The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanthawat somjit, 2019-12-12 08:50:52

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูล (Communication Media)

ebook

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสมี า

สังกัดสถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

สอื่ และอุปกรณก์ ารรบั สง่ ข้อมลู
(Communication Media)

นำเสนอโดย
นายชายธวชั สมจติ ร
นกั ศกึ ษาระดบั ชน้ั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู ชนั้ ปที ี่ 1

เสนอ
ครวู ริ ยา สขี าว
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสมี า



ส่ือและอุปกรณร์ บั ส่งข้อมูล ‫׀‬หนา้ ที่ 1
อปุ กรณร์ บั ส่งข้อมูล

สื่อประเภทเหน่ยี วนำ / ส่ือแบบมีสาย

1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted pair Cable) สายคู่บิดเกลียวประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละ
เส้นมีฉนวนหุ้มพันกันเปน็ เกลยี ว สามารถลดการรบกวนจากสนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าได้ แต่ไม่สามารถป้องกันการ
สญู เสียพลังงานจากการแผร่ ังสีความร้อนในขณะทม่ี ีการส่งสัญญาณ สายคู่บิดเกลียว 1 คู่จะแทนการสื่อสารได้
1 ช่องทางสื่อสาร(Channel) สําหรับการใช้งานจริงเช่นสายโทรศัพท์จะเป็นสายรวมที่ประกอบด้วยสายคู่บิด
เกลียวอยภู่ ายในเป็นร้อยๆ คู่

สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ได้ทั้งการส่งสัญญาณข้อมูลแบบ
อนาล็อกและแบบดจิ ติ อล และเนอ่ื งจากสายคบู่ ิดเกลยี วจะมีการสูญเสีย
สัญญาณขณะส่งสัญญาณ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีเครื่องขยายสัญญาณ
(Amplifier) สำหรับการส่งสัญญาณข้อมูลแบบอนาล็อกในระยะ
ทางไกล ๆหรือทุก 5 – 6 กิโลเมตร สำหรับการส่งสัญญาณข้อมูลแบบ
ดิจิตอลจะต้องมีเครื่องทบทวนสัญญาณ(Repeater) ทุก ๆ 2 – 3
กิโลเมตร สายประเภทนมี้ ีดว้ ยกัน 2 ชนดิ คอื

สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวด
ถดั ชน้ั นอกทีห่ นาอีกชน้ั ดังรปู ท่ี 2 เพอ่ื ปอ้ งกันการรบกวนของคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้

สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวน
ชน้ั นอกท่บี างอกี ชั้นดังรปู ท่ี 3 ทำใหส้ ะดวกในการโค้งงอ แตส่ ามารถปอ้ งกันการรบกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
ได้นอ้ ยกวา่ ชนิดแรก แต่ก็มีราคาต่ำ จงึ นิยมใชใ้ นการเชอ่ื มต่ออปุ กรณใ์ นเครือขา่ ย ตัวอย่างสายคบู่ ิดเกลียวชนิด
นี้ เช่น สายโทรศัพทท์ ี่ใช้อยู่ตามบา้ น

หนา้ ท่ี 2‫׀‬ส่ือและอปุ กรณร์ บั ส่งขอ้ มลู

ตารางแสดงคุณลักษณะของสาย UTP ในแต่ละชนิด

ชนิดสาย ลกั ษณะ แบนด์วดิ ท์ อัตราการสง่ ระยะทาง ข้อดี ขอ้ เสยี
UTP การนำไปใช้ สัญญาณ (Bandwidth) ข้อมูล สงู สดุ
สายโทรศพั ท์ Analog ราคาถกู มาก ความปลอดภัย
CAT 1 (DataRate) 3 - 4 ไมล์ และง่าย และสัญญาณ
CAT 2 /Digital Very low < 100 Kbps 3 - 4 ไมล์ ตอ่ การติดต้ัง รบกวน
CAT 3 T-1, ISDN Digital 100 เมตร เชน่ เดยี วกบั ความปลอดภัย
LANs Digital < 2 MHz 2 Mbps CAT 1 และสญั ญาณ
CAT 4 100 เมตร รบกวน
LANs Digital 16 MHz 10 Mbps เช่นเดยี วกับ ความปลอดภยั
CAT 5 100 เมตร CAT 1 และสัญญาณ
LANs Digital 20 MHz 20 Mbps แต่มสี ัญญาณ รบกวน
CAT 5e 100 เมตร รบกวน
CAT 6 LANs Digital 100 MHz 100 Mbps 100 เมตร นอ้ ยกว่า ความปลอดภัย
LANs Digital เช่นเดียวกบั และสัญญาณ
100 MHz 100 Mbps CAT 1 รบกวน
200 MHz 1000 Mbps แตม่ สี ญั ญาณ
(4 pair) รบกวน ความปลอดภยั
1000 Mbps นอ้ ยกวา่ และสญั ญาณ
เช่นเดยี วกับ รบกวน
CAT 1
แต่มีสญั ญาณ ความปลอดภัย
รบกวน และสัญญาณ
น้อยกวา่ รบกวน
เปน็ สายทีม่ ี ความปลอดภยั
คณุ ภาพสงู กว่า และสัญญาณ
CAT 5 รบกวน
อยูใ่ นช่วงของ
การร่าง
มาตรฐาน

