The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อทิตยา เมฆอําพล, 2019-09-05 22:24:37

สัมมนาปะทิว

สัมมนาปะทิว

ศูนยป์ รบั ปรงุ พันธุกรรมกุ้ง
71 ม.4 ต.บางสน อ.ปะทวิ จ.ชมุ พร

การเรียนรแู้ ละฝกึ ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

โดย

นายวันเฉลิม บญุ เหลอื
นางสาวอทิตยา เมฆอาพล
นางสาวกนกรัตน์ วิประจงค์

วิทยาลัยประมงชมุ พรเขตรอุดมศกั ด์ิ

อาจารยธ์ วัช ขวญั จนั ทร์

ครูนิเทศนักศกึ ษาฝกึ งาน

หน่วยงานท่เี ขา้ รับการฝึก

หนว่ ยงานผลิตลูกกงุ้ หน่วยงานวจิ ยั พฒั นาฯ

ครูฝกึ ประสบการณ์

คณุ พิเชษฐ์ ขฑุ สมบูรณ์ คุณเกยี รตพิ งศ์ ไทยสยาม คณุ พษิ ณุ ฉิมสดุ

นางสาวกนกรัตน์ วปิ ระจงค์ นายวนั เฉลมิ บุญเหลือ นางสาวอทิตยา เมฆอาพล

หัวใจสาคัญของหนว่ ยงานผลิตลูกก้งุ

 การทาความสะอาดโรงเรอื น
 ระบบลมต้องปลอดเชือ้
 การเปล่ยี นถา่ ยน้าในบอ่ ระหวา่ งการเลย้ี ง
 อาหารมชี วี ิตต้องปลอดเช้อื
 อุปกรณใ์ นโรงเรอื นตอ้ งสะอาด
 Biosecurity

การเตรียมโรงเรือนในการอนุบาลลกู กุ้ง

การเตรียมน้าเพ่อื การผลิตและความเข้มข้นของสารฆา่ เช้อื

การรับและปลอ่ ยนอเพลียส

การใหอ้ าหารและการเปลย่ี นถ่ายน้า กุ้งขาวแวนนาไม
การควบคมุ สภาพแวดลอ้ ม Biosecurity Litopenaeus vannamei
การจับและการบรรจลุ ูกกงุ้

การทาความสะอาดโรงเรือน บ่อ อุปกรณ์

3.ลำ้ งด้วยน้ำยำทำ้ ควำมสะอำดผสมโพวดิ ีน
ผสมน้ำ 1:1:20 ฉดี ล้ำงซ้ำด้วยนำ้ จดื

1.ทำ้ ควำมสะอำดบ่ออนุบำลดว้ ยน้ำยำ 2.สเปรยบ์ ่อ ผนงั พนื โรงเรือน ทอ่ ลม ท่อนำ้ 4.ล้ำงทำ้ ควำมสะอำด
ทำ้ ควำมสะอำดผสมโพวิดีนผสมน้ำ ด้วย Acidified Chlorine 300 ppm.

1:1:20

6.รมควนั 5.ตำกให้แห้ง

รอ่ งระบายนา้ อปุ กรณ์การผลติ ท่อน้า ทอ่ ลม

สเปรยด์ ว้ ยดา่ งทบั ทิม 300 ppm. แชอ่ ุปกรณด์ ว้ ยกรดเกลือ 1% • แช่ทอ่ น้า ทอ่ ลม ดว้ ย โซเดียมไฮดรอกไซด์
• สเปรย์ Acidified Chorine 300 ppm.

แชห่ รอื เคลือบนาน 1 วัน (คลอรนี นา้ 3 ลติ ร :

กรดเกลือ 250 มิลลลิ ิตร : 1000 ลติ ร)

การทาความสะอาดอปุ กรณ์การเลี้ยง

ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้ายาทาความสะอาดผสมโพวโิ ดนไอโอดีนและน้าจืด อตั ราส่วน 1:1:20

การเตรียมนา้ เพื่อการผลติ

นำ้ ทะเล ผำ่ นกำรกรองดว้ ย AGSF ถงุ โคก้ 20 ไมครอน
จะมคี ำ่ โอโซน อยทู่ ่ี 0.4 – 0.6 ppm.
กรองผ่ำนเครื่องกรอง Cuno
0.5 ไมครอน (กรองทรำย)

บ่อ 30 ตนั บอ่ 50 ตนั
ใสโ่ ซเดยี มไบคำร์บอเนต 30 ppm. ทงิ ไว้ 24 ชม.
เคร่อื งกรองน้ำ AMF ท้ำกำรตกตะกอนด้วย (Ethylenediaminetetraacetic)
0.04 ไมครอน EDTA 10 ppm. ทิงไว้ 24 ชม. ท้ำกำรเช็คค่ำโอโซนคงเหลือ
0 ppm. คุณภำพนำ้
- Alkalinity 180-200 ppm.
- Salinity 28-34 ppt.
- Do 5 ppm.

