evergreen forest) และ

ปา ผลัดใบ (deciduous forest)

ปรับปรงุ จาก : สว นประชาสมั พันธและเผยแพร สํานักบริหารกลาง กรมปาไม
สิงหาคม ๒๕๕๖

 Êǹ¾Ä¡ÉÈÒÊμÏã¹âçàÃÕ¹

“การสอน และอบรมใหเด็กมจี ิตสํานกึ ในการอนุรกั ษพืชพรรณนัน้
ควรใชวธิ ีการปลกู ฝงใหเด็กเห็นความงดงาม ความนา สนใจ
และเกิดความปต ทิ ่จี ะทําการ ศึกษาและอนรุ กั ษพ ชื พรรณตอ ไป
การใชวิธีการสอน การอบรมที่ใหเกดิ ความรสู ึกกลวั วา หากไม

อนรุ กั ษแลวจะเกิดผลเสีย เกดิ อันตรายแกต นเอง จะทําใหเดก็ เกิด
ความเครียด ซึ่งจะเปน ผลเสียแกป ระเทศในระยะยาว”

พระราชดาํ ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๓๖

อาคารทป่ี ระทบั ในสาํ นักงานชลประทานเขต ๑ ถนนทงุ โฮเต็ล จ.เชยี งใหม

Êǹ¾Ä¡»ÉÃÈÐÒâÊÂμªÃ¹â çàÃÕ¹

à¡Ô´¨μÔ ÊÒí ¹Ö¡ Áբ͌ ÁÙÅ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êǹ¾Ä¡ÉÈÒÊμÏ
㹡ÒÃ͹ÃØ ¡Ñ ɏ ·ÃѾÂҡ÷èÕ
¾¹Ñ ¸Ø¡ÃÃÁ¾ª× ໚¹¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ áÅÐÃǺÃÇÁ¾Ñ¹¸ä؏ ÁŒ
áÅÐ·Ã¾Ñ ÂÒ¡Ã ÊÒÁÒöÊ×Íè ¡¹Ñ ä´Œ ·ÁèÕ ÕªÕÇμÔ ÁÕáËŧ‹ ¢ÍŒ ÁÙžÃóäÁŒ
·ÇèÑ »ÃÐà·È
Á¡Õ ÒÃÈÖ¡ÉÒμÍ‹ à¹Íè× § Á¡Õ ÒÃࡺç μÇÑ ÍÂÒ‹ §
àÊÃÁÔ ÊÃÒŒ §¡Òà ¾ÃóäÁጠ˧Œ ¾ÃóäÁŒ´Í§ ÁÕ¡ÒÃÃǺÃÇÁ
àÃÕ¹ÃÙŒº¹°Ò¹ ¾¹Ñ ¸ØäÁŒ·ŒÍ§¶¹èÔ ÁÒ»ÅÙ¡ÃǺÃÇÁäÇ㌠¹âçàÃÂÕ ¹
»ÃªÑ ÞÒàÈÃÉ°¡Ô¨ à¾Í×è ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¤Œ¹¤ÇÒŒ áÅй ä»ãª»Œ ÃÐ⪹

¾Íà¾ÂÕ § à¾Íè× ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹ÇÔªÒμÒ‹ §æ

Áդس¸ÃÃÁ à¡´Ô ¹¡Ñ ͹ÃØ ¡Ñ ɏ
¨ÃÂÔ ¸ÃÃÁ໚¹°Ò¹ ¾Ñ²¹Òº¹°Ò¹
¢Í§Ç·Ô ÂÒ¡ÒÃáÅÐ
¤³Ø ¸ÃÃÁ
»˜ÞÞÒ


ลาํ ตน ใบ

ดอก



·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒμàÔ ´¹‹ ã¹·ŒÍ§¶Ô¹è

ÙĈëćößüîÙĉéǰ ǰĀîǰĎ ėǰÙĉéüćŠ ìøóĆ ÷ćÖøíøøößćêđĉ éîŠ ĔîìĂš ÜëĉęîöĊĂąĕøïšćÜǰìĊęÙüøĂîøč ĆÖþŤĕüšǰĤǰßîéĉ