ถCAT 7 LANs สอื่ และอปุ กรณร์ บั ส่งข้อมูล ‫׀‬หน้าท่ี 3
อปุ กรณ์รบั สง่ ข้อมลู

Digital 600 MHz 10 Gbps 100 เมตร อยู่ในช่วงของ ความปลอดภัย
การร่าง และสญั ญาณ
มาตรฐาน รบกวน

หัวเชื่อมต่อ (Modular Plugs) สายคู่บิดเกลียวจะใช้หวั เชือ่ มต่อแบบ RJ-45 ซึ่งจะมีลักษณะคลา้ ยกับ
หวั เชอ่ื มต่อแบบ RJ-11ทเ่ี ป็นหวั ที่ใชก้ บั สายโทรศัพท์ท่ัว ๆ ไป ขอ้ แตกต่างระหว่างหวั เชือ่ มตอ่ สองประเภทน้ีคือ
หัว RJ-45 จะมขี นาดใหญ่กวา่ เลก็ น้อยและไมส่ ามารถเสยี บเขา้ กับปล๊กั โทรศัพท์ได้ และหัว RJ-45 จะเชอ่ื มสาย
คู่บิดเกลียว 4 คู่ ในขณะที่หัว RJ-11 ใช้ได้กับสายเพียง 2 คู่เท่านั้น ดังรูป จะแสดงสาย UTP และหัวเชื่อมต่อ
แบบ RJ-45

เปรยี บเทยี บขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของสายคบู่ ดิ เกลียว

ข้อดี ขอ้ เสีย

1. ราคาถูก 1. ความเรว็ ในการส่งข้อมลู ต่ำเมอ่ื เทียบกบั สอ่ื ประเภทอ่นื

2. ง่ายตอ่ การนำไปใชง้ าน 2. ใช้ไดใ้ นระยะทางสั้นๆ

3. ในกรณีเป็นสายแบบไม่มีชลี ดป์ อ้ งกันสัญญาณรบกวน จะไวตอ่ สัญญาณ

สัญญาณรบกวน (Noise) ภายนอก

การเขา้ หวั RJ-45 สำหรับสายคบู่ ิดเกลยี ว

การเข้าหัวแบบสายตรง หรือ Straight-through นั้น เป็นการเข้าหัวสำหรับสายสัญญาณที่ใช้

เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างชนิดกัน เช่น การใช้สายต่อกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ กับ Switch หรือ HUB ให้

เชอื่ มต่อแบบ EIA/TIA 568B ท้งั สองขา้ งของการเข้าสาย

การเข้าแบบไขว้ หรือ Crossover เป็นการเข้าหัวสำหรับสายสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์

ชนดิ เดียวกัน เชน่ HUB to HUB , Switch To Switch หรอื คอมพิวเตอรก์ บั คอมพวิ เตอร์ เราสามารถทีจ่ ะใช้

ระหวา่ ง คอมพิวเตอร์ กับ Notebook กไ็ ด้ โดยใหเ้ ขา้ สายโดยขา้ งหนงึ่ เปน็ แบบ EIA/TIA568B และอกี ข้างเป็น