ความเขม้ ขน้ ของสารฆ่าเชื้อ

เตรยี มอ่ำงลำ้ งเทำ้ โดยใช้ Povidine เตรียมถงั แช่อปุ กรณโ์ ดยใช้
10,000 ppm. Povidine 10,000 ppm.

หรอื ดำ่ งทบั ทิม 300 ppm. แอลกอฮอล์ 70 %

เตรยี มถงั แช่กระชงั เปล่ียนถ่ำยน้ำ
โดยใช้ คลอรนี น้ำ 200 ppm.

เตรยี มถงั แช่แกว้ โดยใช้
Povidine 10,000 ppm.

การเตรยี มน้าลงนอเพลยี ส

ดงึ น้ำพรอ้ มใชจ้ ำกบ่อ 50 ตนั ผำ่ นใยเรียบหรือถงุ กรองนำ้ ลงบ่อ รักษำอุณหภูมิ ให้ได้ 31-32 องศำเซลเซียส
เลียงบ่อละ 3 ตัน และใส่ O-lan 2 หยด / 1 ตนั เพ่อื ฆำ่ เชือในน้ำ โดยกำรเปิดฮิตเตอร์ และก่อนลงนอเพลยี ส
12 ช่ัวโมง ใหเ้ ปิดลม

การรับนอเพลียส

1. ท้ำกำรฆำ่ เชอื รถดว้ ยกำรล้ำงโพวิดนี 10,000 ppm. 2. ตรวจสอบรหัสพอ่ แมพ่ นั ธุ์ จำ้ นวนนอเพลียส
กอ่ นที่จะทำ้ กำรขนสง่ ถงุ นอเพลียสไปยงั โรงเรอื น ตำมรำยงำนที่จัดสง่

การปรับสภาพและการปลอ่ ยนอเพลียส

ฆา่ เชือ้ ถงุ นอเพลียส ด้วยการจมุ่ โพวิดีน
10,000 ppm. แล้วล้างด้วยนา้ สะอาด

ระบุรหัสนอเพลียสในแต่ละบ่อ และควำมหนำแน่น ปรับสภำพน้ำในถงุ ให้ใกล้เคยี งกบั ในบอ่
สำ้ หรับอนุบำล 100 – 120 ตัว/ลติ ร ประมำณ 30 นำที ปล่อยนอเพลียสลงบอ่

วธิ กี ารเตรยี มอาหารและการใหอ้ าหาร

Thalassiosira sp.

Chaetoceros sp. สูบแพลงกต์ อนลงในบอ่ อนุบำล Doc0-Doc3 เร่ิมเติม
แพลงกต์ อนช่วงเช้ำ

เร่ิมใชต้ ัง้ แต่ระยะ Zoea 2 - PL Doc2 - Doc20
1. Zoea2 ใช้ 1-2 กรัม/ลกู กุง้ 1 แสนตัว (2 ครงั /วนั )
2. Zoea3 ใช้ 2-3 กรมั /ลูกกุ้ง 1 แสนตวั (2 ครงั /วนั )
3. Mysis 1-3 ใช้ 2-3 กรมั /ลูกกุ้ง 1 แสนตวั (4 ครัง/วัน)
4. PL ใช้ 2-3 กรมั /ลกู กุ้ง 1 แสนตวั (4 ครัง/วนั )

ใชอ้ นุบำลระยะ
Mysis – PL
Doc4 - Doc20

Larva Ace #1 Larva Ace #2 Larva Ace #3

Higashimaru TNT1 TNT3 TNT4

ใช้ในกำรอนุบำลลูกกุ้ง ใช้ในกำรอนบุ ำลลกู กุ้ง ใช้ในกำรอนบุ ำลลกู ใชใ้ นกำรอนุบำลลูก
DOC 3 DOC 5-7 กุ้ง DOC 8-จำ้ หนำ่ ย กงุ้ DOC 8-จำ้ หนำ่ ย