μ¹Œ äÁ·Œ Õè˹ٻÅÙ¡





 ¾×ªã¹·ŒÍ§¶è¹Ô ¢Í§Ë¹Ù

พืชในแตละทองถิ่นมีความแตกตางกันไป อาจมีลักษณะรูปรางภายนอกคลายคลึงกัน บางชนิด
อาจแตกตางกันบาง พืชบางชนิดพบไดโดยท่ัวไป บางชนิดพบเฉพาะบางทองถิ่น ซ่ึงมีทั้งขนาดใหญ
และขนาดเล็ก มีท้ังอยูบนบกและในนํ้า หรือบนตนไมอ่ืน นอกจากน้ีเรายังไดประโยชนจากพืชมากมาย
เชน พืชใหก าซออกซเิ จนเพื่อใชใ นการหายใจ เรานําพืชมาใชเปนอาหาร เครอื่ งนมุ หม เคร่ืองใช ยารกั ษาโรค
ทาํ ปยุ ใชเปนเชอ้ื เพลิง ใชก อ สรางบา นเรอื น รวมทัง้ ทาํ ใหเกดิ รายไดอีกดว ย

¡ÒÃá»ÃÃÙ»ÍÒËÒèҡ¾×ª 

การแปรรูปอาหาร เปนกระบวนการที่เปล่ียนแปลงสภาพของวัตถุดิบ ใหเปนผลิตภัณฑอาหาร
อยูในสภาพที่เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยตอการบริโภค เปนการถนอมอาหาร เพ่ือยืดอายุ
การเกบ็ รักษาทาํ ใหเกดิ ผลิตภัณฑใ หมท ่มี ีความหลากหลาย เพิ่มทางเลอื ก และเพ่ิมมูลคาใหก ับวัตถุดิบ

Öúüš ÷ÞćïìøÜđÙøęČĂÜ



สมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงมพี ระราชดาํ รสั เมอื่ วนั ที่ ๑๑ สงิ หาคม ๒๕๓๔ ความวา
“...ทกุ ครง้ั ทเี่ มอื งไทยเกดิ นาํ้ ทว มหรอื ภยั พบิ ตั ิ ขา พเจา ไดต ามเสดจ็ ฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรง
นาํ สง่ิ ของพระราชทานไปชวยเหลือราษฎร มกั จะเปนเครื่องอุปโภคและบรโิ ภค ทรงรบั สงั่ กับขาพเจาวา

การชวยเหลือแบบนี้เปนการชวยเหลือเฉพาะหนา ซ่ึงไมสําคัญชวยไมไดจริง ๆ ไมพอเพียง
ทรงคิดวาทําอยางไรจึงจะชวยเหลือชาวบานระยะยาว คือทําใหเขามีความเปนอยูท่ีดีข้ึน ลูกหลาน

ไดเขาโรงเรียน ดวยเหตุนี้พระองคทานจึงไดคิดอาชีพเสริมใหแกครอบครัวชาวนาชาวไร...”
ดวยพระราชปณิธานที่สืบสานแนวพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ

พระบรมราชินีนาถ ไดสงเสริมอาชีพการปลูกหมอนเลี้ยงไหม ดวยทอดพระเนตรราษฎรที่มาเฝา
รับเสด็จฯ จะนุงซิ่นไหมลวดลายสวยงาม วิจิตร แปลกตา แตละทองถ่ิน ตามภูมิปญญาที่ถายทอด
มาแตคร้ังบรรพบุรุษ ซ่ึงควรแกการอนุรักษไวเปนมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศ



ประโยชนของผลหมอน

๑. ........................................
๒. ........................................
๓. ........................................
๔. ........................................

 ¾ÅѧÊˡó

ñ.
ò.
ó.
ô.
õ.

ñ.
ò.
ó.
ô.
õ.
ñ.
ò.
ó.
ô.
õ.





“เร่ืองบัญชีน้ีขาพเจาเห็นวาสําคัญมาก เพราะชวยฝกความละเอียดถ่ีถวน
ความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย เชน เขยี นผดิ แลว จะลบไมไ ด ตอ งขดี ฆา แลว เซน็ ชอ่ื กาํ กบั ”

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
พระราชทานบทความ ในหนงั สอื “๔๐ ป โรงเรยี น ตชด.” ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๙

ฐานที่ ๑ คณติ คิดสนกุ

Ģ

ģ

Ĥ

ĥ ĢġǰYǰĪ
ģģǰ ǰģ
ĦĪ
Ħ ĢĦǰYǰģ
ĢĢĢ
ħ ĢģǰYǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ ǰĤ

ฐานท่ี ๒ รูจด รูจ ริง รจู า ย 

ใหนกั เรยี นทบทวนการใชจา ยเงนิ เมอ่ื วานนี้ และกรอกตัวเลขในชอ งวา งใหครบถว น

๑. เม่อื วานนกั เรยี นไดร ับเงินคาขนมจากผปู กครอง จาํ นวน .................................................... บาท

๒. นกั เรยี นใชจ า ยเปน คา อะไรบา ง? ................................................... บาท
คา................................................... ................................................... บาท
คา................................................... ................................................... บาท
คา ................................................... ................................................... บาท
คา ...................................................