EIA/TIA 568A

หน้าที่ 4‫׀‬ส่ือและอุปกรณร์ บั ส่งขอ้ มลู

ตารางการเข้าหัว RJ-45 แบบ EIA/TIA 568A และแบบ EIA/TIA 568B

RJ-45 EIA/TIA 568A EIA/TIA 568B
CABLE CABLE

Pin Symbol Pair No. Color Pair No. Color

1 TD+ Pair 3 ขาว (คขู่ องเขยี ว) Pair 2 ขาว (คู่ของสม้ )

2 TD- Pair 3 เขียว Pair 2 ส้ม

3 RX+ Pair 2 ขาว (คูข่ องสม้ ) Pair 3 ขาว (ค่ขู องเขยี ว)

4 Not Assigned Pair 1 ฟ้า Pair 1 ฟ้า

5 Not Assigned Pair 1 ขาว (คูข่ องฟา้ ) Pair 1 ขาว (คู่ของฟา้ )

6 RX- Pair 2 สม้ Pair 3 เขยี ว

7 Not Assigned Pair 4 ขาว (คูข่ องนำ้ ตาล) Pair 4 ขาว (คขู่ องนำ้ ตาล)

8 Not Assigned Pair 4 นำ้ ตาล Pair 4 น้ำตาล

สือ่ และอปุ กรณร์ บั สง่ ข้อมลู ‫׀‬หน้าท่ี 5
อปุ กรณร์ บั สง่ ข้อมูล

2. สายเคเบลิ ร่วมแกนหรอื สายโคแอก็ เชยี ล (Coaxial Cable)
สายโคแอ็กเชยี ล (Coaxial Cable) ส่วนใหญ่จะเรียกสั้น ๆ ว่าสายโคแอ็ก (Coax) จะมีตัวนำไฟฟ้าอยู่
สองส่วน คำว่า โคแอ็ก มีความหมายว่า "มีแกนร่วมกัน" นั่นคือตัวนำทั้งสองตัวมีแกนร่วมกันนั่นเอง ในอดีต
นยิ มใช้สำหรบั ระบบเครือขา่ ยส่วนท้องถนิ่ (LAN) แตป่ ัจจุบันไมน่ ิยมใชม้ ากนกั สว่ นใหญ่จะใชเ้ ป็นสายสัญญาณ
จากเสาอากาศโทรทศั น์
สว่ นประกอบของสายโคแอ็กเชยี ล
1. สว่ นฉนวนชั้นนอกสดุ เปน็ ส่วนทใี่ ช้หุม้ สายเพอ่ื ปอ้ งกนั การกระแทก ฉกี ขาดของสายภายใน
2. ส่วนชีลด์ เป็นโลหะ อาจเป็นแผ่นหรือใช้การถักให้เป็นแผง หุ้มอยู่ชั้นนอก ทำหน้าที่ป้องกัน
สญั ญาณรบกวน และปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายคล่ืนของสัญญาณออกมาภายนอก
3. ส่วนไดอเิ ลก็ ทรกิ เป็นตัวขนั้ กลางระหวา่ งสว่ นของ อนิ เนอร์ และ ชลี ด์ ฉนวนน้ีมีความสำคญั ในส่วน
ของการลดทอนสญั ญาณด้วย มักเป็น โพลิเอธิลีน(PE) หรอื โฟม
4. ส่วนนำสัญญาณหรืออินเนอร์ เป็นตัวนำอยู่ภายในสุด ทำหน้าที่นำสัญญาณจากอุปกรณ์ต้นทางไป
ยังปลายทาง

หัวเชอื่ มตอ่
สายโคแอ็กเชียลทั้ง 2 ประเภทจะใช้หัวเชื่อมต่อชนิดเดียวกันที่เรียกว่าหัว BNC ซึ่งมีหลายแบบ
ดังตอ่ ไปนี้
1. หัวเชอื่ มตอ่ แบบ BNC (BNC Connector) เป็นหัวทเ่ี ช่อื มเข้ากับปลายสาย
2. หัวเชือ่ มสายรปู ตัว T (T Connector) ใชเ้ ช่อื มตอ่ ระหว่างสายสญั ญาณ
3. ตัวส้นิ สุดสญั ญาณ (Terminator) ใชใ้ นการสิน้ สดุ สัญญาณทปี่ ลายสายเพ่ือไม่ใหส้ ัญญาณท่ีส่งมาถูก
สะท้อนกลับ ถ้าไม่อย่างนั้นสัญญาณจะสะท้อนกลับทำให้รบกวนสัญญาณที่ใช้ส่งข้อมูลอื่นๆ ทำให้การส่ง
สัญญาณหรือข้อมูลล้มเหลวได้

หน้าที่ 6‫׀‬สอื่ และอปุ กรณร์ บั ส่งข้อมูล

หัวเชื่อมตอ่ แบบ BNC (ซ้าย) และหวั เชอื่ มสายรปู ตวั T (ขวา) ตวั สิ้นสดุ สัญญาณ

สายโคแอก็ เชยี ลแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. สายโคแอ็กเชียลแบบบาง (Thin Coaxial cable)

- ขนาด Ø0.64 cm.

- ขนาดเลก็ มีความยืดหยุ่นสูง

- นำสญั ญาณไดไ้ กลประมาณ 185 m.

- ใช้เช่อื มต่อกบั Computer โดยใชม้ าตรฐาน Ethernet

2. สายโคแอ็กเชยี ลแบบหนา (Thick Coaxial cable)

- ขนาด Ø 1.27 cm.

- ขนาดใหญ่และแขง็ แรงกวา่

- นำสญั ญาณไดไ้ กล 500 m.

- นยิ มใชเ้ ปน็ สายสง่ สญั ญาณหลัก (Backbone) ของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

สมัยแรกๆ แต่ปัจจุบันไม่เป็นที่นิยมและถูกแทนที่ด้วยเส้นใยนำแสง (Fiber optic

cable)

สายโคแอ็กเชียลสามารถถ่ายทอดสัญญาณได้ 2 แบบ คือ

1. บรอดแบนด์ (Broadband Transmission) 2. เบสแบนด์ (Baseband Transmission)