การเปลี่ยนถ่ายน้า

กระชังเปลี่ยนถา่ ยนา้

21 T 18 T 15 T 12 T 8T
Zoea 3 Mysis 2 Postlarva 1 Postlarva 4 กุ้งจำ้ หนำ่ ย

ข้นั ตอนการเปลย่ี นถ่ายนา้

1. ลดระดับควำมแรงของลมภำยใน 2. ใช้กระชงั ถ่ำยนำ้ ใสล่ ง 3. กำรท้ำควำมสะอำดขอบบ่อ และครำบ Biofilm
บ่อเพ่ือปอ้ งกันกำรบอบชำ้ ของลูกก้งุ ไปในบ่อเลียง โดยใช้ฟองน้ำชบุ โพวโิ ดนไอโอดีนควำมเข้มขน้
10,000 ppm. เช็ดให้สะอำด

4. ทาการเติมนา้ ในบอ่ เลยี ้ งก้งุ ให้ได้ตาม
ปริมาตรที่ต้องการโดยผา่ นใยเรียบไว้ท่ี
ปลายทอ่ นา้ ที่ลงบอ่ เลยี ้ ง

โปรไบโอติกท่ีใช้ในการผลิต

PBA - สรา้ งสารสาคัญยบั ยง้ั เช้ือก่อโรค PB - สร้างสารสาคัญยับย้งั เชื้อ
- สง่ เสริมการเจริญเติบโต กอ่ โรคตายดว่ น (AHPND)

แรธ่ าตแุ ละสารเคมี

เคแมก ช่วยท้ำใหก้ ้งุ มีกำรลอกครำบสร้ำงเปลือกท่สี มบูรณ์ ทำ้ ให้เปลือกแข็งเร็วหลังจำกลอกครำบ ทำ้ ใหก้ งุ้

แขง็ แรง

แคลแมก ชว่ ยแก้ปญั หำควำมกระด่ำงของนำ้ ชว่ ยปรบั ระดบั ควำมใสของน้ำใหเ้ หมำะสม

ช่วยควบคมุ และปรบั pH ของน้ำใหอ้ ยใู่ นระดับเหมำะสม

แมกนีเซียม ควบคุมระบบประสำทสวนกลำงและสมอง ควบคุมระบบกำรยดื หดของกลำ้ มเนือ ส่งเสริมใหเ้ กิด

กำรลอกครำบทส่ี มบรู ณ์ และเป็นปกติ

โซเดยี มไบคาร์บอเนต ควบคมุ ควำมเปน็ กรด-ดำ่ ง และรกั ษำสมดลุ ของนำ้ ในรำ่ งกำย ร่วมกบั แคลเซยี มใน

กำรท้ำงำนของกลำ้ มเนือและส่งกระแสประสำทช่วยสง่ เสริมกำรดูดซึมฟอสเฟต

ก่อนเตรยี มการเก็บเกยี่ ว

- พนกั งำนฝำ่ ยวำงแผนและประสำนงำนกำรผลติ จัดท้ำใบค้ำส่งั ซือประจำ้ วนั เพือ่ แจง้ รำยละเอยี ดลูกคำ้
- ดำ้ เนินกำรปรบั ควำมเค็มลูกก้งุ ใหส้ อดคล้องกบั ใบส่งั ซอื แล้วจงึ ดำ้ เนินกำรเกบ็ เก่ียว

การเตรยี มการบรเิ วณลานบรรจลุ กู กุ้ง

• ดงึ น้ำทีป่ รับคณุ ภำพ (ตำมควำมเค็มท่ลี กู คำ้ ต้องกำร) ใสใ่ นถังขนำด 1000 ลติ ร
• ใส่ Ace#3 ประมำณ 5–10 กรมั / ลิตร เพอ่ื เปน็ อำหำรลูกก้งุ และ ลดกำรกนิ กนั เอง
• ให้อำกำศในถงั ตลอดเวลำ และโดยใสห่ ัวทรำย

การเกบ็ เก่ียวลูกก้งุ

• ลดปริมำณน้ำในบ่อโดยให้เหลือนำ้ ประมำณ 5 – 6 ตัน ของ
ปรมิ ำณน้ำในบ่ออนบุ ำล ในระหวำ่ งกำรลดน้ำจะท้ำกำรสำดนำ้
รอบ ๆ กระชงั เพือ่ ปอ้ งกันไมใ่ หก้ ้งุ ตดิ ผำ้ กระชัง

• ลดปริมำณลมในบ่อลงตำมควำมเหมำะสมของระดับนำ้ เมอ่ื
เหลือกงุ้ ในบอ่ นอ้ ยให้ลดน้ำอกี ครังแล้วจบั ไหห้ มด

• ตกั กงุ้ ในบ่อโดยกำรช้อนลูกก้งุ ดว้ ยควำมระมดั ระวังเพอ่ื ไม่ไหล้ กู
กุ้งเกิดควำมบอบช้ำ