๓. นกั เรียนมีเงินคงเหลือ จํานวน ................................... บาท

ฐานท่ี ๓ รอู อม รูอนาคต

ใหน ักเรยี นลองวางแผนเก็บออมเงนิ เพ่ืออนาคตในวันขางหนา มาทดลองวางแผนกนั นะคะ
๑. เด็ก ๆ คิดวาในวันสําคัญท่ีจะมาถึงนี้ วันแม ๑๒ สิงหาคม ของทุกป หนูจะใหอะไรคุณแม
หรอื คณุ ครหู รอื ผูทีห่ นรู ักและเคารพ
คาํ ตอบ หนจู ะมอบ.............................................ใหแก.......................... ในวันท่.ี ...............................
มลู คาประมาณ..........................................................................บาท

๒. มาเร่มิ ตนวางแผนการเงินของตนเองกนั เพอื่ ใหส งิ่ ที่ตั้งใจไวใ นขอ ๑ สาํ เรจ็
คําตอบ การวางแผนของหนู
รายรับตอ วัน = ………………................ บาท ตง้ั ใจเกบ็ ออม วนั ละ = ……………............ บาท
คงเหลือเปน รายจาย = ……………….... บาท หนตู องเกบ็ ออมเงินเปน เวลา ……………….. วัน
จะไดเงนิ จํานวน ………………............... บาท เพื่อมอบของขวญั ใหแ กคนทหี่ นรู ักและเคารพ

๓. หนเู ริ่มตนบนั ทึกบญั ชรี ับ – จา ยของตนเอง ต้ังแตว ันนน้ี ะคะ เพือ่ มอบของขวญั ใหแกคนท่เี รารกั

ตวั อยา งการบนั ทกึ บัญชี

วนั ท่ี รายการ รายรับ รายจาย (จํานวนเงิน) คงเหลือ
(จํานวนเงนิ ) ฝากเงนิ /เงินออม คาใชจา ย (จาํ นวนเงิน)
๑ ส.ค. ๖๐ ไดรบั เงินคา ขนมจากผปู กครอง
หยอดกระปกุ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
คา รถโดยสาร ๒๐.๐๐ ๘๐.๐๐
ซ้อื ขา วเหนียว ไกทอด ๑๐.๐๐ ๗๐.๐๐
ซอื้ สมดุ ๓๐.๐๐ ๔๐.๐๐
๑๕.๐๐ ๒๕.๐๐

รวมเปนเงิน ๑๐๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๕๕.๐๐ ๒๕.๐๐

 ¤Ø³¤Ò‹ ·ÃѾÂÒ¡ÃÊÑμÇ» †Ò

สตั วปาเปน ทรพั ยากรธรรมชาติ จัดอยใู นทรัพยากรประเภทท่ีเกิดขึน้ ทดแทน และรกั ษาใหค งอยไู ด
การทจ่ี ะอนรุ กั ษส ตั วป า ใหค งอยอู ยา งยง่ั ยนื สบื ไปนน้ั จาํ เปน ตอ งมที อ่ี ยอู าศยั ทป่ี ลอดภยั มอี าหาร และแหลง นา้ํ
ทเ่ี พยี งพอตอ ความตอ งการ

สตั วปามคี ุณประโยชนต อ มนุษยม าตัง้ แตโ บราณกาล ประโยชนท ่ีสําคญั มดี งั น้ี
๑. ชวยกําจัดศัตรูพืชและควบคุมสมดุลของระบบนิเวศ เชน นกหัวขวานกินแมลงและตัวหนอน

นกแสกกนิ หนู คา งคาวกินแมลง เปนตน
๒. ชว ยในการผสมเกสรและกระจายเมลด็ ไม
๓. ดานนันทนาการ การดูนกหรือการเที่ยวชมสัตวปา ทําใหเกิดความเพลิดเพลินและ

เปนการพักผอนไดเ ปน อยา งดี
๔. ดานวัฒนธรรมและความสัมพันธระหวางประเทศ เชน ชางเปนสัตวประจําชาติไทย จิงโจ

เปนสัตวป ระจาํ ชาตอิ อสเตรเลีย แพนดาเปนทูตสนั ถวไมตรีระหวางจีนกับไทย เปน ตน
๕. ดานวิชาการ การทดลองทางวิทยาศาสตรหลายสาขา จําเปนตองใชสัตวปาเปนสัตวทดลอง