- แบ่งสายสัญญาณออกเป็นช่องสัญญาณขนาดเล็ก - มเี พียงช่องสัญญาณเดยี ว

จำนวนมาก ใช้ในการส่งสัญญาณ โดยจะมี - มคี วามกวา้ งของช่องสัญญาณมาก

ช่องสัญญาณกันชน (Guard Band) ป้องกันการ - การส่งสัญญาณเปน็ แบบ Halfduplex

รบกวนกัน - ใช้ในระบบ LAN ส่งสญั ญาณแบบ Digital

- แต่ละช่องสัญญาณสามารถรับ-ส่งข้อมูลได้พร้อม - อุปกรณ์มคี วามซับซอ้ นนอ้ ยกวา่ แบบแรก
กนั

- สญั ญาณ Analog

- ใชใ้ นการส่งสญั ญาณโทรทัศนไ์ ดห้ ลายรอ้ ยช่อง

- ตัวอย่าง Cable TV

เปรยี บเทียบขอ้ ดีและข้อเสียของสายโคแอ็กเชียล ส่ือและอปุ กรณร์ บั สง่ ข้อมูล ‫׀‬หน้าที่ 7
อุปกรณ์รบั ส่งข้อมลู
ข้อดี
ข้อเสยี
1. เช่อื มตอ่ ได้ในระยะทางไกล 500 เมตร (สำหรับ Thick coaxial cable) 1. ราคาแพง
2. ลดสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้ดี 2. สายมีขนาดใหญ่
3. ป้องกันการสะท้อนกลบั (Echo) ไดด้ ี 3. ตดิ ตั้ง Connector ยาก

3. เส้นใยนำแสง (Fiber Optic Cable)
เส้นใยนำแสง (Fiber Optic Cable) มีแกนกลางของสายซึ่งประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือพลาสติก
ขนาดเล็กหลายๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้น
ได้รบั การห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนงึ่ ก่อนจะหุ้มชน้ั นอกสุดด้วยฉนวนการส่งข้อมลู ผ่านทางส่ือกลางชนิดนี้จะ
แตกตา่ งจากชนดิ อ่ืนๆ ซ่งึ ใชส้ ัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แตก่ ารทำงานของส่ือกลางชนิดนี้จะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่อง
กลวงของเส้นใยแตล่ ะเส้นและอาศัยหลกั การหักเหของแสงโดยใช้ใยแกว้ ช้นั นอกเป็นกระจกสะท้อนแสง การให้
แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้วสามารถส่งข้อมูลด้วยอักตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก และไม่มีการ
กอ่ กวนของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า และเนื่องจากความสามารถในการส่งข้อมูลท้ังตัวอักษร เสยี ง ภาพ หรอื วดี ีทัศน์
ไดใ้ นเวลาเดียวกัน อกี ทัง้ มคี วามปลอดภัยในการสง่ สูง

เปรยี บเทียบข้อดีและข้อเสียของสายเส้นใยนำแสง

ข้อดี ข้อเสยี

1. สง่ ขอ้ มูลปรมิ าณมากดว้ ยความเร็วสงู (Bandwidth มาก) 1. เสน้ ใยแก้วมีความเปราะบาง แตกหักง่าย
2. สง่ ไดร้ ะยะทางไกล สญั ญาณอ่อนกำลังยาก 2. การเดินสายจำเปน็ ตอ้ งระมดั ระวงั อยา่ ใหม้ ีความ
3. ไม่มกี ารรบกวนจากคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ มีข้อผดิ พลาดนอ้ ย โค้งงอมาก
4. มคี วามปลอดภยั สูง 3. ค่าใช้จ่ายสงู เมอื่ เทียบกบั สายทวั่ ไป
5. ขนาดเล็ก นำ้ หนกั เบา 4. การตดิ ต้งั จำเปน็ ต้องพงึ่ พาผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะ
6. มคี วามทนทาน สามารถตดิ ตั้งในทที่ มี่ อี ุณหภมู สิ ูงหรอื ตำ่ มากได้
7. ค่าใช้จ่ายจะถกู กวา่ สายทองแดง ถ้าใช้งานในระยะทางไกล

หน้าท่ี 8‫׀‬สื่อและอปุ กรณร์ บั ส่งขอ้ มูล

สือ่ กลางประเภทไรส้ าย

สื่อกลางที่นำมาใช้ในการสื่อสารข้อมูลอีกประเภทหนึ่งซึ่งไม่มีลักษณะทางกายภาพปรากฏให้เห็น
แต่อาศัยการแพร่กระจายคลื่นในรูปแบบต่าง ๆ ในการส่งสัญญาณข้อมูลออกไปเรียกว่าสื่อกลางประเภท
กระจายคลื่น (Radiated Media) หรือสื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless Media) ซึ่งสามารถส่งสัญญาณ
ข้อมูลผา่ นอากาศ นำ้ หรือ แมแ้ ต่ในสญู ญากาศไดร้ ูปแบบของสื่อกลางประเภทไร้สายได้แก่ คล่นื วทิ ยุ สัญญาณ
ไมโครเวฟทั้งแบบภาคพ้ืนดินและแบบดาวเทียม วิทยุเซลลูลาร์ วิทยุสเปรดสเปกตรมั และสัญญาณอินฟราเรด
สัญญาณแต่ละชนิดเป็นสัญญาณคลื่นที่มีความถี่แตกต่างกัน ซึ่งจะต้องมีการกำหนดความถี่ย่านต่าง ๆ เพื่อ
ไม่ให้เกิดปัญหาการใช้สัญญาณความถี่เดียวกันหรือทับซ้อนกัน จึงต้องมีองค์กรกลาง เช่น FCC หรือ องค์กร
บริหารความถี่คลื่นวิทยุ ทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมและอนุญาตการใช้คลื่นความถี่ทั้งหมดที่ต้องการแพร่
ออกอากาศ