วิธีการลาเลียงลกู กงุ้

 ใช้กะละมังขนำด 2.5 ลิตร ตักลูกกุ้ง  ในขนำดตอนตักกุ้งให้ใส่  ขนยำ้ ยลูกก้งุ ไปยงั ลำนบรรจุทันที
ออกซิเจนในถัง และ ในบ่อ (ประมำณถงั ละ 3-4 แสนตัว)
ในสวิงใส่ในถังขนำด 18 ลิตร ใน ทกี่ ้ำลังตกั ตลอดเวลำ
ปรมิ ำณทีไ่ มห่ นำแน่นจนเกนิ ไป กรณีที่อยูห่ ำ่ งจำกลำนบรรจุ จะใชท้ อ่ ใน
กำรสง่ ลูกกุ้งไปยังลำนบรรจุ

การพักลูกกงุ้ และการเตรียมลูกกุ้งกอ่ นบรรจุ

 ท้ำกำรคัดขนำดลูกกุ้งดว้ ยกระชังตำมท่ีลกู ค้ำตอ้ งกำร
 นำ้ หวั ทรำยออกและใช้กะละมงั วนนำ้ เพ่ือรวมตะกอน แลว้ ใช้สำยยำงดูดตะกอนออก ปลำยสำยรอง

ด้วยสวงิ เพ่อื ปอ้ งกันกุง้ ออก

การบรรจุลูกกุ้ง

 ทดสอบควำมแข็งแรงของกงุ้ ด้วยกำรทำ้ stress test
 กุ้งที่มีคุณภำพจะว่ำยนำ้ กระจำยตวั ไมร่ วมกันเปน็ กลุ่ม ตบั มสี ีเหลืองเข้ม ไมซ่ ดี
 ทำ้ กำรบรรจุ

การทาความสะอาดโรงเรอื นหลังจากจับกุ้งเสรจ็

• ทำ้ ควำมสะอำด หลังจำกจบั กงุ้ เสรจ็ แลว้ ลำ้ งด้วยน้ำจดื จำกนนั ลำ้ งดว้ ยน้ำยำท้ำควำมสะอำดผสมกบั โพวดิ ีน และ
นำ้ จืด อัตรำสว่ น 1:1:20 จำกนนั ฉดี ล้ำงด้วยนำ้ จดื อีกหนึ่งครัง

• ทำ้ กำรสเปรย์ด้วย คลอรนี 300 ppm. จำกนันทิงไวป้ ระมำณ 1 ช่ัวโมงแล้วล้ำงดว้ ยนำ้ จืด

หนว่ ยงานควบคมุ คณุ ภาพนา้

Parameter
Salinity

Nitrite pH

Ammonia Alkalinity

คณุ ภาพน้าที่เหมาะสมในกระบวนการผลิต

ค่าพารามิเตอร์ น้ากอ่ นลงนอเพลยี ส น้าบอ่ เก็บน้า นา้ เล้ียง
Sal 27-36 - -
pH 7.5 – 8.5
7.5 – 8.5 7.5 – 8.5
Alk
TAN 120 - 280 100 - 300 120 - 300
Nitrite ≤10
- - ≤3
- -

การตรวจสอบความเคม็ (โดยใชเ้ คร่อื งวดั Salinometer)

ก่อนทจ่ี ะใช้เคร่อื งวัดควำมเคม็ Salinometer

1.ตังคำ่ Salinometer โดยใชน้ ้ำกลั่นหยดลงทแ่ี ผน่ ปริซึม แลว้ ปดิ
ฝำตังคำ่ ใหไ้ ด้ 0 ppt
2.จำกนนั ใชก้ ระดำษทชิ ชเู ช็ดให้แห้ง แลว้ น้ำไปวดั ค่ำควำมเค็ม
ของนำ้ ตวั อยำ่ ง

กำรตรวจสอบวดั คำ่ pH

กำรตรวจสอบวัดคำ่ pH (โดยใช้เครื่อง pH meter)
ก่อนใช้งำนเครือ่ งวดั คำ่ pH meter

1.ใชส้ ำรละลำยบัฟเฟอร์ pH7 pH4 pH10 เพื่อ
calibration  95%
2.จำกนนั ลำ้ งด้วยน้ำกลั่นแลว้ เชด็ ดว้ ยกระดำษทชิ ชู
3.น้ำไปวัดคำ่ pH ของนำ้ ตัวอย่ำง

การวิเคราะห์คา่ Total Alkalinity

ตวงนา้ ตวั อย่าง 25 ml.ใสล่ ง หยด Methyl Red + Bromocresol ไตเตรต ดว้ ยกรด 0.02 N H2 SO4