เชน ใชก ระตาย หนู ลิง เปนตน
๖. ดานเศรษฐกิจ เราไดนําสัตวปาหลายชนิดมาพัฒนาเปนสัตวเล้ียงหรือเปนสัตวท่ีเปนอาหาร

แกม นษุ ย เชน นําหมูปา ไกปา จระเข มาพัฒนาเปนสตั วเลีย้ ง

â«Í‹ ÒËÒÃ 

ó

ò

ò

ñ

ñ



ÊÒÂãÂÍÒËÒÃ



 ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÃѺÍÃس

กจิ กรรมดนู ก / สํารวจธรรมชาติ

อปุ กรณสําหรับดูนก

กลอ งเทเลสโคป (Telescope) กลองสอ งทางไกลแบบสองตา (Binocular) คูมอื ดูนก แอปพลเิ คชนั ดนู ก

ดนู กดเู วลาไหนดี : เวลาเชา จะเปน ชว งทดี่ ที ส่ี ดุ สาํ หรบั การดนู ก ดูนกกนั อยางไร
การแตงกาย : เสื้อผาควรเปนสีท่ีกลมกลืนกับสภาพแวดลอม
แตง กายใหร ดั กมุ กางเกงขายาว สวมหมวกบงั แดด และรองเทา ๑. สงั เกตรปู รา งมลี กั ษณะอยางไร
หมุ สน กระชับพอดี ๒. สังเกตสสี นั และลวดลายที่เปน ลักษณะเดน
๓. สังเกตพฤติกรรมและทา ทาง
๔. เปรียบเทยี บนกท่พี บกับคมู อื ดนู ก /

แอปพลิเคชนั “ดนู ก”

หนูพบนกอะไรบาง



(new idea)

...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

 ·Ñ¡ÉЪÕÇÔμ·Õàè »¹š ÁÔμáѺÊèÔ§áÇ´ÅŒÍÁ

Ģ ǰüĆ

Ĥ ǰÖ

¡ÒèѴ¡ÒâÂÐà¾×Íè âÅ¡ÊÇ 

ÙćŠ ÷ǰĶđ÷ćüßî øÖĆ þŤóÜĕóøǰđÞúĉöóøąđÖ÷Ċ øêĄĉ ķ

ñ-õ à´×͹
ò-õ à´Í× ¹
ó-ñô à´Í× ¹
ö à´Í× ¹
ñ »‚
õ »‚

ñó »‚
ñõ »‚
òõ-ôð »‚
øð-ñðð »‚
ñðð »‚
ôõð »‚
ôõð »‚
äÁ‹ ‹ÍÂÊÅÒÂ
ªÑèÇ¡ÑÅ»ÒÇÊÒ¹

 ¢ÂÐä»ä˹

๑. ๒. ๓.

ขยะอินทรีย

Waste to Forest

ขยะอินทรีย

“Êμ٠û؉ÂÏ ¾ÃÐÃÒª·Ò¹” 

สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ไดพ ระราชทานวธิ กี ารทําปุย หมักเปน องคค วามรูใ หกบั ปวงชนชาวไทยทงั้ ประเทศ ดงั พระราชดาํ ริ



การผลิตปุยหมัก ดวยสารเรงซุปเปอร พด. ๑
จากเศษใบไมแ หง เศษหญา และเศษพชื แหง ตา ง ๆ
ประโยชน เปน ปุย ชัน้ ดใี หก บั พชื ทาํ ใหป ระหยดั
การใชป ุย เคมี ดนิ รว นซยุ เพิม่ ความอดุ มสมบรู ณ
ใหกับดิน

การผลิตน้ําหมักชีวภาพ
ดวยสารเรงซุปเปอร พด. ๒
จากเศษผักผลไมสด ปลา หรือหอยเชอร่ี
ประโยชน ฉีดพนกับพืช ทําใหพืชเจริญ
เติบโตดี

การผลติ สารบาํ บดั นาํ้ เสยี และขจดั กลนิ่ เหมน็
ดว ยสารเรงซุปเปอร พด. ๖
จากเศษอาหาร
ประโยชน บาํ บดั นาํ้ เสียและขจัดกลิน่ เหมน็
ตามทอระบายน้ํา หองนํ้า คอกสัตว
ครัวเรือน และโรงเรือน

“ËÞÒŒ ὡ ¾×ªà¾èÍ× ¡ÒÃ͹ØÃѡɏ´¹Ô áÅйéÒí ” 