1. คล่นื วทิ ยุ (Broadcast Radio)
คลื่นวิทยุที่มีการแพร่กระจายออกอากาศโดยทั่วไปทั้งในระบบ AM และ FM มีความถี่อยู่ในช่วง
30 -300 MHz คลื่นวิทยุประเภทอื่นจะใช้ความถี่ในย่านอื่น เช่น คลื่นวิทยุสมัครเล่น คลื่นโทรศัพท์ วิทยุคล่ืน
สั้น เป็นต้น การแพร่กระจายคลื่น หรือที่เรียกว่าการส่งออกอากาศ จะเกิดขึ้นในทุกทิศทาง
(Omnidirectional) ทำใหเ้ สาอากาศทใี่ ชร้ บั สัญญาณไม่จำเป็นต้องต้งั ทศิ ทางใหช้ ี้ตรงมายงั เสาส่งสัญญาณ เช่น
เสารับสัญญาณของวิทยุตดิ รถยนต์ ในขณะท่ีรถยนต์เคลอื่ นที่ไปเรอื่ ย ๆวิทยใุ นรถจะสามารถรับสญั ญาณวิทยุได้
ตลอดเวลา ตราบเท่าที่รถยังคงวิ่งอยู่ภายในพื้นที่รัศมีการส่งสัญญาณ อย่างไรก็ตามในกรณีของเสาอากาศ
โทรทัศน์นั้นมีความจำเป็นต้องติดตั้งเสาอากาศให้ชี้มาทางสถานีส่งเพื่อให้สามารถรับภาพได้อย่างชัดเจน
เนื่องจากเป็นสัญญาณช่องความถี่กว้าง ซึ่งมีความซับซ้อนมากกว่าสัญญาณวิทยุทั่วไป แม้ว่ารูปแบบของการ
แพร่คลื่นสัญญาณทั่วไปจะเป็นแบบวงกลมแต่การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเข้าช่วยจะสามารถสร้างรูปทรงแบบวงรี
ขึ้นมาได้ ทง้ั นี้เพื่อหลีกเลีย่ งพน้ื ทที่ บั ซ้อนของสัญญาณจากสถานีข้างเคยี งให้น้อยลง

ส่ือและอุปกรณ์รบั ส่งข้อมูล ‫׀‬หนา้ ท่ี 9
อุปกรณร์ บั สง่ ข้อมลู

2. ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟที่ใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณมีความถี่สูงมาก (3-30 GHz) ซึ่งช่วยให้สามารถส่งข้อมูล
ออกไปด้วยอัตราความเร็วที่สูงมากด้วย สัญญาณไมโครเวฟเดินทางเป็นแนวเส้นตรง ( Line-of-Sight
Transmission) จึงเรียกว่าเป็นสัญญาณทิศทางเดียว (Unidirectional) การวางตำแหน่งและทิศทางของเสา
อากาศจึงมีผลโดยตรงต่อคุณภาพสัญญาณที่รับเข้ามา นอกจากนี้พายุฝนและพายุหิมะจะเป็นตัวอุปสรรค
โดยตรงต่อความชัดเจนของสัญญาณไมโครเวฟแบง่ ออกเป็นสองชนิดคือ ชนดิ ตั้งบนพน้ื ดนิ และชนิดดาวเทยี ม
2.1 ไมโครเวฟชนดิ ตงั้ บนพ้นื ดนิ
ไมโครเวฟชนิดตั้งบนพื้นดิน (Terrestrial Microwave) จะส่งสัญญาณ แลกเปลี่ยนกันระหว่างสถานี
บนพื้นดิน (Earth Station) สองสถานี โดยปกติขนาดของจานรับ-ส่งสัญญาณ (Dish) จะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 10 ฟุต เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟเดินทางเป็นเส้นตรง ดังนั้นสถานีบนพื้นดินจึงตั้งอยู่ใกล้กันในระยะ
ประมาณ 40-48 กิโลเมตร และอาจไกลถึง 88 กิโลเมตรได้ในกรณีที่สถานีทั้งสองตั้งอยู่สูงจากพื้นดินมาก ๆ
เช่น ตงั้ อยบู่ นยอดตึกสงู แต่ทง้ั นจี้ ะต้องไม่มีวัตถุใด ๆ ขวางระหว่างสถานีทั้งสองถ้าสถานีต้ังอยู่ห่างจากกันมาก
เกนิ ไปสัญญาณทีส่ ง่ ออกมาจะถูกสว่ นโค้งของผวิ โลกบังไว้ทำให้อีกสถานหี นึ่งไม่สามารถรบั สญั ญาณนั้นได้