ใน flask ขนาด 50 ml. green indicator 4 หยด เขย่า จนเป็นสี ม่วงชมพู บนั ทึกปรมิ าณของกรด

Total Alkalinity (ppm)   H2 SO4  50000 vol. 0.02 N H2 SO4
Vol. sample

กำรตรวจสอบวัดค่ำแอมโมเนยี ดว้ ยวิธีกำรเทยี บสี

เตรียมน้ำตวั อยำ่ ง 5 ml.  เตมิ น้ำยำแอมโมเนีย – 1 จ้ำนวน 2 หยด เขย่ำให้เข้ำกันทิงไว้ 20 นำที
 เติมนำ้ ยำแอมโมเนยี – 2 จำ้ นวน 2 หยด เปรยี บเทยี บสที ่ีเกดิ ขึนแล้วอำ่ นค่ำ
 เติมน้ำยำแอมโมเนีย – 3 จ้ำนวน 2 หยด
 เตมิ น้ำยำแอมโมเนยี - 4 จำ้ นวน 4 หยด

สารเคมีมีกล่ินแรง และมีสารอนั ตราย(ฟี นอล)

การตรวจสอบวัดคา่ ไนไตรท์ด้วยวิธีการเทียบสี

เตรียมนำ้ ตวั อยำ่ ง 5 ml. เตมิ น้ำยำไนไตรท์ – 1 จ้ำนวน 2 หยด เปรยี บเทยี บสที ี่เกดิ ขึนแลว้ อ่ำนคำ่
เตมิ น้ำยำไนไตรท์ – 2 จำ้ นวน 2 หยด

เขยำ่ ใหเ้ ขำ้ กัน ทงิ ไว้ 7 นำที

หนว่ ยงานควบคมุ คุณภาพลกู กุ้ง (QC)

QC ตรวจสอบ

นอเพลยี ส ความพิการ ตวั อ่อนเพรียง ความพกิ าร
ลูกกงุ้ เพรียง

เพรยี งเนือ้ น้าหนักต่อตวั

DOC 7 วัดความยาว,ความพกิ าร,การ
DOC 16 พัฒนาการเข้าระยะของลูกกงุ้
DOC 17
ความพิการ

วดั ความแข็งแรงของลกู ก้งุ ,วดั
ความยาว,ความพิการ,น้าหนกั ต่อ

ตัว

กำรตรวจสอบ QC ลูกกุ้ง DOC7

การตรวจคุณภาพลูกกงุ้ DOC7
- วัดความยาว ขนาด > 5.5 mm.
- การพฒั นาการเข้าระยะของลกู กงุ้ > 80%
- ตรวจความพิการ < 3%

กำรตรวจสอบ QC ลกู กงุ้ DOC16

การตรวจคณุ ภาพลูกกงุ้ DOC16
- ตรวจความพิการ Type 1, Type 2 < 1%

การตรวจ QC ลกู กงุ้ DOC17

การตรวจคณุ ภาพลูกกงุ้ DOC 17

- วัดความยาว ขนาด > 9.50 mm.
- ตรวจความแตกไซต์
- ตรวจความแข็งแรง อตั รารอด 90%
- ปริมาณเม็ดไขมันในตับ

การทดสอบความแข็งแรงของลูกก้งุ ดว้ ยการ Stress Test

เก็บลกู กุ้ง เพ่ือทา เตรียมอุปกรณ์
Stress Test เพอ่ื ทา Stress Test

นาลูกกงุ้ 100 ตัว/ลติ ร มาใส่ในนา้ จดื
0 ppt. นาน 30 นาที และดกู ารตาย

ของกุ้ง

ดูอัตราการรอดตายต้องรอด  90% นากุง้ ใสใ่ นน้าเคม็
30 ppt. นาน 30 นาที

ปริมาณไขมันในตับ

ปรมิ าณไขมนั ในตบั ที่มมี าก ปรมิ าณไขมันในตับทม่ี นี ้อย ปริมาณไขมนั ในตบั ที่ไมม่ เี ลย

การตรวจปรสติ

นอ้ ยกวำ่ หรือเท่ำกบั 20 %

Filamentous bacteria Zoothamnium sp.
พบเจอทำ้ กำรบันทกึ ผล
ในกำรนับ มำกกว่ำ 25 % ของลำ้ ตัวลกู กุ้ง บันทึกผล
ผลกระทบตอ่ ลูกก้งุ ทำ้ ให้ก้งุ เครยี ด


Click to View FlipBook Version