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงใหความสําคัญกับการจัดการทรัพยากรดินและ
หาแนวทางแกไขปญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรดินในประเทศไทย เพ่ือใหความอุดมสมบูรณของผืน
แผนดินกลับคืนมา ทรงเล็งเห็นถึงศักยภาพและความสําคัญของหญาแฝกกับการจัดการทรัพยากรดิน และมี
พระราชดําริเก่ียวกับการใชหญาแฝกเพ่ือการอนุรักษดินและนํ้าเปนคร้ังแรก เม่ือวันท่ี 22 มิถุนายน 2534 สรุป
ความวา ใหศึกษา ทดลองปลูกหญาแฝกเพื่อปองกันการพังทลายของดิน ในพื้นท่ีศูนยศึกษาการพัฒนา
หวยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ และศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ
ตลอดจนพ้ืนท่ีอื่น ๆ โดยใหพิจารณาการปลูกตามความเหมาะสมของภูมิประเทศ และควรเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยว
กับผลการศึกษา ทดลอง ใหครอบคลุมทุกดานดวย

หญาแฝก (Vetiver Grass) เปนพืชตระกูลหญา ท่ีพบอยูท่ัวไปตามธรรมชาติ จากการสํารวจพบวามีหญา
แฝกกระจายอยูท่ัวโลกประมาณ 12 ชนิด สําหรับประเทศไทยพบ 2 ชนิด คือหญาแฝกลุม และหญาแฝกดอน โดย
พบกระจายอยูท่ัวไปในทุกภาคของประเทศไทย ทั้งในที่ลุมและท่ีดอน หญาแฝกสามารถเจริญเติบโตไดในดินเกือบ
ทุกชนิด เปนพืชที่ขึ้นเปนกอแนน มีรากจํานวนมากจึงทนแลงไดดี ระบบรากฝอยท่ีหย่ังลึกลงไปในดินจะสานตอ
กันแนนเหมือนตาขาย ชวยเกาะยึดดินใหเกิดความมั่นคงแข็งแรง จึงปองกันการชะลางพังทลายของดินไดดี

หญาแฝกลุม หญา แฝกดอน



การใชประโยชนห ญา แฝก
1) การปลูกเพื่อปองกนั การชะลา งพงั ทลายของดนิ

พ้นื ท่ีลาดชนั พนื้ ท่ไี หลถ นน

2) การปลูกหญาแฝกเพ่อื ปองกนั ตะกอนดินทบั ถมลงแหลง นํ้า

ปลูกรอบสระน้าํ บอ นา้ํ
3) การปลกู หญาแฝกเพอื่ ปรบั ปรงุ บํารุงดินและรกั ษาความช้ืนในดนิ

ปลูกระหวางแถวพืชหลัก ปลกู รอบไมผลแบบวงกลม แบบครึ่งวงกลม



“àÃչ̤٠س¤‹Ò¾ÃóäÁ´Œ ÇŒ Âà·¤â¹âÅÂÕ”

…‰› }›ª›ª

 œ™¬©–£›—q

·ÓÇÑμÃઌÒ
บาลี คําแปล

อะระหัง สัมมาสัมพทุ โธ ภะคะวา, พระผมู พี ระภาคเจา เปน พระอรหันต,

ดับเพลิงกเิ ลส เพลิงทุกขส้ินเชงิ ตรสั รู

ชอบไดโ ดยพระองคเ อง

พทุ ธงั ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ (กราบ) ขาพเจา ขออภวิ าท พระผมู พี ระภาคเจา ผรู ู

ผตู ่ืน ผูเ บกิ บาน

สว๎ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมอันพระผมู ีพระภาคเจา

ตรสั ไวดีแลว

ธัมมงั นะมัสสามิ (กราบ) ขา พเจาขอนมสั การพระธรรม

สุปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆสาวกของพระผมู ีพระภาคเจา

ปฏบิ ัตดิ ีแลว

สงั ฆัง นะมามิ (กราบ) ขา พเจาขอนอบนอ มพระสงฆ

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ
( ๓ คร้ัง )

บาลี พทุ ธาภถิ ตุ ิ
โย โส ตะถาคะโต อะระหงั
คําแปล
สมั มาสัมพทุ โธ
วิชชาจะระณะสมั ปน โน พระตถาคตเจา นนั้ พระองคใ ด เปน ผูไกล
สุคะโต จากกเิ ลส
โลกะวิทู เปนผูต รสั รชู อบไดโ ดยพระองคเ อง
อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถิ เปน ผถู ึงพรอมดวยวชิ ชา และจรณะ
เปน ผเู สด็จไปแลว ดวยดี
เปน ผูรโู ลกอยา งแจมแจง
เปน ผูสามารถฝกบรุ ษุ ทีค่ วรฝก ได
อยา งไมม ใี ครย่ิงกวา


Click to View FlipBook Version