ในปัจจุบัน สื่อชนิดนี้ไดถ้ ูกนำมาใช้งานอยา่ งกว้างขวางสำหรับการส่ือสารระยะทางไกล ซึ่งไม่สามารถ
ติดตั้งสื่อชนิดสายทั่วไปได้ เช่น ในกรณีที่ต้องเดินสายสัญญาณข้ามถนนหรือข้ามพื้นที่ของผู้อื่น โดยเฉพาะใ น
กรณีทไ่ี มส่ ะดวกท่ีจะใชส้ ายเส้นใยนำแสงหรือการสอื่ สารดาวเทยี ม อกี ทัง้ ยังมีราคาถูกกวา่ และติดตั้งได้ง่ายกว่า
และสามารถส่งข้อมลู ได้คราวละมาก ๆ ดว้ ย อยา่ งไรก็ตามปจั จัยสำคัญท่ีทำให้ไมโครเวฟชนิดตั้งบนพ้ืนดินเป็น
ท่นี ิยมคือราคาที่ถูกกวา่

2.2 ไมโครเวฟดาวเทียม
การส่งสัญญาณไมโครเวฟผ่านดาวเทียม (Satellite Microwave) ประกอบด้วยดาวเทียมหนึ่งดวงซ่ึง
จะต้องทำงานรว่ มกับสถานีพืน้ ดินต้งั แต่สองสถานีข้นึ ไป สถานพี น้ื ดินถูกนำมาใชเ้ พ่ือการรับและส่งสัญญาณไป
ยังดาวเทียม ซึ่งดาวเทียมจะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณและจะส่งสัญญาณกลับมายังพื้นผิวโลกใน
ตำแหน่งท่สี ถานีพืน้ ดินแห่งที่สองตัง้ อยดู่ าวเทยี มสว่ นใหญ่ถูกส่งข้นึ ไปอยู่ทีร่ ะยะสงู ประมาณ 35,680 กิโลเมตร
จากผวิ โลก ตามแนวเส้นศนู ย์สูตร ซ่ึงจะเป็นระยะทเี่ หมาะสม ทำให้ ดาวเทยี มใชเ้ วลาโคจรรอบโลก 24 ช่ัวโมง

หนา้ ที่ 10‫׀‬สือ่ และอปุ กรณร์ บั สง่
ขอ้ มลู

เท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเองพอดี ดังนั้นจึงทำให้ดูเหมือนว่าดาวเทียมประเภทนี้ลอยนิ่งคงที่อยู่เสมอ ซ่ึง
เรียกว่า ดาวเทียมโคจรสถิตย์ (Geosynchronous Orbiting Satellites: GEOS) การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไป
ยังดาวเทียมเรียกว่า"สัญญาณอัปลิงก์" (Up-link) และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่า
"สัญญาณดาวน์-ลิงก์ (Down-link) ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมลู อาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-
Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) โดยสถานีดาวเทียม 1 ดวงสามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณ
ดาวเทียมได้ถึง 25 เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพื้นผิวโลก ดังนั้นถ้า
จะสง่ สัญญาณขอ้ มลู ใหไ้ ด้รอบโลกสามารถทำไดโ้ ดยการส่งสัญญาณผา่ นสถานีดาวเทยี มเพยี ง 3 ดวงเทา่ นั้น

จำนวนดาวเทียม (Satellites) ในปัจจุบันมีมากจนอาจสร้างปัญหาในการใช้งาน เนื่องจากการใช้
สัญญาณคลื่นที่มีความถี่ใกล้เคียงกันของดาวเทียมที่อยู่ใกล้กันจะรบกวนกันเองจนไม่สามารถใช้งานได้ เพ่ือ
ป้องกนั ปญั หานี้ ดาวเทยี มประเภทวงโคจรสถติ ย์จึงถูกกำหนดให้มีตำแหน่ง ห่างกนั 4 องศา แมว้ า่ ดาวเทียมแต่
ละดวงจะมีอายุการใช้งานที่จำกัดและค่อนข้างสั้น (ประมาณ 10 ปี) แต่เนื่องจากจำนวนดาวเทียมที่เพิ่มข้ึน
อย่างต่อเนื่องทำให้หลายประเทศทั่วโลกมีความกังวลว่าพื้นที่บนบรรยากาศจะเต็ม ทำให้ตนเองไม่สามารถมี
ดาวเทียมเป็นของตนเองได้การส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นอื่น ๆ
ได้ อีกทั้งยังมีเวลาประวิง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และท่ี
สำคัญคอื ค่าใชจ้ ่ายในการลงทนุ สงู ทำใหค้ า่ บริการสงู ตามขน้ึ มาเชน่ กัน

2.3 อินฟราเรด (Infrared)
แสงอินฟราเรดเป็นคลื่นความถี่สั้นที่มักนำไปใช้กับรีโมตคอนโทรลของวิทยุหรือโทรทัศน์เป็นแสงท่ี มี
ทิศทางในระดับสายตา ซึ่งไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุทึบแสงได้แสงอินฟราเรดมักมีการนำมาใช้งานบน
คอมพิวเตอร์โน็ตบุค๊ คอมพวิ เตอรม์ ือถือ อุปกรณ์รอบขา้ งต่างๆ เช่น เครอ่ื งพมิ พ์ เคร่อื งแฟกซ์ และรวมถงึ กลอ้ ง
ดิจิตอล อัตราความเร็วปกติในการรับส่งข้อมูลอยู่ระหว่าง 4 - 16 Mbps และปัจจุบันมีการบรรจุช่องสื่อสาร
อินฟราเรด (Infrared Data Association : IrDA) เพื่อเตรียมไว้สำหรับการใช้งานสื่อสารแบบไร้สายด้วย
อินฟราเรด เช่น เมาส์ คียบอร์ด หรือเครื่องพิมพ์ แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการสื่อสารไร้สายบนระยะห่าง
ส้นั ๆ นกี้ ำลังถกู เทคโนโลยีอย่างบลูธทู (Bluetooth) เขา้ มาแทนท่ี



วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสมี า

สังกดั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

สอ่ื และอปุ กรณร์ บั สง่ ข้อมูล ‫׀‬หนา้ ที่ 9
อปุ กรณร์ บั สง่ ข้อมลู

2. ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟที่ใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณมีความถี่สูงมาก (3-30 GHz) ซึ่งช่วยให้สามารถส่งข้อมูล
ออกไปด้วยอัตราความเร็วที่สูงมากด้วย สัญญาณไมโครเวฟเดินทางเป็นแนวเส้นตรง ( Line-of-Sight
Transmission) จึงเรียกว่าเป็นสัญญาณทิศทางเดียว (Unidirectional) การวางตำแหน่งและทิศทางของเสา
อากาศจึงมีผลโดยตรงต่อคุณภาพสัญญาณที่รับเข้ามา นอกจากนี้พายุฝนและพายุหิมะจะเป็นตัวอุปสรรค
โดยตรงตอ่ ความชัดเจนของสญั ญาณไมโครเวฟแบง่ ออกเป็นสองชนดิ คือ ชนิดตงั้ บนพืน้ ดนิ และชนดิ ดาวเทยี ม
2.1 ไมโครเวฟชนิดตง้ั บนพ้นื ดิน
ไมโครเวฟชนิดตั้งบนพื้นดิน (Terrestrial Microwave) จะส่งสัญญาณ แลกเปลี่ยนกันระหว่างสถานี
บนพื้นดิน (Earth Station) สองสถานี โดยปกติขนาดของจานรับ-ส่งสัญญาณ (Dish) จะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 10 ฟุต เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟเดินทางเป็นเส้นตรง ดังนั้นสถานีบนพื้นดินจึงตั้งอยู่ใกล้กันในระยะ
ประมาณ 40-48 กิโลเมตร และอาจไกลถึง 88 กิโลเมตรได้ในกรณีที่สถานีทั้งสองตั้งอยู่สูงจากพื้นดินมาก ๆ
เช่น ตงั้ อยบู่ นยอดตึกสูง แต่ทง้ั นจ้ี ะตอ้ งไม่มีวตั ถุใด ๆ ขวางระหวา่ งสถานีทั้งสองถ้าสถานีต้ังอยู่ห่างจากกันมาก
เกนิ ไปสัญญาณท่สี ง่ ออกมาจะถูกสว่ นโค้งของผวิ โลกบังไว้ทำให้อกี สถานหี น่ึงไม่สามารถรบั สัญญาณนัน้ ได้

ในปัจจุบัน สื่อชนิดน้ีไดถ้ ูกนำมาใช้งานอยา่ งกว้างขวางสำหรับการสื่อสารระยะทางไกล ซึ่งไม่สามารถ
ติดตั้งสื่อชนิดสายทั่วไปได้ เช่น ในกรณีที่ต้องเดินสายสัญญาณข้ามถนนหรือข้ามพื้นที่ของผู้อื่น โดยเฉพาะใน
กรณีทไ่ี มส่ ะดวกที่จะใชส้ ายเสน้ ใยนำแสงหรือการส่อื สารดาวเทยี ม อีกทั้งยงั มรี าคาถูกกวา่ และติดตั้งได้ง่ายกว่า
และสามารถสง่ ข้อมลู ไดค้ ราวละมาก ๆ ด้วย อยา่ งไรก็ตามปัจจัยสำคัญท่ีทำให้ไมโครเวฟชนิดต้ังบนพื้นดินเป็น
ท่นี ิยมคือราคาทีถ่ ูกกวา่

2.2 ไมโครเวฟดาวเทียม
การส่งสัญญาณไมโครเวฟผ่านดาวเทียม (Satellite Microwave) ประกอบด้วยดาวเทียมหนึ่งดวงซึ่ง
จะต้องทำงานร่วมกับสถานีพ้ืนดินตง้ั แตส่ องสถานีข้ึนไป สถานพี นื้ ดินถูกนำมาใช้เพื่อการรับและส่งสัญญาณไป
ยังดาวเทียม ซึ่งดาวเทียมจะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณและจะส่งสัญญาณกลับมายังพื้นผิวโลกใน
ตำแหน่งทส่ี ถานีพ้นื ดินแห่งท่ีสองตง้ั อยู่ดาวเทยี มส่วนใหญ่ถูกส่งขึ้นไปอยู่ที่ระยะสงู ประมาณ 35,680 กิโลเมตร
จากผวิ โลก ตามแนวเสน้ ศูนย์สูตร ซึง่ จะเป็นระยะท่ีเหมาะสม ทำให้ ดาวเทียมใช้เวลาโคจรรอบโลก 24 ชั่วโมง

หนา้ ที่ 10‫׀‬สือ่ และอปุ กรณ์รบั ส่ง
ขอ้ มลู

เท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเองพอดี ดังนั้นจึงทำให้ดูเหมือนว่าดาวเทียมประเภทนี้ลอยนิ่งคงที่อยู่เสมอ ซึ่ง
เรียกว่า ดาวเทียมโคจรสถิตย์ (Geosynchronous Orbiting Satellites: GEOS) การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไป
ยังดาวเทียมเรียกว่า"สัญญาณอัปลิงก์" (Up-link) และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่า
"สัญญาณดาวน์-ลิงก์ (Down-link) ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-
Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) โดยสถานีดาวเทียม 1 ดวงสามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณ
ดาวเทียมได้ถึง 25 เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพื้นผิวโลก ดังนั้นถ้า
จะสง่ สัญญาณขอ้ มูลใหไ้ ดร้ อบโลกสามารถทำได้โดยการส่งสัญญาณผ่านสถานดี าวเทยี มเพยี ง 3 ดวงเท่านั้น

จำนวนดาวเทียม (Satellites) ในปัจจุบันมีมากจนอาจสร้างปัญหาในการใช้งาน เนื่องจากการใช้
สัญญาณคลื่นที่มีความถี่ใกล้เคียงกันของดาวเทียมที่อยู่ใกล้กันจะรบกวนกันเองจนไม่สามารถใช้งานได้ เพื่อ
ป้องกนั ปญั หานี้ ดาวเทยี มประเภทวงโคจรสถติ ยจ์ ึงถูกกำหนดให้มีตำแหน่ง ห่างกัน 4 องศา แมว้ ่าดาวเทียมแต่
ละดวงจะมีอายุการใช้งานที่จำกัดและค่อนข้างสั้น (ประมาณ 10 ปี) แต่เนื่องจากจำนวนดาวเทียมที่เพิ่มข้ึน
อย่างต่อเนื่องทำให้หลายประเทศทั่วโลกมีความกังวลว่าพื้นที่บนบรรยากาศจะเต็ม ทำให้ตนเองไม่สามารถมี
ดาวเทียมเป็นของตนเองได้การส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นอื่น ๆ
ได้ อีกทั้งยังมีเวลาประวิง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และท่ี
สำคัญคอื ค่าใชจ้ ่ายในการลงทนุ สงู ทำใหค้ า่ บริการสูงตามขึน้ มาเช่นกัน

2.3 อินฟราเรด (Infrared)
แสงอินฟราเรดเป็นคลื่นความถี่สั้นที่มักนำไปใช้กับรีโมตคอนโทรลของวิทยุหรือโทรทัศน์เป็นแสงที่มี
ทิศทางในระดับสายตา ซึ่งไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุทึบแสงได้แสงอินฟราเรดมักมีการนำมาใช้งานบน
คอมพิวเตอร์โน็ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์มอื ถอื อปุ กรณร์ อบข้างตา่ งๆ เชน่ เคร่อื งพิมพ์ เคร่อื งแฟกซ์ และรวมถงึ กล้อง
ดิจิตอล อัตราความเร็วปกติในการรับส่งข้อมูลอยู่ระหว่าง 4 - 16 Mbps และปัจจุบันมีการบรรจุช่องสื่อสาร
อินฟราเรด (Infrared Data Association : IrDA) เพื่อเตรียมไว้สำหรับการใช้งานสื่อสารแบบไร้สายด้วย
อินฟราเรด เช่น เมาส์ คียบอร์ด หรือเครื่องพิมพ์ แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการสื่อสารไร้สายบนระยะห่าง
ส้นั ๆ นกี้ ำลังถกู เทคโนโลยีอย่างบลูธูท(Bluetooth) เขา้ มาแทนท่ี

เอกสารอ้างองิ

http://www.mwit.ac.th/~cs/download/tech30102/Chapter2_Media.pdf

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสมี า

สังกดั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version